วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
เพื่อทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเรื่องการจัดทำเพลงชาติไทย
ชุดใหม่ในประเด็นเกี่ยวกับ
- ความเหมาะสมในการนำเพลงชาติไทยชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม
- การมีเพลงชาติไทยหลายรูปแบบไว้เปิดในโอกาสต่างๆ กัน
- การมอบหมายให้บริษัทธุรกิจเป็นผู้จัดทำเพลงชาติไทย
- การใช้เพลงชาติเป็นสื่อในการเสริมสร้างความรักและสามัคคีในชาติ
- ความพึงพอใจในผลงานเพลงชาติไทยชุดใหม่เปรียบเทียบกับเพลงชาติไทยของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากร ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้ตัวอย่างทั้งสิ้น
จำนวน 1,588 คน เป็นชายร้อยละ 45.2 หญิงร้อยละ 54.8
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 41.5 มีอายุ 15-25 ปี
ร้อยละ 26.1 อายุ 26-35 ปี
ร้อยละ 18.8 อายุ 36-45 ปี
และร้อยละ 13.6 อายุ 46 ปีขึ้นไป
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 15.4 ประกอบอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 14.2 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 27.2 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน
ร้อยละ 9.3 ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 22.8 นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา
ร้อยละ 6.9 พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ
ร้อยละ 3.1 ว่างงาน
และร้อยละ 1.1 ประกอบอาชีพอื่น
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ในเรื่อง “เพลงชาติชุดใหม่ในความเห็นของประชาชน”
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 25-26 พฤษภาคม 2548
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 26 พฤษภาคม 2548
ผลการสำรวจ
1. ประชาชนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 79.3) ไม่เห็นด้วยกับการนำเพลงชาติไทยชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม มี
เพียงร้อยละ 20.7 เท่านั้นที่เห็นด้วย
ทั้งนี้เมื่อพิจารณาในแต่ละช่วงอายุพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ในทุกช่วงอายุไม่เห็นด้วยกับการนำเพลงชาติ
ชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม โดยยิ่งอายุมากขึ้นยิ่งไม่เห็นด้วยเพิ่มขึ้น ดังนี้ อายุ 15-25 ปีไม่เห็นด้วยร้อยละ 74.8
อายุ 26-35 ปี ไม่เห็นด้วยร้อยละ 80.5 อายุ 36-45 ปีไม่เห็นด้วยร้อยละ 81.6 และอายุ 46 ปีขึ้นไปไม่เห็น
ด้วยร้อยละ 87.0
2. สำหรับประเด็นเรื่องการมีเพลงชาติไทยหลายรูปแบบ (เวอร์ชั่น) เพื่อไว้เปิดในโอกาสต่างๆ กัน
นั้น ประชาชนร้อยละ 79.6 ไม่เห็นด้วย โดยเห็นว่าเพลงชาติไทยควรมีรูปแบบเดียวสำหรับใช้ในทุกโอกาส มีเพียง
ร้อยละ 20.4 ที่เห็นด้วยกับการมีเพลงชาติไทยหลายรูปแบบ
3. ประชาชนร้อยละ 82.1 ไม่เห็นด้วยที่จะมีการมอบหมายให้บริษัทใดบริษัทหนึ่งเป็นผู้จัดทำเพลงชาติ
ไทยขึ้นมาให้คนในชาติใช้ มีเพียงร้อยละ 17.9 ที่เห็นด้วยกับความคิดดังกล่าว
4. ประชาชนร้อยละ 75.9 ไม่เชื่อว่าการจัดทำเพลงชาติไทยชุดใหม่จะช่วยส่งเสริมความรักชาติและ
ความสามัคคีของคนในชาติให้มากขึ้นได้ ขณะที่ร้อยละ 24.1 เชื่อว่าจะช่วยได้
5. ประชาชนร้อยละ 63.2 ยังไม่มีโอกาสได้ฟังเพลงชาติชุดใหม่ ขณะที่ร้อยละ 36.8 มีโอกาสได้ฟัง
แล้ว โดยในส่วนของผู้ที่มีโอกาสได้ฟังเพลงชาติชุดใหม่แล้ว ร้อยละ 71.9 ระบุว่าชอบเพลงชาติไทยของเดิม
