เหตุผลและที่มาของการสำรวจ :
ด้วยวันที่ 1 เมษายน ของทุกปีตรงกับวันข้าราชการพลเรือน ผู้ซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญในการขับเคลื่อน
ประเทศไทยให้ก้าวเดินไปข้างหน้าได้อย่างถูกต้อง มั่นคง และสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก ทั้งนี้ รัฐบาลชุดที่ผ่านมา
ได้ดำเนินนโยบายปฏิรูประบบราชการ ทั้งในส่วนของระบบการทำงาน และตัวข้าราชการผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆ
โดยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2545 เป็นต้นมา รวมเวลา 2 ปีเศษ
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์จึงได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับทัศนคติ
ที่มีต่อข้าราชการ และระบบราชการไทยในปัจจุบัน เพื่อสะท้อนความสำเร็จหรือล้มเหลวของการปฏิรูประบบราชการ
เพื่อเป็นข้อมูลให้องค์กรที่เกี่ยวข้องได้ทราบและสามารถปรับทิศทางการปฏิรูประบบราชการไทยให้มีความถูกต้องเหมาะ
สมยิ่งขึ้นต่อไป
วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :.
เพื่อทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับ
1. ประสิทธิภาพการทำงานของข้าราชการไทยภายหลังการปฏิรูประบบราชการ
2. สิ่งที่ข้าราชการไทยควรปรับปรุงแก้ไข
3. สิ่งที่น่าเห็นใจสำหรับข้าราชการไทยในปัจจุบัน
ระเบียบวิธีการสำรวจ :
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้
ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,107 คน เป็นชายร้อยละ 45.0 เป็นหญิงร้อยละ 55.0
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 27.4 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 27.0 มีอายุระหว่าง 26 — 35 ปี
ร้อยละ 31.2 มีอายุระหว่าง 36 — 45 ปี
และร้อยละ 14.4 มีอายุ 46 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของ
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 8.3 มีการศึกษาระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 23.1 มัธยมศึกษา/ปวช.
ร้อยละ 12.0 ปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 50.9 ปริญญาตรี
และร้อยละ 5.7 สูงกว่าปริญญาตรี
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 10.4 มีอาชีพรับราชการ
ร้อยละ 5.6 พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 11.7 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 15.0 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 28.2 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน
ร้อยละ 22.0 นิสิต/นักศึกษา
ร้อยละ 5.0 พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ
และร้อยละ 2.3 อาชีพอื่น ๆ
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) : ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน
+- 4 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล : .การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้า
หมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ภาพลักษณ์ข้าราชการไทยภายหลังการปฏิรูป"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : . 23 — 24 มีนาคม 2548
ผลการสำรวจ
1. เมื่อสอบถามถึงประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการไทยหลังจากปฏิรูประบบราชการ พบว่า
ร้อยละ 44.5 เห็นว่าข้าราชการไทยมีประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้น ขณะที่ ร้อยละ 34.3 เห็นว่าเหมือนเดิม ร้อย
ละ 4.7 เห็นว่าแย่ลง และร้อยละ 16.4 ไม่แน่ใจ
2. สำหรับสิ่งที่ประชาชนเห็นว่าข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของไทยควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด ได้แก่ เรื่อง
ความซื่อสัตย์สุจริต (ร้อยละ 36.9) รองลงมา คือ ความมีวิสัยทัศน์และปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี (ร้อยละ
17.5) ความกล้าเผชิญกับอำนาจที่ไม่ชอบธรรม (ร้อยละ 12.7) ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน (ร้อยละ
10.4) ความยุติธรรม (ร้อยละ 9.0) ความประพฤติส่วนตัว (ร้อยละ 5.9) ความรู้ความสามารถในงานที่ทำ (ร้อย
ละ 5.7) และด้านอื่น ๆ ร้อยละ 0.7 โดยมีกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 1.3 เห็นว่าข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของไทยทำดีอยู่
แล้ว ไม่มีสิ่งใดต้องปรับปรุง
3. ส่วนข้าราชการชั้นผู้น้อยนั้น สิ่งที่ประชาชนเห็นว่าควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด ได้แก่ เรื่อง ความมีใจ
บริการ (ร้อยละ 29.2) ความซื่อสัตย์สุจริต (ร้อยละ 18.5) ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน (ร้อยละ 18.1)
ความประพฤติส่วนตัว (ร้อยละ 11.3) ความสามารถในการปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี (ร้อยละ 7.9) ความรู้
ความสามารถในงานที่ทำ (ร้อยละ 7.5) ความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ (ร้อยละ 5.6) และอื่น ๆ ร้อยละ 0.8
โดยกลุ่มตัวอย่าง อีกร้อยละ 1.1 เห็นว่าข้าราชการชั้นผู้น้อยของไทยทำดีอยู่แล้วไม่มีสิ่งใดต้องปรับปรุง
