แท็ก
กรุงเทพโพลล์
ในยุคที่สถานการณ์บ้านเมืองของไทยยังไม่สามารถก้าวพ้นจากปัญหาความขัดแย้งและแบ่งฝักแบ่งฝ่ายเช่นในปัจจุบัน การทำหน้าที่ของสื่อมวล
ชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือพิมพ์ในฐานะสื่อต้นทางที่คอยสอดส่องและรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้สาธารณชนได้รับทราบจึงเป็นที่สนใจและเฝ้าติดตาม
จากสังคมว่าจะสามารถดำเนินบทบาทได้อย่างเหมาะสมในอันจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถก้าวเดินไปขางหน้าได้อย่างถูกต้องมั่นคงมากน้อยเพียงใด
ในโอกาสครบรอบ 11 ปีของการก่อตั้ง สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ จึงได้ร่วมกับศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) ดำเนิน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในหัวข้อ “บทบาทที่พึงประสงค์ของหนังสือพิมพ์” โดยเก็บข้อมูลจากผู้อ่านอายุ 18 ปีขึ้นไปในทุกสาขาอาชีพจากทุก
ภาคของประเทศ จำนวน 2,246 คน เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม — 30 พฤษภาคม 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความพึงพอใจต่อเนื้อหาสาระที่นำเสนอในหนังสือพิมพ์รายวัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(คะแนนเต็ม 10) (คะแนนเต็ม 10)
- ความรวดเร็วทันเหตุการณ์ 7.28 7.36
- ความน่าสนใจ สามารถตอบสนองความอยากรู้ 7.20 7.10
- ความชัดเจนเข้าใจง่าย 6.99 7.07
- ความต่อเนื่องในการนำเสนอความคืบหน้า 6.74 6.72
- ความละเอียดลึกซึ้งของเรื่องราว 6.62 6.64
- ความสุภาพเหมาะสมของถ้อยคำภาษาที่ใช้ 6.51 6.37
- ความเป็นกลาง 6.28 6.25
- ความถูกต้องเที่ยงตรงเชื่อถือได้ 5.95 5.92
- ความเคารพในสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลของผู้ตกเป็นข่าว 5.81 5.57
เฉลี่ยรวม 6.60 6.56
2. ประเภทของเนื้อหาที่ต้องการให้หนังสือพิมพ์นำเสนอให้มากขึ้น (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- เนื้อหาที่เจาะลึกเรื่องการเมืองและนักการเมือง 22.2 23.8
- เศรษฐกิจ การลงทุน การประกอบอาชีพ 21.4 26.0
- วิทยาศาสตร์ การค้นพบและความรู้ใหม่ๆ 13.2 14.6
- บันเทิง 8.8 4.9
- สังคม 7.9 6.2
- เรื่องราวชีวิตบุคคลที่มีคุณค่า เป็นแบบอย่างที่ดีในสังคม 6.5 8.1
- วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตชุมชน และภูมิปัญญาชาวบ้าน 5.3 4.4
- กีฬา 4.6 4.9
- การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4.5 0.9
- การดูแลสุขภาพ 1.4 2.2
- เรื่องราวเกี่ยวกับต่างประเทศ 1.3 2.2
- เรื่องในเชิงเกษตรและสิ่งแวดล้อม 1.2 0.9
- อื่นๆ เช่น ท่องเที่ยว เรื่องราวดีๆ ในสังคม 1.7 0.9
3. ประเภทของเนื้อหาที่ต้องการให้หนังสือพิมพ์นำเสนอให้น้อยลง (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- ข่าวอาชญากรรม ความรุนแรง ข่มขืน 34.2 41.5
- ข่าวด้านลบของดารา ชีวิตดาราที่เป็นตัวอย่างไม่ดีของเยาวชน 29.8 29.7
- ข่าวความแตกแยกทางการเมือง 16.8 12.4
- ข่าวเกี่ยวกับความเชื่องมงาย ใบ้หวย ภูตผี 4.7 2.5
- โฆษณา 3.5 5.0
- ข่าวกีฬา 2.7 1.6
- ข่าวที่ไม่เป็นความจริง ข่าวโคมลอย ไม่มีแหล่งข่าวที่ชัดเจน 2.6 3.3