มากกว่า ขณะที่ร้อยละ 28.1 ระบุว่าชอบของใหม่มากกว่า
ทั้งนี้เมื่อให้ผู้ที่ระบุว่าชอบของใหม่มากกว่าเลือกรูปแบบของเพลงชาติชุดใหม่ที่ชอบมากที่สุด จากทั้งหมด
6 รูปแบบ (เวอร์ชั่น) พบว่ารูปแบบที่ 1 คือแบบเป็นทางการ ขับร้องโดยเสก โลโซ มีผู้ชื่นชอบมากที่สุด (ร้อยละ
28.1) ขณะที่รูปแบบที่ 3 ซึ่งร้องนำโดยเบิร์ด ธงไชย แม็คอินไตย และตู่ นันทิดา แก้วบัวสาย มีผู้ชื่นชอบน้อยที่สุด
(ร้อยละ 8.5)
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 718 45.2
หญิง 870 54.8
อายุ :
15 — 25 ปี 660 41.5
26 — 35 ปี 414 26.1
36 — 45 ปี 298 18.8
46ปีขึ้นไป 216 13.6
อาชีพ :
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 244 15.4
รับจ้างทั่วไป 226 14.2
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 432 27.2
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 148 9.3
นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา 362 22.8
พ่อบ้าน /แม่บ้าน/เกษียณอายุ 108 6.9
ว่างงาน 50 3.1
อื่น ๆ 18 1.1
ตารางที่ 2: ความคิดเห็นต่อการนำเพลงชาติไทยชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 328 20.7
ไม่เห็นด้วย 1,260 79.3
ตารางที่ 2.1 เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนในแต่ละช่วงอายุต่อการนำเพลงชาติชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย รวม
อายุ 15-25 ปี 25.2%(166) 74.8%(494) 100%(660)
อายุ 26-35 ปี 19.5%(58) 80.5%(240) 100%(298)
อายุ 36-45 ปี 18.4%(76) 81.6%(338) 100%(414)
อายุ 46 ปีขึ้นไป 13.0%(28) 87.0%(188) 100%(216)
เฉลี่ยรวม 20.7%(328) 79.3%(1,260) 100%(1,588)
ตารางที่ 3: ความคิดเห็นต่อการที่เพลงชาติไทยจะมีหลายรูปแบบ (เวอร์ชั่น) เพื่อไว้เปิดในโอกาสต่างๆ กัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 324 20.4
ไม่เห็นด้วย 1,264 79.6
ตารางที่ 4: ความคิดเห็นต่อการมอบหมายให้บริษัทใดบริษัทหนึ่งเป็นผู้จัดทำเพลงชาติไทย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 284 17.9
ไม่เห็นด้วย 1,304 82.1
ตารางที่ 5: ความคิดเห็นต่อการจัดทำเพลงชาติไทยชุดใหม่ว่าจะช่วยส่งเสริมความรักชาติและความสามัคคี
ของคนในชาติให้มากขึ้นได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ได้ 382 24.1
ไม่ได้ 1,206 75.9
ตารางที่ 6: ท่านได้ฟังเพลงชาติไทยชุดใหม่ที่ผลิตโดยบริษัท แกรมมี่ แล้วหรือยัง
จำนวน ร้อยละ
ได้ฟังแล้ว 584 36.8
ยังไม่ได้ฟัง 1,004 63.2
ตารางที่ 7: ความพึงพอใจในผลงานเพลงชาติไทยชุดใหม่เปรียบเทียบกับเพลงชาติไทยของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
(ฉพาะผู้ที่มีโอกาสได้ฟังเพลงชาติไทยชุดใหม่แล้ว)
จำนวน ร้อยละ
ชอบของเดิมมากกว่า 420 71.9
ชอบของใหม่มากว่า 164 28.1
โดยรูปแบบที่ชอบมากที่สุด ได้แก่
- รูปแบบที่ 1 แบบเป็นทางการ
(ขับร้องโดยเสก โลโซ) 46 28.1
- รูปแบบที่ 2 แบบเข้มแข็งแต่ไม่แข็งกร้าว
(ขับร้องโดยคณะนักร้องประสานเสียง ซียู แบนด์) 34 20.7
- รูปแบบที่ 3 แบบงานลีลาศ
(ร้องนำโดยเบิร์ด ธงไชย และตู่ นันทิดา) 14 8.5
- รูปแบบที่ 4 แบบเอาใจคนรุ่นใหม่
(ร้องนำโดยเบิร์ด ธงไชย และตู่ นันทิดา) 20 12.2
- รูปแบบที่ 5 แบบเอาใจเด็ก
(ขับร้องโดยน้องพลับ และเด็กๆ) 28 17.1
- รูปแบบที่ 6 แบบเอาใจผู้สูงอายุ
(มีดนตรีไทยประกอบ) 22 13.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
