ด้วยวันที่ 28 มีนาคมที่จะถึงนี้ จะมีการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัย
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตร” โดยเก็บข้อมูลจาก
ประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,214 คน เมื่อวันที่ 15 -17 มีนาคมที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความรู้สึกต่อสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
เห็นว่าน่าเป็นห่วง ร้อยละ 84.7 (โดยแบ่งเป็น น่าเป็นห่วงมาก ร้อยละ 43.2 ค่อนข้างน่าเป็นห่วง ร้อยละ 41.5)
เห็นว่าไม่น่าเป็นห่วง ร้อยละ 15.3 (โดยแบ่งเป็น ไม่น่าเป็นห่วงเลย ร้อยละ 5.3 ไม่ค่อยน่าเป็นห่วง ร้อยละ 10.0)
2. ความสนใจติดตามข่าวสารการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เพื่อเคลื่อนไหว
ทางการเมือง ในวันศุกร์ที่ 28 มีนาคมนี้
สนใจติดตามข่าว ร้อยละ 42.3
ไม่สนใจติดตามข่าว ร้อยละ 33.4
ไม่ทราบข่าวนี้ ร้อยละ 24.3
3. ความเห็นต่อการนัดชุมนุมครั้งนี้
เห็นด้วย ร้อยละ 25.9
(เพราะ ช่วยสอดส่องและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล ได้รู้ข้อเท็จจริงของปัญหาต่าง ๆ)
ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 57.4
(เพราะ สร้างความวุ่นวาย ทำให้เกิดความแตกแยก ควรให้รัฐบาลทำงานนานกว่านี้ก่อน)
ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 16.7
4. ความคิดในการไปร่วมชุมนุมกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ไปร่วมชุมนุม ร้อยละ 5.1
ไม่ไปร่วมชุมนุม ร้อยละ 80.8
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 14.1
5. ประชาชนเชื่อว่าสาเหตุหลักของการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรฯ ในครั้งนี้ เกิดจาก
(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ความไม่พอใจการดำเนินงานของรัฐบาลในช่วงที่ผ่านมา ร้อยละ 20.5
ความไม่พอใจการเดินทางกลับประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ร้อยละ 19.5
การแย่งชิงผลประโยชน์และตอบโต้ทางการเมือง ร้อยละ 15.5
การสร้างสถานการณ์ ก่อกวนทางการเมือง ร้อยละ 6.3
ไม่ทราบ/ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 38.2
6. ผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมในครั้งนี้
(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ฝ่ายพันธมิตร แกนนำ และผู้ชุมนุม ร้อยละ 30.2
ประชาชนและประเทศชาติ ร้อยละ 21.9
พรรคประชาธิปัตย์ ร้อยละ 3.0
ผู้ที่เสียผลประโยชน์ทางการเมือง ร้อยละ 1.4
รัฐบาล ร้อยละ 1.2
ไม่มีใครได้ประโยชน์ ร้อยละ 6.1
ไม่ทราบ ไม่มีความเห็น ร้อยละ 36.2
7. สิ่งที่อยากฝากถึงกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ยังไม่ควรมีการชุมนุม เพราะประเทศชาติเสียหาย ร้อยละ 41.7
ให้เจรจาอย่างประนีประนอม สมานฉันท์ ร้อยละ 13.4
ให้ชุมนุมโดยสงบ อย่าใช้ความรุนแรง ร้อยละ 12.1
เป็นกำลังใจให้ ชุมนุมต่อไปเพื่อประชาธิปไตย ร้อยละ 9.3
ไม่มีอะไรจะฝาก ร้อยละ 5.1
ไม่ทราบ ไม่มีความเห็น ร้อยละ 18.4
8. สิ่งที่รัฐบาลควรปฏิบัติต่อเรื่องนี้ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ติดตามสถานการณ์ และปฏิบัติต่อผู้ชุมนุมอย่างถูกต้องเป็นธรรม ร้อยละ 38.3
รับฟังข้อมูลจากการชุมนุมแล้วนำไปปรับปรุงการทำงาน ร้อยละ 13.2
ใช้มาตรการที่เข้มงวด เพื่อควบคุมการนัดชุมนุม ร้อยละ 12.8
หาทางเจรจาตกลงกันโดยสันติวิธี ร้อยละ 6.5
ให้อิสระในการชุมนุมตามวิถีทางประชาธิปไตย ร้อยละ 4.4
ไม่ทราบ ไม่มีความเห็น ร้อยละ 24.8
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. ความรู้สึกต่อสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
2. ความสนใจติดตามข่าวสารการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและองค์กรเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อเคลื่อน
ไหวทางการเมือง ในวันศุกร์ที่ 28 มีนาคมนี้
