แท็ก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
นายสมัคร สุนทรเวช
กรุงเทพโพลล์
โปรดเกล้า
รัฐมนตรี
ด้วยวันที่ 6 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งรัฐมนตรีในรัฐบาล นายสมัคร
สุนทรเวช ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับ ครม.
ชุดใหม่” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,205 คน เมื่อวันที่ 9 -10 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
สรุปผลได้ดังนี้
1. ความพึงพอใจต่อรายชื่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม พบว่า
พอใจ ร้อยละ 50.0 (โดยแยกเป็น พอใจมาก ร้อยละ 14.0 ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 36.0)
ไม่พอใจ ร้อยละ 35.0 (โดยแยกเป็น ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.4 ค่อนข้างไม่พอใจ ร้อยละ 20.6)
ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 15.0
2. รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลชุดใหม่ที่ประชาชนให้คะแนนความเชื่อมั่นในการทำงานสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (จากคะแนนเต็ม 10)
- นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงพาณิชย์................ได้คะแนน 5.49
- นายสุวิทย์ คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงอุตสาหกรรม................ได้คะแนน 5.26
- นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงกลาโหม ...................ได้คะแนน 5.24
- นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.......................ได้คะแนน 5.24
3. รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลชุดใหม่ที่ประชาชนให้คะแนนความเชื่อมั่นในการทำงานต่ำที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (จากคะแนนเต็ม 10)
- ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รมว.กระทรวงมหาดไทย .............................ได้คะแนน 4.70
- พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรี....................................ได้คะแนน 4.84
- นางอนงศ์วรรณ เทพสุทิน รมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม...........ได้คะแนน 4.90
4. ความเชื่อมั่นว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องสำคัญต่อไปนี้ให้สำเร็จเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรมได้
เชื่อว่าทำได้(ร้อยละ) เชื่อว่าทำไม่ได้(ร้อยละ) ไม่แน่ใจ(ร้อยละ)
การแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ 9.6 53.9 36.5
การแก้ปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน 15.2 53.0 31.8
การแก้ปัญหาเศรษฐกิจ 33.9 22.5 43.6
การสร้างความสามัคคีของคนในชาติ 25.5 32.4 42.1
การทำให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในเวทีโลก 36.0 23.1 40.9
การปราบปรามยาเสพติด 35.7 30.4 33.9
5. กระทรวงที่ประชาชนเป็นห่วงในภารกิจหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
กระทรวงการคลัง ร้อยละ 20.0
กระทรวงมหาดไทย ร้อยละ 18.0
กระทรวงกลาโหม ร้อยละ 9.4
กระทรวงพาณิชย์ ร้อยละ 9.4
กระทรวงศึกษาธิการ ร้อยละ 7.6
6. ความคาดหวังกับการปฏิบัติหน้าที่ของนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี
คาดหวัง ร้อยละ 41.6 (โดยแยกเป็น คาดหวังมาก ร้อยละ 13.4 ค่อนข้างคาดหวัง ร้อยละ 28.2)
ไม่คาดหวัง ร้อยละ 48.7 (โดยแยกเป็น ไม่คาดหวังเลย ร้อยละ 21.0 ไม่ค่อยคาดหวัง ร้อยละ 27.7)
ไม่มีความเห็น ร้อยละ 9.7
7. เรื่องที่ต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่ดำเนินการเร่งด่วน 5 อันดับแรก ได้แก่(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
แก้ปัญหาเศรษฐกิจ ร้อยละ 40.5
แก้ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดภาคใต้ ร้อยละ 12.9
แก้ปัญหาค่าครองชีพ ปัญหาหนี้สิน ร้อยละ 12.9
แก้ปัญหายาเสพติด ร้อยละ 6.8
สร้างความสมานฉันท์ระหว่างคนในชาติ ร้อยละ 5.1
8. ความเห็นต่อการจัดตั้ง “รัฐบาลเงา” ของพรรคประชาธิปัตย์
เห็นด้วย ร้อยละ 34.5
เพราะ ถือเป็นหน้าที่ของฝ่ายค้านที่ต้องตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล จะทำให้รัฐบาลทำงานรอบคอบมากขึ้น ฯลฯ
ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 18.8
เพราะ ไม่ได้มาจากเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน เป็นการไม่ให้เกียรติกัน ทำให้เกิดความแตกแยก ฯลฯ
ไม่มีความเห็น ร้อยละ 46.7
9. ความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์การเมืองในขณะนี้
รู้สึกวิตกกังวล ร้อยละ 34.9
รู้สึกปลอดโปร่งโล่งใจ ร้อยละ 22.7
รู้สึกหดหู่เศร้าหมอง ร้อยละ 15.8
รู้สึกสับสนไม่แน่ใจ ร้อยละ 17.0
รู้สึกเบิกบานเป็นสุข ร้อยละ 4.8
อื่น ๆ เช่น รู้สึกเฉยๆ และจะคอยดูผลงาน ร้อยละ 4.8
