ด้วยการเลือกตั้งครั้งสำคัญของคนไทย จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550 ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัย
กรุงเทพจึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” ครั้งที่ 2 ขึ้นโดยเก็บข้อมูลจากประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
ใน 16 จังหวัดจากทั้ง 8 กลุ่มจังหวัดที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดสำหรับการเลือกตั้ง ส.ส.แบบสัดส่วน ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี เชียงใหม่
แพร่ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด นครราชสีมา จันทบุรี ราชบุรี นครปฐม นครศรีธรรมราช และสตูล ได้กลุ่ม
ตัวอย่างจำนวน 1,472 คน โดยเป็นผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล ร้อยละ 39.9 และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 60.1 เก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 4 -
10 ธันวาคม ที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ในการเลือกตั้งครั้งนี้
- ตั้งใจว่าจะไปเลือกตั้ง.........................ร้อยละ 89.5
- ตั้งใจว่าจะไม่ไปเลือกตั้ง.......................ร้อยละ 5.8
เพราะ ต้องทำงาน ติดธุระ เดินทางลำบาก ไม่มีเวลา และเบื่อ เลือกตั้งไปก็เหมือนเดิม
- ยังไม่แน่ใจ.................................ร้อยละ 4.7
สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าจะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง นั้น
เมื่อสอบถามว่า ขณะนี้มีผู้สมัคร ส.ส. ที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วหรือยัง พบว่า
- มีแล้ว....................................ร้อยละ 62.6
- ยังไม่มี...................................ร้อยละ 37.4
เมื่อสอบถามถึงลักษณะการเลือก ส.ส. แบบรวมเขตเรียงเบอร์ พบว่า
- จะเลือกผู้สมัครจากพรรคเดียวกันแบบยกทีม..........ร้อยละ 57.0
- จะเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลจากหลายพรรค.........ร้อยละ 43.0
พรรคการเมืองที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเลือกในระบบสัดส่วน คือ
- พรรคประชาธิปัตย์............................ร้อยละ 34.2
- พรรคพลังประชาชน...........................ร้อยละ 31.9
- พรรคชาติไทย...............................ร้อยละ 4.3
- พรรคเพื่อแผ่นดิน.............................ร้อยละ 3.0
- พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา......................ร้อยละ 1.5
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย...........................ร้อยละ 1.4
- พรรคประชาราช.............................ร้อยละ 1.0
- พรรคอื่นๆ..................................ร้อยละ 3.0
- ยังไม่ได้ตัดสินใจ.............................ร้อยละ 19.7
การรับทราบในนโยบายของพรรคการเมืองที่ตั้งใจจะเลือก พบว่า
- ทราบนโยบาย..............................ร้อยละ 68.0
- ไม่ทราบนโยบาย............................ร้อยละ 32.0
คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป คือ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ ผู้ตอบระบุเอง)
- มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ไม่คอรัปชัน.......ร้อยละ 57.0
- จริงจัง จริงใจ เสียสละเพื่อประชาชนและส่วนรวม....ร้อยละ 13.3
- เป็นคนเก่ง มีความรู้ .........................ร้อยละ 9.7
- มีความเป็นผู้นำ กล้าคิดกล้าตัดสินใจ...............ร้อยละ 6.6
- สามารถพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าได้...........ร้อยละ 5.6
- มีความสามารถด้านเศรษฐกิจ....................ร้อยละ 4.4
- มีวิสัยทัศน์กว้างไกล...........................ร้อยละ 1.9
- อื่น ๆ เช่น มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นกลางทางการเมือง....ร้อยละ 1.5
หัวหน้าพรรคการเมืองที่คิดว่ามีความเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด คือ
- นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ........................ร้อยละ 34.8
- นายสมัคร สุนทรเวช..........................ร้อยละ 28.0
- นายบรรหาร ศิลปอาชา........................ร้อยละ 4.0
- นายสุวิทย์ คุณกิตติ............................ร้อยละ 1.9
- พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร......................ร้อยละ 1.5
- นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์.......................ร้อยละ 1.3
- นายเสนาะ เทียนทอง.........................ร้อยละ 0.9
- อื่นๆ......................................ร้อยละ 2.6
- ไม่แน่ใจ...................................ร้อยละ 22.3
- ไม่มีใครเหมาะสม............................ร้อยละ 2.7
เมื่อสอบถามความเห็นของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดว่า หากนายกรัฐมนตรีคนต่อไปจะมาจากคน
นอกที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรคการเมืองที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง พบว่า
- ยอมรับได้..................................ร้อยละ 54.2
- ยอมรับไม่ได้................................ร้อยละ 45.8
สำหรับความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ว่าจะสามารถควบคุมดูแลการ เลือกตั้งให้เป็นไปอย่างบริสุทธิ์
ยุติธรรม นั้นพบว่า
- เชื่อมั่น....................................ร้อยละ 51.2
(โดยเชื่อมั่นมากร้อยละ 11.1 และค่อนข้างเชื่อมั่นร้อยละ 40.1)
- ไม่เชื่อมั่น..................................ร้อยละ 48.8
(โดยไม่เชื่อมั่นเลยร้อยละ 9.1 และไม่ค่อยเชื่อมั่นร้อยละ 39.7)
เมื่อสอบถามว่า ภายหลังการเลือกตั้งสถานการณ์การเมืองของไทยจะเป็นอย่างไร ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง เห็นว่า
- สถานการณ์จะดีขึ้นกว่าปัจจุบัน....................ร้อยละ 50.8