3. ความเห็นต่อการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมดังกล่าว
4. แนวโน้มในการไปร่วมชุมนุมกับกลุ่มพันธมิตรฯ
5. ความเห็นต่อสาเหตุหลักของการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมครั้งนี้
6. ผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมครั้งนี้
7. สิ่งที่อยากฝากถึงกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
8. ท่าทีรัฐบาลควรปฏิบัติต่อเรื่องนี้
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 30 เขตจาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ คลองเตย คันนายาว ดอนเมือง ดินแดง ตลิ่งชัน บางกอกน้อย บางกะปิ
บางขุนเทียน บางเขน บางแค บางซื่อ บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระนคร มีนบุรี ราชเทวี
ลาดกระบัง ลาดพร้าว วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สาทร หลักสี่ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น
1,214 คน เป็นเพศชายร้อยละ 46.4 และเพศหญิงร้อยละ 53.6
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ? 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 15-17 มีนาคม 2551
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 20 มีนาคม 2551
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 563 46.4
หญิง 651 53.6
อายุ
18-25 ปี 393 32.4
26-35 ปี 351 28.9
36-45 ปี 259 21.3
46 ปีขึ้นไป 211 17.4
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 492 40.5
ปริญญาตรี 626 51.6
สูงกว่าปริญญาตรี 96 7.9
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 123 10.1
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 377 31.1
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 247 20.3
รับจ้างทั่วไป 180 14.8
นิสิต นักศึกษา 212 17.5
อื่น ๆ เช่น พ่อบ้านแม่บ้าน เกษียณอายุ 75 6.2
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตร” โดยเก็บข้อมูลจาก
ประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,214 คน เมื่อวันที่ 15 -17 มีนาคมที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความรู้สึกต่อสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
เห็นว่าน่าเป็นห่วง ร้อยละ 84.7 (โดยแบ่งเป็น น่าเป็นห่วงมาก ร้อยละ 43.2 ค่อนข้างน่าเป็นห่วง ร้อยละ 41.5)
เห็นว่าไม่น่าเป็นห่วง ร้อยละ 15.3 (โดยแบ่งเป็น ไม่น่าเป็นห่วงเลย ร้อยละ 5.3 ไม่ค่อยน่าเป็นห่วง ร้อยละ 10.0)
2. ความสนใจติดตามข่าวสารการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เพื่อเคลื่อนไหว
ทางการเมือง ในวันศุกร์ที่ 28 มีนาคมนี้
สนใจติดตามข่าว ร้อยละ 42.3
ไม่สนใจติดตามข่าว ร้อยละ 33.4
ไม่ทราบข่าวนี้ ร้อยละ 24.3
3. ความเห็นต่อการนัดชุมนุมครั้งนี้
เห็นด้วย ร้อยละ 25.9
(เพราะ ช่วยสอดส่องและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล ได้รู้ข้อเท็จจริงของปัญหาต่าง ๆ)
ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 57.4
(เพราะ สร้างความวุ่นวาย ทำให้เกิดความแตกแยก ควรให้รัฐบาลทำงานนานกว่านี้ก่อน)
ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 16.7
4. ความคิดในการไปร่วมชุมนุมกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ไปร่วมชุมนุม ร้อยละ 5.1
ไม่ไปร่วมชุมนุม ร้อยละ 80.8
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 14.1
5. ประชาชนเชื่อว่าสาเหตุหลักของการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรฯ ในครั้งนี้ เกิดจาก
(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ความไม่พอใจการดำเนินงานของรัฐบาลในช่วงที่ผ่านมา ร้อยละ 20.5
ความไม่พอใจการเดินทางกลับประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ร้อยละ 19.5
การแย่งชิงผลประโยชน์และตอบโต้ทางการเมือง ร้อยละ 15.5