4. ประชาชนร้อยละ 34.6 ระบุว่า ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ เป็นสิ่งที่อยากเห็นมากที่สุดจาก
ระบบราชการไทยรองลงมา คือ ลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลงเพื่อให้งานเสร็จเร็วขึ้น ร้อยละ 30.9 ทำให้คนเก่งมี
ความก้าวหน้ามากกว่าคนไม่เก่งแต่มีเส้นสาย ร้อยละ 22.2 คิดสร้างสรรค์ด้วยตัวเองมากกว่าคอยรับคำสั่งจากนักการ
เมือง ร้อยละ 11.7 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 0.6
5. สิ่งที่ประชาชนเห็นใจข้าราชการไทยในปัจจุบันมากที่สุด คือ เรื่องเงินเดือนน้อย ร้อยละ 44.9 ต้อง
ปรับตัวตามนโยบายใหม่ ๆ ของรัฐบาล ร้อยละ 27.7 สวัสดิการไม่ดี ร้อยละ 9.3 ต้องโยกย้ายงานบ่อย ร้อยละ
6.6 และ อื่น ๆ ร้อยละ 0.6 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 11.8 ระบุว่า ไม่มีเรื่องใดน่าเห็นใจ
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 : ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 498 45.0
หญิง 609 55.0
อายุ :
18 - 25 ปี 303 27.4
26 - 35 ปี 299 27.0
36 - 45 ปี 346 31.2
46 ปีขึ้นไป 159 14.4
การศึกษา :
ประถมศึกษา 92 8.3
มัธยมศึกษา / ปวช. 256 23.1
ปวส. / อนุปริญญา 133 12.0
ปริญญาตรี 563 50.9
สูงกว่าปริญญาตรี 63 5.7
อาชีพ :
ข้าราชการ 115 10.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 62 5.6
รับจ้างทั่วไป 129 11.7
ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 166 15.0
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 312 28.2
นิสิต / นักศึกษา 243 22.0
พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ 55 5.0
อื่น ๆ 25 2.3
ตารางที่ 2 : นับตั้งแต่มีการปฏิรูประบบราชการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2545 เป็นต้นมา
ท่านคิดว่าประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการไทยดีขึ้นหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 493 44.5
เหมือนเดิม 380 34.3
แย่ลง 52 4.7
ไม่แน่ใจ 182 16.4
ตารางที่ 3 : ท่านคิดว่าสิ่งที่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของไทยควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุดคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
ความซื่อสัตย์สุจริต 408 36.9
วิสัยทัศน์และการปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี 194 17.5
ความกล้าเผชิญกับอำนาจที่ไม่ชอบธรรม 141 12.7
ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน 115 10.4
ความยุติธรรม 99 9.0
ความประพฤติส่วนตัว 65 5.9
ความรู้ความสามารถในงานที่ทำ 63 5.7
ดีอยู่แล้วไม่ต้องปรับปรุง 14 1.3
อื่น ๆ 8 0.7
ตารางที่ 4 : ท่านคิดว่าสิ่งที่ข้าราชการชั้นผู้น้อยของไทยควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุดคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
ความมีใจบริการ 323 29.2
ความซื่อสัตย์สุจริต 205 18.5
ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน 200 18.1
ความประพฤติส่วนตัว 125 11.3
ความสามารถในการปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี 88 7.9
ความรู้ความสามารถในงานที่ทำ 83 7.5
ความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ 62 5.6
ดีอยู่แล้วไม่ต้องปรับปรุง 12 1.1
อื่น ๆ 9 0.8
ตารางที่ 5 : สิ่งที่ท่านอยากเห็นมากที่สุดจากระบบราชการไทยคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 383 34.6
ลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลงเพื่อให้งานเสร็จเร็วขึ้น 342 30.9
ทำให้คนเก่งมีความก้าวหน้ามากกว่าคนไม่เก่งแต่มีเส้นสาย 246 22.2
คิดสร้างสรรค์ด้วยตัวเองมากกว่าคอยรับคำสั่งจากนักการเมือง 129 11.7
อื่น ๆ 7 0.6
ตารางที่ 6 : สิ่งที่ท่านเห็นใจข้าราชการไทยในปัจจุบันมากที่สุดคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
เงินเดือนน้อย 497 44.9
ต้องปรับตัวตามนโยบายใหม่ ๆ ของรัฐบาล 295 27.7
สวัสดิการไม่ดี 103 9.3
ต้องโยกย้ายงานบ่อย 73 6.6
ไม่มีเรื่องใดน่าเห็นใจ 131 11.8
อื่น ๆ 8 0.6
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
ด้วยวันที่ 1 เมษายน ของทุกปีตรงกับวันข้าราชการพลเรือน ผู้ซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญในการขับเคลื่อน
ประเทศไทยให้ก้าวเดินไปข้างหน้าได้อย่างถูกต้อง มั่นคง และสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก ทั้งนี้ รัฐบาลชุดที่ผ่านมา
ได้ดำเนินนโยบายปฏิรูประบบราชการ ทั้งในส่วนของระบบการทำงาน และตัวข้าราชการผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆ
โดยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2545 เป็นต้นมา รวมเวลา 2 ปีเศษ
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์จึงได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับทัศนคติ
ที่มีต่อข้าราชการ และระบบราชการไทยในปัจจุบัน เพื่อสะท้อนความสำเร็จหรือล้มเหลวของการปฏิรูประบบราชการ
เพื่อเป็นข้อมูลให้องค์กรที่เกี่ยวข้องได้ทราบและสามารถปรับทิศทางการปฏิรูประบบราชการไทยให้มีความถูกต้องเหมาะ
สมยิ่งขึ้นต่อไป
วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :.