- ข่าวสังคม ข่าวไฮโซ 1.8 0.9
- ข่าวความแตกแยกของคนไทยด้วยกัน 1.4 2.2
- อื่นๆ เช่น ข่าวต่างประเทศ 2.5 0.9
4. ความพึงพอใจต่อการทำหน้าที่ของสื่อหนังสือพิมพ์รายวันของไทยในปัจจุบัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(คะแนนเต็ม 10) (คะแนนเต็ม 10)
- การให้ความบันเทิง 7.01 6.89
- การแสดงความเห็น ตีความ และเชื่อมโยงให้ประชาชนเข้าใจถึง
ที่มาที่ไปของเรื่องราวที่เกิดขึ้น 6.52 6.51
- การแสวงหาข้อเท็จจริงที่มีคุณค่ามานำเสนอให้ประชาชนได้รับทราบ 6.48 6.38
- การให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหาของประเทศ
เช่น การปฏิรูปการเมือง การแก้รัฐธรรมนูญ 6.42 6.31
- การให้ข้อมูลเชิงลึกด้านการเมืองแก่ประชาชน 6.32 6.27
- การกระตุ้น ชี้นำสังคมไปในทางที่ถูกที่ควร 6.20 6.13
- การยืนหยัดต่อสู้เพื่อความถูกต้องชอบธรรมในสังคม 6.13 6.08
- การเป็นปากเสียงให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส 6.02 6.07
- การตรวจสอบรัฐบาลและผู้มีอำนาจในบ้านเมือง 6.01 6.02
เฉลี่ยรวม 6.35 6.30
5. เรื่องที่ต้องการให้หนังสือพิมพ์ปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด (คำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- นำเสนอข่าวสารด้วยความถูกต้องเที่ยงตรง 52.1 49.5
- มีความเป็นกลาง ไม่เลือกข้าง ไม่อยู่ใต้อิทธิพลของใคร 11.0 13.5
- ปรับภาษาและการเขียนให้เข้าใจง่าย 10.6 13.0
- ระมัดระวังเรื่องการลงภาพและเรื่องราวที่ละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล 10.2 8.9
- เน้นข่าวเชิงเจาะลึกให้มากขึ้น 8.0 6.8
- คำนึงถึงประโยชน์ของผู้อ่าน อย่ามุ่งแต่ขายข่าว 3.3 4.3
- สร้างความสมานฉันท์ในชาติ 1.9 2.0
- เป็นปากเสียงให้ผู้ด้อยโอกาสในสังคม 1.7 1.1
- อื่นๆ เช่น เสนอข่าวให้รวดเร็วทันเหตุการณ์ ลงโฆษณาให้น้อยลง ลดราคาลง 1.2 0.9
6. บทบาทที่ต้องการให้สื่อหนังสือพิมพ์ของไทยเน้นมากที่สุดในปัจจุบัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ประชาชนได้รับทราบ 39.3 36.6
- สร้างความสมานฉันท์ระหว่างคนในชาติ 19.3 19.5
- ตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลและผู้มีอำนาจในบ้านเมือง 12.1 14.2
- เป็นปากเสียงให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส 8.9 8.4
- กระตุ้น ชี้นำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างถูกต้องเหมาะสม 7.7 9.5
- ให้ความรู้สร้างความเข้าใจเพื่อให้เกิดการปฏิรูปการเมืองอย่างถูกต้อง 7.6 5.3
- สร้างความบันเทิง 3.6 0.8
- อื่นๆ เช่น ให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต 1.5 5.7
7. ความคิดเห็นต่อสิทธิเสรีภาพในการนำเสนอข่าวสารของหนังสือพิมพ์ในปัจจุบัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- เห็นว่ามีเสรีภาพในระดับที่เหมาะสมแล้ว 31.9 28.6
- เห็นว่ามีเสรีภาพมากเกินไป 30.1 26.3
- เห็นว่ามีเสรีภาพน้อยเกินไป 20.9 16.8
- ไม่แน่ใจ 17.1 28.2
8. ความคิดเห็นต่อวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมดูแลจรรยาบรรณของหนังสือพิมพ์
