วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความ
พึงพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในเรื่องการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล การเตรียมเปิดอภิปรายไม่ไว้
วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ความเชื่อมั่นของข้อมูลพรรคการเมืองฝ่ายค้าน และความเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอแนะการแก้
ปัญหา
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน จอมทอง ดอนเมือง ดุสิต บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางเขน
บางคอแหลม บางซื่อ บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระโขนง ภาษีเจริญ
มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สายไหม หนองแขม
หนองจอก หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,312 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชน
คิดอย่างไรกับผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
2 - 5 พฤศจิกายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
7 พฤศจิกายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,312 คน
เป็นชายร้อยละ 50.9 เป็นหญิงร้อยละ 49.1
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.1 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 36.5 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 40.8 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 8.6 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 70.3 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 29.6 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามถึงความพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านในเรื่องต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
พอใจ ไม่พอใจ ไม่มีความเห็น
บทบาทของผู้นำฝ่ายค้าน (นายชวน หลีกภัย) 54.3 32.7 13.0
การตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล 32.6 57.6 9.8
การอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร 29.4 52.5 18.1
การแสดงความเห็นอย่างสร้างสรรค์นอกสภาผู้แทนราษฎร 21.6 57.2 21.2
การเยี่ยมเยือนและรับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน 26.8 49.8 23.4
3. สำหรับภาพรวมความพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 34.0 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 50.0 ไม่พอใจ
และร้อยละ 16.0 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านเตรียมเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาล
ทักษิณในสมัยประชุมหน้า
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.9 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 28.4 ระบุไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 13.7 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามถึงความมั่นใจข้อมูลที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านจะนำมาอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23.6 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 64.4 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 12.0 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่าพรรคการเมืองฝ่ายค้านควรเสนอแนะการแก้ปัญหาสำคัญแก่รัฐบาลด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 70.3
ปัญหาการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ ร้อยละ 46.0
ปัญหาด้านการศึกษา ร้อยละ 39.9
ปัญหาด้านการเมือง ร้อยละ 32.2
ปัญหาด้านสังคม ร้อยละ 22.3
ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 12.7
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 668 50.9
หญิง 644 49.1
อายุ :
18 - 25 ปี 185 14.1
26 - 35 ปี 479 36.5
36 - 45 ปี 535 40.8
มากกว่า 45 ปี 113 8.6
การศึกษา :
ประถมศึกษา 72 5.5
มัธยมศึกษา 255 19.4
ปวช. 336 25.6
ปวส./อนุปริญญา 260 19.8
ปริญญาตรี 339 25.8
สูงกว่าปริญญาตรี 50 3.8
อาชีพ :
รับราชการ 45 3.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 44 3.4
พนักงานเอกชน 550 41.9
เจ้าของกิจการ 83 6.3
รับจ้างทั่วไป 140 10.7
ค้าขาย 194 14.8
นักศึกษา 94 7.2
แม่บ้าน 100 7.6
อาชีพอื่น ๆ 62 4.7
ตารางที่ 2 ท่านพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้หรือไม่
พอใจ ไม่พอใจ ไม่มีความเห็น
บทบาทของผู้นำฝ่ายค้าน (นายชวน หลีกภัย) 54.3 32.7 13
การตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล 32.6 57.6 9.8
การอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร 29.4 52.5 18.1
การแสดงความเห็นอย่างสร้างสรรค์นอกสภาผู้แทนราษฎร 21.6 57.2 21.2
การเยี่ยมเยือนและรับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน 26.8 49.8 23.4
ตารางที่ 3 โดยภาพรวม ท่านพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 446 34
ไม่พอใจ 656 50
ไม่มีความเห็น 210 16
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านเตรียมเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ
ในสมัยประชุมหน้า
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 759 57.9
ไม่เห็นด้วย 373 28.4
ไม่มีความเห็น 180 13.7
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจข้อมูลที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านจะนำมาอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 309 23.6
ไม่มั่นใจ 845 64.4
ไม่มีความเห็น 158 12
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าพรรคการเมืองฝ่ายค้านควรเสนอแนะการแก้ปัญหาสำคัญแก่รัฐบาลด้านใดบ้าง
ร้อยละ
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ 70.3
ปัญหาการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ 46
ปัญหาด้านการศึกษา 39.9
ปัญหาด้านการเมือง 32.2
ปัญหาด้านสังคม 22.3
ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม 12.7
อื่น ๆ 4.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความ
พึงพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในเรื่องการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล การเตรียมเปิดอภิปรายไม่ไว้
วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ความเชื่อมั่นของข้อมูลพรรคการเมืองฝ่ายค้าน และความเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอแนะการแก้
ปัญหา
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน จอมทอง ดอนเมือง ดุสิต บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางเขน
บางคอแหลม บางซื่อ บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระโขนง ภาษีเจริญ
มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สายไหม หนองแขม
หนองจอก หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,312 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชน
คิดอย่างไรกับผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
2 - 5 พฤศจิกายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
7 พฤศจิกายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,312 คน
เป็นชายร้อยละ 50.9 เป็นหญิงร้อยละ 49.1
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.1 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 36.5 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 40.8 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 8.6 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 70.3 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 29.6 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามถึงความพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านในเรื่องต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
พอใจ ไม่พอใจ ไม่มีความเห็น
บทบาทของผู้นำฝ่ายค้าน (นายชวน หลีกภัย) 54.3 32.7 13.0
การตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล 32.6 57.6 9.8
การอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร 29.4 52.5 18.1
การแสดงความเห็นอย่างสร้างสรรค์นอกสภาผู้แทนราษฎร 21.6 57.2 21.2
การเยี่ยมเยือนและรับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน 26.8 49.8 23.4
3. สำหรับภาพรวมความพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 34.0 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 50.0 ไม่พอใจ
และร้อยละ 16.0 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านเตรียมเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาล
ทักษิณในสมัยประชุมหน้า
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.9 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 28.4 ระบุไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 13.7 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามถึงความมั่นใจข้อมูลที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านจะนำมาอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23.6 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 64.4 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 12.0 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่าพรรคการเมืองฝ่ายค้านควรเสนอแนะการแก้ปัญหาสำคัญแก่รัฐบาลด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 70.3
ปัญหาการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ ร้อยละ 46.0
ปัญหาด้านการศึกษา ร้อยละ 39.9
ปัญหาด้านการเมือง ร้อยละ 32.2
ปัญหาด้านสังคม ร้อยละ 22.3
ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 12.7
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 668 50.9
หญิง 644 49.1
อายุ :
18 - 25 ปี 185 14.1
26 - 35 ปี 479 36.5
36 - 45 ปี 535 40.8
มากกว่า 45 ปี 113 8.6
การศึกษา :
ประถมศึกษา 72 5.5
มัธยมศึกษา 255 19.4
ปวช. 336 25.6
ปวส./อนุปริญญา 260 19.8
ปริญญาตรี 339 25.8
สูงกว่าปริญญาตรี 50 3.8
อาชีพ :
รับราชการ 45 3.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 44 3.4
พนักงานเอกชน 550 41.9
เจ้าของกิจการ 83 6.3
รับจ้างทั่วไป 140 10.7
ค้าขาย 194 14.8
นักศึกษา 94 7.2
แม่บ้าน 100 7.6
อาชีพอื่น ๆ 62 4.7
ตารางที่ 2 ท่านพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้หรือไม่
พอใจ ไม่พอใจ ไม่มีความเห็น
บทบาทของผู้นำฝ่ายค้าน (นายชวน หลีกภัย) 54.3 32.7 13
การตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล 32.6 57.6 9.8
การอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร 29.4 52.5 18.1
การแสดงความเห็นอย่างสร้างสรรค์นอกสภาผู้แทนราษฎร 21.6 57.2 21.2
การเยี่ยมเยือนและรับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน 26.8 49.8 23.4
ตารางที่ 3 โดยภาพรวม ท่านพอใจผลงานของพรรคการเมืองฝ่ายค้านหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 446 34
ไม่พอใจ 656 50
ไม่มีความเห็น 210 16
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านเตรียมเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ
ในสมัยประชุมหน้า
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 759 57.9
ไม่เห็นด้วย 373 28.4
ไม่มีความเห็น 180 13.7
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจข้อมูลที่พรรคการเมืองฝ่ายค้านจะนำมาอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 309 23.6
ไม่มั่นใจ 845 64.4
ไม่มีความเห็น 158 12
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าพรรคการเมืองฝ่ายค้านควรเสนอแนะการแก้ปัญหาสำคัญแก่รัฐบาลด้านใดบ้าง
ร้อยละ
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ 70.3
ปัญหาการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ 46
ปัญหาด้านการศึกษา 39.9
ปัญหาด้านการเมือง 32.2
ปัญหาด้านสังคม 22.3
ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม 12.7
อื่น ๆ 4.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--