เพื่อทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับ
1. ประสิทธิภาพการทำงานของข้าราชการไทยภายหลังการปฏิรูประบบราชการ
2. สิ่งที่ข้าราชการไทยควรปรับปรุงแก้ไข
3. สิ่งที่น่าเห็นใจสำหรับข้าราชการไทยในปัจจุบัน
ระเบียบวิธีการสำรวจ :
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้
ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,107 คน เป็นชายร้อยละ 45.0 เป็นหญิงร้อยละ 55.0
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 27.4 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 27.0 มีอายุระหว่าง 26 — 35 ปี
ร้อยละ 31.2 มีอายุระหว่าง 36 — 45 ปี
และร้อยละ 14.4 มีอายุ 46 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของ
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 8.3 มีการศึกษาระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 23.1 มัธยมศึกษา/ปวช.
ร้อยละ 12.0 ปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 50.9 ปริญญาตรี
และร้อยละ 5.7 สูงกว่าปริญญาตรี
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 10.4 มีอาชีพรับราชการ
ร้อยละ 5.6 พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 11.7 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 15.0 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 28.2 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน
ร้อยละ 22.0 นิสิต/นักศึกษา
ร้อยละ 5.0 พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ
และร้อยละ 2.3 อาชีพอื่น ๆ
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) : ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน
+- 4 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล : .การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้า
หมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ภาพลักษณ์ข้าราชการไทยภายหลังการปฏิรูป"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : . 23 — 24 มีนาคม 2548
ผลการสำรวจ
1. เมื่อสอบถามถึงประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการไทยหลังจากปฏิรูประบบราชการ พบว่า
ร้อยละ 44.5 เห็นว่าข้าราชการไทยมีประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้น ขณะที่ ร้อยละ 34.3 เห็นว่าเหมือนเดิม ร้อย
ละ 4.7 เห็นว่าแย่ลง และร้อยละ 16.4 ไม่แน่ใจ
2. สำหรับสิ่งที่ประชาชนเห็นว่าข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของไทยควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด ได้แก่ เรื่อง
ความซื่อสัตย์สุจริต (ร้อยละ 36.9) รองลงมา คือ ความมีวิสัยทัศน์และปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี (ร้อยละ
17.5) ความกล้าเผชิญกับอำนาจที่ไม่ชอบธรรม (ร้อยละ 12.7) ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน (ร้อยละ
10.4) ความยุติธรรม (ร้อยละ 9.0) ความประพฤติส่วนตัว (ร้อยละ 5.9) ความรู้ความสามารถในงานที่ทำ (ร้อย
ละ 5.7) และด้านอื่น ๆ ร้อยละ 0.7 โดยมีกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 1.3 เห็นว่าข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของไทยทำดีอยู่
แล้ว ไม่มีสิ่งใดต้องปรับปรุง
3. ส่วนข้าราชการชั้นผู้น้อยนั้น สิ่งที่ประชาชนเห็นว่าควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด ได้แก่ เรื่อง ความมีใจ
บริการ (ร้อยละ 29.2) ความซื่อสัตย์สุจริต (ร้อยละ 18.5) ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน (ร้อยละ 18.1)
ความประพฤติส่วนตัว (ร้อยละ 11.3) ความสามารถในการปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี (ร้อยละ 7.9) ความรู้
ความสามารถในงานที่ทำ (ร้อยละ 7.5) ความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ (ร้อยละ 5.6) และอื่น ๆ ร้อยละ 0.8
โดยกลุ่มตัวอย่าง อีกร้อยละ 1.1 เห็นว่าข้าราชการชั้นผู้น้อยของไทยทำดีอยู่แล้วไม่มีสิ่งใดต้องปรับปรุง