เพื่อทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเรื่องการจัดทำเพลงชาติไทย
ชุดใหม่ในประเด็นเกี่ยวกับ
- ความเหมาะสมในการนำเพลงชาติไทยชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม
- การมีเพลงชาติไทยหลายรูปแบบไว้เปิดในโอกาสต่างๆ กัน
- การมอบหมายให้บริษัทธุรกิจเป็นผู้จัดทำเพลงชาติไทย
- การใช้เพลงชาติเป็นสื่อในการเสริมสร้างความรักและสามัคคีในชาติ
- ความพึงพอใจในผลงานเพลงชาติไทยชุดใหม่เปรียบเทียบกับเพลงชาติไทยของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากร ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้ตัวอย่างทั้งสิ้น
จำนวน 1,588 คน เป็นชายร้อยละ 45.2 หญิงร้อยละ 54.8
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 41.5 มีอายุ 15-25 ปี
ร้อยละ 26.1 อายุ 26-35 ปี
ร้อยละ 18.8 อายุ 36-45 ปี
และร้อยละ 13.6 อายุ 46 ปีขึ้นไป
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 15.4 ประกอบอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 14.2 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 27.2 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน
ร้อยละ 9.3 ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 22.8 นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา
ร้อยละ 6.9 พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ
ร้อยละ 3.1 ว่างงาน
และร้อยละ 1.1 ประกอบอาชีพอื่น
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ในเรื่อง “เพลงชาติชุดใหม่ในความเห็นของประชาชน”
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 25-26 พฤษภาคม 2548
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 26 พฤษภาคม 2548
ผลการสำรวจ
1. ประชาชนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 79.3) ไม่เห็นด้วยกับการนำเพลงชาติไทยชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม มี
เพียงร้อยละ 20.7 เท่านั้นที่เห็นด้วย
ทั้งนี้เมื่อพิจารณาในแต่ละช่วงอายุพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ในทุกช่วงอายุไม่เห็นด้วยกับการนำเพลงชาติ
ชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม โดยยิ่งอายุมากขึ้นยิ่งไม่เห็นด้วยเพิ่มขึ้น ดังนี้ อายุ 15-25 ปีไม่เห็นด้วยร้อยละ 74.8
อายุ 26-35 ปี ไม่เห็นด้วยร้อยละ 80.5 อายุ 36-45 ปีไม่เห็นด้วยร้อยละ 81.6 และอายุ 46 ปีขึ้นไปไม่เห็น
ด้วยร้อยละ 87.0
2. สำหรับประเด็นเรื่องการมีเพลงชาติไทยหลายรูปแบบ (เวอร์ชั่น) เพื่อไว้เปิดในโอกาสต่างๆ กัน
นั้น ประชาชนร้อยละ 79.6 ไม่เห็นด้วย โดยเห็นว่าเพลงชาติไทยควรมีรูปแบบเดียวสำหรับใช้ในทุกโอกาส มีเพียง
ร้อยละ 20.4 ที่เห็นด้วยกับการมีเพลงชาติไทยหลายรูปแบบ
3. ประชาชนร้อยละ 82.1 ไม่เห็นด้วยที่จะมีการมอบหมายให้บริษัทใดบริษัทหนึ่งเป็นผู้จัดทำเพลงชาติ
ไทยขึ้นมาให้คนในชาติใช้ มีเพียงร้อยละ 17.9 ที่เห็นด้วยกับความคิดดังกล่าว
4. ประชาชนร้อยละ 75.9 ไม่เชื่อว่าการจัดทำเพลงชาติไทยชุดใหม่จะช่วยส่งเสริมความรักชาติและ
ความสามัคคีของคนในชาติให้มากขึ้นได้ ขณะที่ร้อยละ 24.1 เชื่อว่าจะช่วยได้
5. ประชาชนร้อยละ 63.2 ยังไม่มีโอกาสได้ฟังเพลงชาติชุดใหม่ ขณะที่ร้อยละ 36.8 มีโอกาสได้ฟัง
แล้ว โดยในส่วนของผู้ที่มีโอกาสได้ฟังเพลงชาติชุดใหม่แล้ว ร้อยละ 71.9 ระบุว่าชอบเพลงชาติไทยของเดิม