การสร้างสถานการณ์ ก่อกวนทางการเมือง ร้อยละ 6.3
ไม่ทราบ/ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 38.2
6. ผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมในครั้งนี้
(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ฝ่ายพันธมิตร แกนนำ และผู้ชุมนุม ร้อยละ 30.2
ประชาชนและประเทศชาติ ร้อยละ 21.9
พรรคประชาธิปัตย์ ร้อยละ 3.0
ผู้ที่เสียผลประโยชน์ทางการเมือง ร้อยละ 1.4
รัฐบาล ร้อยละ 1.2
ไม่มีใครได้ประโยชน์ ร้อยละ 6.1
ไม่ทราบ ไม่มีความเห็น ร้อยละ 36.2
7. สิ่งที่อยากฝากถึงกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ยังไม่ควรมีการชุมนุม เพราะประเทศชาติเสียหาย ร้อยละ 41.7
ให้เจรจาอย่างประนีประนอม สมานฉันท์ ร้อยละ 13.4
ให้ชุมนุมโดยสงบ อย่าใช้ความรุนแรง ร้อยละ 12.1
เป็นกำลังใจให้ ชุมนุมต่อไปเพื่อประชาธิปไตย ร้อยละ 9.3
ไม่มีอะไรจะฝาก ร้อยละ 5.1
ไม่ทราบ ไม่มีความเห็น ร้อยละ 18.4
8. สิ่งที่รัฐบาลควรปฏิบัติต่อเรื่องนี้ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ติดตามสถานการณ์ และปฏิบัติต่อผู้ชุมนุมอย่างถูกต้องเป็นธรรม ร้อยละ 38.3
รับฟังข้อมูลจากการชุมนุมแล้วนำไปปรับปรุงการทำงาน ร้อยละ 13.2
ใช้มาตรการที่เข้มงวด เพื่อควบคุมการนัดชุมนุม ร้อยละ 12.8
หาทางเจรจาตกลงกันโดยสันติวิธี ร้อยละ 6.5
ให้อิสระในการชุมนุมตามวิถีทางประชาธิปไตย ร้อยละ 4.4
ไม่ทราบ ไม่มีความเห็น ร้อยละ 24.8
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. ความรู้สึกต่อสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
2. ความสนใจติดตามข่าวสารการนัดชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและองค์กรเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อเคลื่อน
ไหวทางการเมือง ในวันศุกร์ที่ 28 มีนาคมนี้
3. ความเห็นต่อการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมดังกล่าว
4. แนวโน้มในการไปร่วมชุมนุมกับกลุ่มพันธมิตรฯ
5. ความเห็นต่อสาเหตุหลักของการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมครั้งนี้
6. ผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการเคลื่อนไหวและนัดชุมนุมครั้งนี้
7. สิ่งที่อยากฝากถึงกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
8. ท่าทีรัฐบาลควรปฏิบัติต่อเรื่องนี้
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 30 เขตจาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ คลองเตย คันนายาว ดอนเมือง ดินแดง ตลิ่งชัน บางกอกน้อย บางกะปิ
บางขุนเทียน บางเขน บางแค บางซื่อ บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระนคร มีนบุรี ราชเทวี
ลาดกระบัง ลาดพร้าว วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สาทร หลักสี่ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น
1,214 คน เป็นเพศชายร้อยละ 46.4 และเพศหญิงร้อยละ 53.6
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ? 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 15-17 มีนาคม 2551
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 20 มีนาคม 2551
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 563 46.4
หญิง 651 53.6
อายุ
18-25 ปี 393 32.4
26-35 ปี 351 28.9
36-45 ปี 259 21.3
46 ปีขึ้นไป 211 17.4
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 492 40.5
ปริญญาตรี 626 51.6
สูงกว่าปริญญาตรี 96 7.9
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 123 10.1
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 377 31.1
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 247 20.3
รับจ้างทั่วไป 180 14.8
นิสิต นักศึกษา 212 17.5
อื่น ๆ เช่น พ่อบ้านแม่บ้าน เกษียณอายุ 75 6.2
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-