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเด็นต่อไปนี้
1. ความพึงพอใจต่อรายชื่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม
2. ความเชื่อมั่นในการทำงานของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคล
3. ความเชื่อมั่นว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องสำคัญๆ ของชาติให้สำเร็จผลชัดเจนเป็นรูปธรรมได้
4. กระทรวงเป็นห่วงในภารกิจหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติมากที่สุด
5. ความคาดหวังต่อการปฏิบัติหน้าที่ของนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี
6. เรื่องที่ต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่ดำเนินการเร่งด่วนเป็นอันดับแรก
7. ความเห็นต่อการจัดตั้ง “รัฐบาลเงา” ของพรรคประชาธิปัตย์
8. ความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์การเมืองในขณะนี้
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 35 เขตจาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองเตย คลองสาน ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ
บางกอกน้อย บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระนคร ภาษีเจริญ
มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง วังทองหลาง สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม หนองแขม และหลักสี่ จากนั้นสุ่มถนน และ
ประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,205 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.5 และเพศหญิงร้อยละ 49.5
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 9 -10 กุมภาพันธ์ 2551
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 13 กุมภาพันธ์ 2551
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 608 50.5
หญิง 597 49.5
อายุ
18-25 ปี 422 35.0
26-35 ปี 354 29.4
36-45 ปี 221 18.3
46 ปีขึ้นไป 208 17.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 570 47.3
ปริญญาตรี 580 48.1
สูงกว่าปริญญาตรี 55 4.6
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 103 8.5
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 325 27.0
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 264 21.9
รับจ้างทั่วไป 174 14.4
นิสิต/นักศึกษา 290 24.1
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 49 4.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
สุนทรเวช ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับ ครม.
ชุดใหม่” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,205 คน เมื่อวันที่ 9 -10 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
สรุปผลได้ดังนี้
1. ความพึงพอใจต่อรายชื่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม พบว่า
พอใจ ร้อยละ 50.0 (โดยแยกเป็น พอใจมาก ร้อยละ 14.0 ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 36.0)
ไม่พอใจ ร้อยละ 35.0 (โดยแยกเป็น ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.4 ค่อนข้างไม่พอใจ ร้อยละ 20.6)
ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 15.0
2. รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลชุดใหม่ที่ประชาชนให้คะแนนความเชื่อมั่นในการทำงานสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (จากคะแนนเต็ม 10)
- นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงพาณิชย์................ได้คะแนน 5.49
- นายสุวิทย์ คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงอุตสาหกรรม................ได้คะแนน 5.26
- นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงกลาโหม ...................ได้คะแนน 5.24
- นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.......................ได้คะแนน 5.24
3. รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลชุดใหม่ที่ประชาชนให้คะแนนความเชื่อมั่นในการทำงานต่ำที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (จากคะแนนเต็ม 10)
- ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รมว.กระทรวงมหาดไทย .............................ได้คะแนน 4.70
- พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรี....................................ได้คะแนน 4.84
- นางอนงศ์วรรณ เทพสุทิน รมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม...........ได้คะแนน 4.90
4. ความเชื่อมั่นว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องสำคัญต่อไปนี้ให้สำเร็จเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรมได้
เชื่อว่าทำได้(ร้อยละ) เชื่อว่าทำไม่ได้(ร้อยละ) ไม่แน่ใจ(ร้อยละ)
การแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ 9.6 53.9 36.5
การแก้ปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน 15.2 53.0 31.8
การแก้ปัญหาเศรษฐกิจ 33.9 22.5 43.6
การสร้างความสามัคคีของคนในชาติ 25.5 32.4 42.1
การทำให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในเวทีโลก 36.0 23.1 40.9
การปราบปรามยาเสพติด 35.7 30.4 33.9
5. กระทรวงที่ประชาชนเป็นห่วงในภารกิจหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
กระทรวงการคลัง ร้อยละ 20.0
กระทรวงมหาดไทย ร้อยละ 18.0
กระทรวงกลาโหม ร้อยละ 9.4
กระทรวงพาณิชย์ ร้อยละ 9.4
กระทรวงศึกษาธิการ ร้อยละ 7.6
6. ความคาดหวังกับการปฏิบัติหน้าที่ของนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี
คาดหวัง ร้อยละ 41.6 (โดยแยกเป็น คาดหวังมาก ร้อยละ 13.4 ค่อนข้างคาดหวัง ร้อยละ 28.2)
ไม่คาดหวัง ร้อยละ 48.7 (โดยแยกเป็น ไม่คาดหวังเลย ร้อยละ 21.0 ไม่ค่อยคาดหวัง ร้อยละ 27.7)
ไม่มีความเห็น ร้อยละ 9.7
7. เรื่องที่ต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่ดำเนินการเร่งด่วน 5 อันดับแรก ได้แก่(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
แก้ปัญหาเศรษฐกิจ ร้อยละ 40.5
แก้ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดภาคใต้ ร้อยละ 12.9
แก้ปัญหาค่าครองชีพ ปัญหาหนี้สิน ร้อยละ 12.9
แก้ปัญหายาเสพติด ร้อยละ 6.8
สร้างความสมานฉันท์ระหว่างคนในชาติ ร้อยละ 5.1
8. ความเห็นต่อการจัดตั้ง “รัฐบาลเงา” ของพรรคประชาธิปัตย์
เห็นด้วย ร้อยละ 34.5
เพราะ ถือเป็นหน้าที่ของฝ่ายค้านที่ต้องตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล จะทำให้รัฐบาลทำงานรอบคอบมากขึ้น ฯลฯ
ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 18.8
เพราะ ไม่ได้มาจากเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน เป็นการไม่ให้เกียรติกัน ทำให้เกิดความแตกแยก ฯลฯ
ไม่มีความเห็น ร้อยละ 46.7
9. ความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์การเมืองในขณะนี้
รู้สึกวิตกกังวล ร้อยละ 34.9
รู้สึกปลอดโปร่งโล่งใจ ร้อยละ 22.7
รู้สึกหดหู่เศร้าหมอง ร้อยละ 15.8
รู้สึกสับสนไม่แน่ใจ ร้อยละ 17.0
รู้สึกเบิกบานเป็นสุข ร้อยละ 4.8
อื่น ๆ เช่น รู้สึกเฉยๆ และจะคอยดูผลงาน ร้อยละ 4.8
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเด็นต่อไปนี้
1. ความพึงพอใจต่อรายชื่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม
2. ความเชื่อมั่นในการทำงานของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคล
3. ความเชื่อมั่นว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องสำคัญๆ ของชาติให้สำเร็จผลชัดเจนเป็นรูปธรรมได้
4. กระทรวงเป็นห่วงในภารกิจหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติมากที่สุด
5. ความคาดหวังต่อการปฏิบัติหน้าที่ของนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี
6. เรื่องที่ต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่ดำเนินการเร่งด่วนเป็นอันดับแรก
7. ความเห็นต่อการจัดตั้ง “รัฐบาลเงา” ของพรรคประชาธิปัตย์
8. ความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์การเมืองในขณะนี้
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 35 เขตจาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองเตย คลองสาน ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ
บางกอกน้อย บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระนคร ภาษีเจริญ
มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง วังทองหลาง สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม หนองแขม และหลักสี่ จากนั้นสุ่มถนน และ
ประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,205 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.5 และเพศหญิงร้อยละ 49.5
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 9 -10 กุมภาพันธ์ 2551
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 13 กุมภาพันธ์ 2551
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 608 50.5
หญิง 597 49.5
อายุ
18-25 ปี 422 35.0
26-35 ปี 354 29.4
36-45 ปี 221 18.3
46 ปีขึ้นไป 208 17.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 570 47.3
ปริญญาตรี 580 48.1
สูงกว่าปริญญาตรี 55 4.6
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 103 8.5
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 325 27.0
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 264 21.9
รับจ้างทั่วไป 174 14.4
นิสิต/นักศึกษา 290 24.1
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 49 4.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-