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- ควรให้สื่อควบคุมกันเอง 39.1 42.0
- ควรให้รัฐบาลเป็นผู้ควบคุมสื่อ 17.3 18.7
- ไม่ควรมีใครมาควบคุมสื่อ 17.0 20.2
- ควรให้ประชาชนผู้อ่านเป็นผู้ควบคุมสื่อ 26.6 19.1
โดยวิธีการ
- ตั้งองค์กรอิสระที่มีตัวแทนจากทุกภาคส่วนมาควบคุมดูแล....ร้อยละ 11.3
- ไม่ซื้อหนังสือพิมพ์ที่ไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ............ร้อยละ 7.2
- เลือกรับข้อมูลจากหลายแหล่งประกอบกัน..............ร้อยละ 5.9
- อื่นๆ เช่น ประท้วง ฟ้องร้องสื่อ....................ร้อยละ 2.2
9. การรู้จักสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- ไม่รู้จักเลย 59.2 50.8
- เคยได้ยินชื่อแต่ไม่รู้ว่าทำอะไร 35.6 30.9
- รู้จัก 5.2 18.3
รายละเอียดในการสำรวจ
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้การสุ่มตัวอย่างประชาชนผู้อ่านหนังสือพิมพ์อายุ 18 ปีขึ้นไปในทุกสาขาอาชีพจากทุกภาคของประเทศ ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบชั้นภูมิ (Stratified Multi-stage Sampling) โดยในแต่ละภาคจะทำการสุ่มจังหวัด จากนั้นสุ่มอำเภอ แล้วจึงสุ่มประชากรเป้าหมายที่จะ
สัมภาษณ์อย่างเป็นระบบ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,248 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.6 และเพศหญิงร้อยละ 49.4
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคาดเคลื่อน +/- 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal) และคำถามปลายเปิด (Open Form) จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุดมา
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : วันที่ 7 พฤษภาคม — 30 พฤษภาคม 2551
วันที่เผลแพร่ผลสำรวจ : 4 กรกฎาคม 2551
ตารางข้อมูลประชากร
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 1,138 50.6
หญิง 1,110 49.4
อายุ
18-25 ปี 612 27.2
26-35 ปี 578 25.7
36-45 ปี 548 24.4
46 ปีขึ้นไป 510 22.7
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 1,094 48.6
ปริญญาตรี 930 41.4
สูงกว่าปริญญาตรี 224 10.0
อาชีพ
พนักงานลูกจ้างบริษัทเอกชน 482 21.4
ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 436 19.4
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 390 17.3
นิสิต นักศึกษา 374 16.6
รับจ้างทั่วไป 274 12.2
พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ 138 6.1
เกษตรกร ประมง 96 4.3
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ ว่างงาน ฯลฯ 58 2.7
ที่อยู่อาศัย
กรุงเทพฯ 734 31.6
ภาคเหนือ 296 13.2
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 582 25.9
ภาคกลาง 364 17.2
ภาคใต้ 272 12.1
ความถี่ในการอ่านหนังสือพิมพ์
อ่าน 1-2 วันต่อสัปดาห์ 778 34.6
อ่าน 3-4 วันต่อสัปดาห์ 643 28.6
อ่าน 5-6 วันต่อสัปดาห์ 303 13.5
อ่าน 7 วันต่อสัปดาห์ หรืออ่านทุกวัน 524 23.3
รวม 2,248 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
ชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือพิมพ์ในฐานะสื่อต้นทางที่คอยสอดส่องและรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้สาธารณชนได้รับทราบจึงเป็นที่สนใจและเฝ้าติดตาม
จากสังคมว่าจะสามารถดำเนินบทบาทได้อย่างเหมาะสมในอันจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถก้าวเดินไปขางหน้าได้อย่างถูกต้องมั่นคงมากน้อยเพียงใด
ในโอกาสครบรอบ 11 ปีของการก่อตั้ง สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ จึงได้ร่วมกับศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) ดำเนิน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในหัวข้อ “บทบาทที่พึงประสงค์ของหนังสือพิมพ์” โดยเก็บข้อมูลจากผู้อ่านอายุ 18 ปีขึ้นไปในทุกสาขาอาชีพจากทุก
ภาคของประเทศ จำนวน 2,246 คน เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม — 30 พฤษภาคม 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความพึงพอใจต่อเนื้อหาสาระที่นำเสนอในหนังสือพิมพ์รายวัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(คะแนนเต็ม 10) (คะแนนเต็ม 10)
- ความรวดเร็วทันเหตุการณ์ 7.28 7.36
- ความน่าสนใจ สามารถตอบสนองความอยากรู้ 7.20 7.10
- ความชัดเจนเข้าใจง่าย 6.99 7.07
- ความต่อเนื่องในการนำเสนอความคืบหน้า 6.74 6.72
- ความละเอียดลึกซึ้งของเรื่องราว 6.62 6.64
- ความสุภาพเหมาะสมของถ้อยคำภาษาที่ใช้ 6.51 6.37
- ความเป็นกลาง 6.28 6.25
- ความถูกต้องเที่ยงตรงเชื่อถือได้ 5.95 5.92
- ความเคารพในสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลของผู้ตกเป็นข่าว 5.81 5.57
เฉลี่ยรวม 6.60 6.56
2. ประเภทของเนื้อหาที่ต้องการให้หนังสือพิมพ์นำเสนอให้มากขึ้น (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- เนื้อหาที่เจาะลึกเรื่องการเมืองและนักการเมือง 22.2 23.8
- เศรษฐกิจ การลงทุน การประกอบอาชีพ 21.4 26.0
- วิทยาศาสตร์ การค้นพบและความรู้ใหม่ๆ 13.2 14.6
- บันเทิง 8.8 4.9
- สังคม 7.9 6.2
- เรื่องราวชีวิตบุคคลที่มีคุณค่า เป็นแบบอย่างที่ดีในสังคม 6.5 8.1
- วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตชุมชน และภูมิปัญญาชาวบ้าน 5.3 4.4
- กีฬา 4.6 4.9
- การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4.5 0.9
- การดูแลสุขภาพ 1.4 2.2
- เรื่องราวเกี่ยวกับต่างประเทศ 1.3 2.2
- เรื่องในเชิงเกษตรและสิ่งแวดล้อม 1.2 0.9
- อื่นๆ เช่น ท่องเที่ยว เรื่องราวดีๆ ในสังคม 1.7 0.9
3. ประเภทของเนื้อหาที่ต้องการให้หนังสือพิมพ์นำเสนอให้น้อยลง (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- ข่าวอาชญากรรม ความรุนแรง ข่มขืน 34.2 41.5
- ข่าวด้านลบของดารา ชีวิตดาราที่เป็นตัวอย่างไม่ดีของเยาวชน 29.8 29.7
- ข่าวความแตกแยกทางการเมือง 16.8 12.4
- ข่าวเกี่ยวกับความเชื่องมงาย ใบ้หวย ภูตผี 4.7 2.5
- โฆษณา 3.5 5.0
- ข่าวกีฬา 2.7 1.6
- ข่าวที่ไม่เป็นความจริง ข่าวโคมลอย ไม่มีแหล่งข่าวที่ชัดเจน 2.6 3.3
- ข่าวสังคม ข่าวไฮโซ 1.8 0.9
- ข่าวความแตกแยกของคนไทยด้วยกัน 1.4 2.2
- อื่นๆ เช่น ข่าวต่างประเทศ 2.5 0.9
4. ความพึงพอใจต่อการทำหน้าที่ของสื่อหนังสือพิมพ์รายวันของไทยในปัจจุบัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(คะแนนเต็ม 10) (คะแนนเต็ม 10)