มากกว่า ขณะที่ร้อยละ 28.1 ระบุว่าชอบของใหม่มากกว่า
ทั้งนี้เมื่อให้ผู้ที่ระบุว่าชอบของใหม่มากกว่าเลือกรูปแบบของเพลงชาติชุดใหม่ที่ชอบมากที่สุด จากทั้งหมด
6 รูปแบบ (เวอร์ชั่น) พบว่ารูปแบบที่ 1 คือแบบเป็นทางการ ขับร้องโดยเสก โลโซ มีผู้ชื่นชอบมากที่สุด (ร้อยละ
28.1) ขณะที่รูปแบบที่ 3 ซึ่งร้องนำโดยเบิร์ด ธงไชย แม็คอินไตย และตู่ นันทิดา แก้วบัวสาย มีผู้ชื่นชอบน้อยที่สุด
(ร้อยละ 8.5)
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 718 45.2
หญิง 870 54.8
อายุ :
15 — 25 ปี 660 41.5
26 — 35 ปี 414 26.1
36 — 45 ปี 298 18.8
46ปีขึ้นไป 216 13.6
อาชีพ :
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 244 15.4
รับจ้างทั่วไป 226 14.2
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 432 27.2
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 148 9.3
นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา 362 22.8
พ่อบ้าน /แม่บ้าน/เกษียณอายุ 108 6.9
ว่างงาน 50 3.1
อื่น ๆ 18 1.1
ตารางที่ 2: ความคิดเห็นต่อการนำเพลงชาติไทยชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 328 20.7
ไม่เห็นด้วย 1,260 79.3
ตารางที่ 2.1 เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนในแต่ละช่วงอายุต่อการนำเพลงชาติชุดใหม่มาใช้แทนของเดิม
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย รวม
อายุ 15-25 ปี 25.2%(166) 74.8%(494) 100%(660)
อายุ 26-35 ปี 19.5%(58) 80.5%(240) 100%(298)
อายุ 36-45 ปี 18.4%(76) 81.6%(338) 100%(414)
อายุ 46 ปีขึ้นไป 13.0%(28) 87.0%(188) 100%(216)
เฉลี่ยรวม 20.7%(328) 79.3%(1,260) 100%(1,588)
ตารางที่ 3: ความคิดเห็นต่อการที่เพลงชาติไทยจะมีหลายรูปแบบ (เวอร์ชั่น) เพื่อไว้เปิดในโอกาสต่างๆ กัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 324 20.4
ไม่เห็นด้วย 1,264 79.6
ตารางที่ 4: ความคิดเห็นต่อการมอบหมายให้บริษัทใดบริษัทหนึ่งเป็นผู้จัดทำเพลงชาติไทย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 284 17.9
ไม่เห็นด้วย 1,304 82.1
ตารางที่ 5: ความคิดเห็นต่อการจัดทำเพลงชาติไทยชุดใหม่ว่าจะช่วยส่งเสริมความรักชาติและความสามัคคี
ของคนในชาติให้มากขึ้นได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ได้ 382 24.1
ไม่ได้ 1,206 75.9
ตารางที่ 6: ท่านได้ฟังเพลงชาติไทยชุดใหม่ที่ผลิตโดยบริษัท แกรมมี่ แล้วหรือยัง
จำนวน ร้อยละ
ได้ฟังแล้ว 584 36.8
ยังไม่ได้ฟัง 1,004 63.2
ตารางที่ 7: ความพึงพอใจในผลงานเพลงชาติไทยชุดใหม่เปรียบเทียบกับเพลงชาติไทยของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
(ฉพาะผู้ที่มีโอกาสได้ฟังเพลงชาติไทยชุดใหม่แล้ว)
จำนวน ร้อยละ
ชอบของเดิมมากกว่า 420 71.9
ชอบของใหม่มากว่า 164 28.1
โดยรูปแบบที่ชอบมากที่สุด ได้แก่
- รูปแบบที่ 1 แบบเป็นทางการ
(ขับร้องโดยเสก โลโซ) 46 28.1
- รูปแบบที่ 2 แบบเข้มแข็งแต่ไม่แข็งกร้าว
(ขับร้องโดยคณะนักร้องประสานเสียง ซียู แบนด์) 34 20.7
- รูปแบบที่ 3 แบบงานลีลาศ
(ร้องนำโดยเบิร์ด ธงไชย และตู่ นันทิดา) 14 8.5
- รูปแบบที่ 4 แบบเอาใจคนรุ่นใหม่
(ร้องนำโดยเบิร์ด ธงไชย และตู่ นันทิดา) 20 12.2
- รูปแบบที่ 5 แบบเอาใจเด็ก
(ขับร้องโดยน้องพลับ และเด็กๆ) 28 17.1
- รูปแบบที่ 6 แบบเอาใจผู้สูงอายุ
(มีดนตรีไทยประกอบ) 22 13.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-