- สถานการณ์จะแย่ลงกว่าปัจจุบัน...................ร้อยละ 7.8
- สถานการณ์จะไม่แตกต่างจากปัจจุบัน...............ร้อยละ 41.4
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อทราบข้อมูลและความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550
ในประเด็นต่อไปนี้
1. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งนี้
2. พรรคการเมืองที่จะเลือกจาก สส. ระบบสัดส่วน
3. การรับรู้ในนโยบายของพรรคการเมืองที่ตัดสินใจจะเลือก
4. คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
5. หัวหน้าพรรคที่คิดว่าเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
6. ความเห็นหากนายกรัฐมนตรีคนต่อไปเป็นคนนอกที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรคการเมืองที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง
7. ความเชื่อมั่นที่มีต่อการเลือกตั้งครั้งนี้ว่าจะเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม
8. ความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งใหม่จะทำให้สถานการณ์บ้านเมืองของไทยดีขึ้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” (สำรวจครั้งที่ 2) ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 4-10
ธันวาคม จากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้ง ส.ส. แบบสัดส่วนทั้ง 8 กลุ่ม
กลุ่มละ 2 จังหวัด รวม 16 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี เชียงใหม่ แพร่ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด
นครราชสีมา จันทบุรี ราชบุรี นครปฐม นครศรีธรรมราช และสตูล จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่สามารถเป็นตัว
แทนของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 1,472 คน เป็นเพศชายร้อยละ 49.3 และเพศหญิงร้อยละ 50.7 โดยเป็นผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล
ร้อยละ 39.9 และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 60.1
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 4 — 10 ธันวาคม 2550
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 13 ธันวาคม 2550
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 726 49.3
หญิง 746 50.7
อายุ
18-25 ปี 280 19.0
26-35 ปี 467 31.7
36-45 ปี 394 26.8
46 ปีขึ้นไป 331 22.5
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 798 54.2
ปริญญาตรี 616 41.9
สูงกว่าปริญญาตรี 58 3.9
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 198 13.5
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 354 24.0
ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 266 18.1
รับจ้างทั่วไป 250 17.0
นิสิต นักศึกษา 134 9.1
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 82 5.6
เกษตรกร ประมง 117 7.9
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ ว่างงาน 71 4.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
กรุงเทพจึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” ครั้งที่ 2 ขึ้นโดยเก็บข้อมูลจากประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
ใน 16 จังหวัดจากทั้ง 8 กลุ่มจังหวัดที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดสำหรับการเลือกตั้ง ส.ส.แบบสัดส่วน ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี เชียงใหม่
แพร่ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด นครราชสีมา จันทบุรี ราชบุรี นครปฐม นครศรีธรรมราช และสตูล ได้กลุ่ม
ตัวอย่างจำนวน 1,472 คน โดยเป็นผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล ร้อยละ 39.9 และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 60.1 เก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 4 -
10 ธันวาคม ที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ในการเลือกตั้งครั้งนี้
- ตั้งใจว่าจะไปเลือกตั้ง.........................ร้อยละ 89.5
- ตั้งใจว่าจะไม่ไปเลือกตั้ง.......................ร้อยละ 5.8
เพราะ ต้องทำงาน ติดธุระ เดินทางลำบาก ไม่มีเวลา และเบื่อ เลือกตั้งไปก็เหมือนเดิม
- ยังไม่แน่ใจ.................................ร้อยละ 4.7
สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าจะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง นั้น
เมื่อสอบถามว่า ขณะนี้มีผู้สมัคร ส.ส. ที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วหรือยัง พบว่า
- มีแล้ว....................................ร้อยละ 62.6
- ยังไม่มี...................................ร้อยละ 37.4
เมื่อสอบถามถึงลักษณะการเลือก ส.ส. แบบรวมเขตเรียงเบอร์ พบว่า
- จะเลือกผู้สมัครจากพรรคเดียวกันแบบยกทีม..........ร้อยละ 57.0
- จะเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลจากหลายพรรค.........ร้อยละ 43.0
พรรคการเมืองที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเลือกในระบบสัดส่วน คือ
- พรรคประชาธิปัตย์............................ร้อยละ 34.2
- พรรคพลังประชาชน...........................ร้อยละ 31.9
- พรรคชาติไทย...............................ร้อยละ 4.3
- พรรคเพื่อแผ่นดิน.............................ร้อยละ 3.0
- พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา......................ร้อยละ 1.5
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย...........................ร้อยละ 1.4
- พรรคประชาราช.............................ร้อยละ 1.0
- พรรคอื่นๆ..................................ร้อยละ 3.0
- ยังไม่ได้ตัดสินใจ.............................ร้อยละ 19.7
การรับทราบในนโยบายของพรรคการเมืองที่ตั้งใจจะเลือก พบว่า
- ทราบนโยบาย..............................ร้อยละ 68.0
- ไม่ทราบนโยบาย............................ร้อยละ 32.0
คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป คือ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ ผู้ตอบระบุเอง)
- มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ไม่คอรัปชัน.......ร้อยละ 57.0
- จริงจัง จริงใจ เสียสละเพื่อประชาชนและส่วนรวม....ร้อยละ 13.3
- เป็นคนเก่ง มีความรู้ .........................ร้อยละ 9.7
- มีความเป็นผู้นำ กล้าคิดกล้าตัดสินใจ...............ร้อยละ 6.6
- สามารถพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าได้...........ร้อยละ 5.6
- มีความสามารถด้านเศรษฐกิจ....................ร้อยละ 4.4
- มีวิสัยทัศน์กว้างไกล...........................ร้อยละ 1.9
- อื่น ๆ เช่น มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นกลางทางการเมือง....ร้อยละ 1.5
หัวหน้าพรรคการเมืองที่คิดว่ามีความเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด คือ
- นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ........................ร้อยละ 34.8
- นายสมัคร สุนทรเวช..........................ร้อยละ 28.0
- นายบรรหาร ศิลปอาชา........................ร้อยละ 4.0
- นายสุวิทย์ คุณกิตติ............................ร้อยละ 1.9
- พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร......................ร้อยละ 1.5
- นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์.......................ร้อยละ 1.3
- นายเสนาะ เทียนทอง.........................ร้อยละ 0.9
- อื่นๆ......................................ร้อยละ 2.6
- ไม่แน่ใจ...................................ร้อยละ 22.3
- ไม่มีใครเหมาะสม............................ร้อยละ 2.7
เมื่อสอบถามความเห็นของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดว่า หากนายกรัฐมนตรีคนต่อไปจะมาจากคน
นอกที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรคการเมืองที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง พบว่า
- ยอมรับได้..................................ร้อยละ 54.2
- ยอมรับไม่ได้................................ร้อยละ 45.8
สำหรับความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ว่าจะสามารถควบคุมดูแลการ เลือกตั้งให้เป็นไปอย่างบริสุทธิ์
ยุติธรรม นั้นพบว่า
- เชื่อมั่น....................................ร้อยละ 51.2
(โดยเชื่อมั่นมากร้อยละ 11.1 และค่อนข้างเชื่อมั่นร้อยละ 40.1)
- ไม่เชื่อมั่น..................................ร้อยละ 48.8
(โดยไม่เชื่อมั่นเลยร้อยละ 9.1 และไม่ค่อยเชื่อมั่นร้อยละ 39.7)
เมื่อสอบถามว่า ภายหลังการเลือกตั้งสถานการณ์การเมืองของไทยจะเป็นอย่างไร ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง เห็นว่า
- สถานการณ์จะดีขึ้นกว่าปัจจุบัน....................ร้อยละ 50.8
- สถานการณ์จะแย่ลงกว่าปัจจุบัน...................ร้อยละ 7.8
- สถานการณ์จะไม่แตกต่างจากปัจจุบัน...............ร้อยละ 41.4
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อทราบข้อมูลและความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550
ในประเด็นต่อไปนี้
1. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งนี้
2. พรรคการเมืองที่จะเลือกจาก สส. ระบบสัดส่วน
3. การรับรู้ในนโยบายของพรรคการเมืองที่ตัดสินใจจะเลือก
4. คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
5. หัวหน้าพรรคที่คิดว่าเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
6. ความเห็นหากนายกรัฐมนตรีคนต่อไปเป็นคนนอกที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรคการเมืองที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง
7. ความเชื่อมั่นที่มีต่อการเลือกตั้งครั้งนี้ว่าจะเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม
8. ความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งใหม่จะทำให้สถานการณ์บ้านเมืองของไทยดีขึ้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” (สำรวจครั้งที่ 2) ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 4-10
ธันวาคม จากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้ง ส.ส. แบบสัดส่วนทั้ง 8 กลุ่ม
กลุ่มละ 2 จังหวัด รวม 16 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี เชียงใหม่ แพร่ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด
นครราชสีมา จันทบุรี ราชบุรี นครปฐม นครศรีธรรมราช และสตูล จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่สามารถเป็นตัว
แทนของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 1,472 คน เป็นเพศชายร้อยละ 49.3 และเพศหญิงร้อยละ 50.7 โดยเป็นผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล
ร้อยละ 39.9 และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 60.1
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 4 — 10 ธันวาคม 2550
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 13 ธันวาคม 2550
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 726 49.3
หญิง 746 50.7
อายุ
18-25 ปี 280 19.0
26-35 ปี 467 31.7
36-45 ปี 394 26.8
46 ปีขึ้นไป 331 22.5
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 798 54.2
ปริญญาตรี 616 41.9
สูงกว่าปริญญาตรี 58 3.9
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 198 13.5
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 354 24.0
ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 266 18.1
รับจ้างทั่วไป 250 17.0
นิสิต นักศึกษา 134 9.1
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 82 5.6
เกษตรกร ประมง 117 7.9
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ ว่างงาน 71 4.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-