4. ประชาชนร้อยละ 34.6 ระบุว่า ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ เป็นสิ่งที่อยากเห็นมากที่สุดจาก
ระบบราชการไทยรองลงมา คือ ลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลงเพื่อให้งานเสร็จเร็วขึ้น ร้อยละ 30.9 ทำให้คนเก่งมี
ความก้าวหน้ามากกว่าคนไม่เก่งแต่มีเส้นสาย ร้อยละ 22.2 คิดสร้างสรรค์ด้วยตัวเองมากกว่าคอยรับคำสั่งจากนักการ
เมือง ร้อยละ 11.7 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 0.6
5. สิ่งที่ประชาชนเห็นใจข้าราชการไทยในปัจจุบันมากที่สุด คือ เรื่องเงินเดือนน้อย ร้อยละ 44.9 ต้อง
ปรับตัวตามนโยบายใหม่ ๆ ของรัฐบาล ร้อยละ 27.7 สวัสดิการไม่ดี ร้อยละ 9.3 ต้องโยกย้ายงานบ่อย ร้อยละ
6.6 และ อื่น ๆ ร้อยละ 0.6 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 11.8 ระบุว่า ไม่มีเรื่องใดน่าเห็นใจ
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 : ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 498 45.0
หญิง 609 55.0
อายุ :
18 - 25 ปี 303 27.4
26 - 35 ปี 299 27.0
36 - 45 ปี 346 31.2
46 ปีขึ้นไป 159 14.4
การศึกษา :
ประถมศึกษา 92 8.3
มัธยมศึกษา / ปวช. 256 23.1
ปวส. / อนุปริญญา 133 12.0
ปริญญาตรี 563 50.9
สูงกว่าปริญญาตรี 63 5.7
อาชีพ :
ข้าราชการ 115 10.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 62 5.6
รับจ้างทั่วไป 129 11.7
ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 166 15.0
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 312 28.2
นิสิต / นักศึกษา 243 22.0
พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ 55 5.0
อื่น ๆ 25 2.3
ตารางที่ 2 : นับตั้งแต่มีการปฏิรูประบบราชการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2545 เป็นต้นมา
ท่านคิดว่าประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการไทยดีขึ้นหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 493 44.5
เหมือนเดิม 380 34.3
แย่ลง 52 4.7
ไม่แน่ใจ 182 16.4
ตารางที่ 3 : ท่านคิดว่าสิ่งที่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของไทยควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุดคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
ความซื่อสัตย์สุจริต 408 36.9
วิสัยทัศน์และการปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี 194 17.5
ความกล้าเผชิญกับอำนาจที่ไม่ชอบธรรม 141 12.7
ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน 115 10.4
ความยุติธรรม 99 9.0
ความประพฤติส่วนตัว 65 5.9
ความรู้ความสามารถในงานที่ทำ 63 5.7
ดีอยู่แล้วไม่ต้องปรับปรุง 14 1.3
อื่น ๆ 8 0.7
ตารางที่ 4 : ท่านคิดว่าสิ่งที่ข้าราชการชั้นผู้น้อยของไทยควรปรับปรุงแก้ไขมากที่สุดคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
ความมีใจบริการ 323 29.2
ความซื่อสัตย์สุจริต 205 18.5
ความทุ่มเทรับผิดชอบในการทำงาน 200 18.1
ความประพฤติส่วนตัว 125 11.3
ความสามารถในการปรับตัวให้ทันโลกและเทคโนโลยี 88 7.9
ความรู้ความสามารถในงานที่ทำ 83 7.5
ความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ 62 5.6
ดีอยู่แล้วไม่ต้องปรับปรุง 12 1.1
อื่น ๆ 9 0.8
ตารางที่ 5 : สิ่งที่ท่านอยากเห็นมากที่สุดจากระบบราชการไทยคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 383 34.6
ลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลงเพื่อให้งานเสร็จเร็วขึ้น 342 30.9
ทำให้คนเก่งมีความก้าวหน้ามากกว่าคนไม่เก่งแต่มีเส้นสาย 246 22.2
คิดสร้างสรรค์ด้วยตัวเองมากกว่าคอยรับคำสั่งจากนักการเมือง 129 11.7
อื่น ๆ 7 0.6
ตารางที่ 6 : สิ่งที่ท่านเห็นใจข้าราชการไทยในปัจจุบันมากที่สุดคือเรื่องใด
จำนวน ร้อยละ
เงินเดือนน้อย 497 44.9
ต้องปรับตัวตามนโยบายใหม่ ๆ ของรัฐบาล 295 27.7
สวัสดิการไม่ดี 103 9.3
ต้องโยกย้ายงานบ่อย 73 6.6
ไม่มีเรื่องใดน่าเห็นใจ 131 11.8
อื่น ๆ 8 0.6
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-