- การให้ความบันเทิง 7.01 6.89
- การแสดงความเห็น ตีความ และเชื่อมโยงให้ประชาชนเข้าใจถึง
ที่มาที่ไปของเรื่องราวที่เกิดขึ้น 6.52 6.51
- การแสวงหาข้อเท็จจริงที่มีคุณค่ามานำเสนอให้ประชาชนได้รับทราบ 6.48 6.38
- การให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหาของประเทศ
เช่น การปฏิรูปการเมือง การแก้รัฐธรรมนูญ 6.42 6.31
- การให้ข้อมูลเชิงลึกด้านการเมืองแก่ประชาชน 6.32 6.27
- การกระตุ้น ชี้นำสังคมไปในทางที่ถูกที่ควร 6.20 6.13
- การยืนหยัดต่อสู้เพื่อความถูกต้องชอบธรรมในสังคม 6.13 6.08
- การเป็นปากเสียงให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส 6.02 6.07
- การตรวจสอบรัฐบาลและผู้มีอำนาจในบ้านเมือง 6.01 6.02
เฉลี่ยรวม 6.35 6.30
5. เรื่องที่ต้องการให้หนังสือพิมพ์ปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด (คำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- นำเสนอข่าวสารด้วยความถูกต้องเที่ยงตรง 52.1 49.5
- มีความเป็นกลาง ไม่เลือกข้าง ไม่อยู่ใต้อิทธิพลของใคร 11.0 13.5
- ปรับภาษาและการเขียนให้เข้าใจง่าย 10.6 13.0
- ระมัดระวังเรื่องการลงภาพและเรื่องราวที่ละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล 10.2 8.9
- เน้นข่าวเชิงเจาะลึกให้มากขึ้น 8.0 6.8
- คำนึงถึงประโยชน์ของผู้อ่าน อย่ามุ่งแต่ขายข่าว 3.3 4.3
- สร้างความสมานฉันท์ในชาติ 1.9 2.0
- เป็นปากเสียงให้ผู้ด้อยโอกาสในสังคม 1.7 1.1
- อื่นๆ เช่น เสนอข่าวให้รวดเร็วทันเหตุการณ์ ลงโฆษณาให้น้อยลง ลดราคาลง 1.2 0.9
6. บทบาทที่ต้องการให้สื่อหนังสือพิมพ์ของไทยเน้นมากที่สุดในปัจจุบัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ประชาชนได้รับทราบ 39.3 36.6
- สร้างความสมานฉันท์ระหว่างคนในชาติ 19.3 19.5
- ตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลและผู้มีอำนาจในบ้านเมือง 12.1 14.2
- เป็นปากเสียงให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส 8.9 8.4
- กระตุ้น ชี้นำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างถูกต้องเหมาะสม 7.7 9.5
- ให้ความรู้สร้างความเข้าใจเพื่อให้เกิดการปฏิรูปการเมืองอย่างถูกต้อง 7.6 5.3
- สร้างความบันเทิง 3.6 0.8
- อื่นๆ เช่น ให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต 1.5 5.7
7. ความคิดเห็นต่อสิทธิเสรีภาพในการนำเสนอข่าวสารของหนังสือพิมพ์ในปัจจุบัน
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- เห็นว่ามีเสรีภาพในระดับที่เหมาะสมแล้ว 31.9 28.6
- เห็นว่ามีเสรีภาพมากเกินไป 30.1 26.3
- เห็นว่ามีเสรีภาพน้อยเกินไป 20.9 16.8
- ไม่แน่ใจ 17.1 28.2
8. ความคิดเห็นต่อวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมดูแลจรรยาบรรณของหนังสือพิมพ์
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- ควรให้สื่อควบคุมกันเอง 39.1 42.0
- ควรให้รัฐบาลเป็นผู้ควบคุมสื่อ 17.3 18.7
- ไม่ควรมีใครมาควบคุมสื่อ 17.0 20.2
- ควรให้ประชาชนผู้อ่านเป็นผู้ควบคุมสื่อ 26.6 19.1
โดยวิธีการ
- ตั้งองค์กรอิสระที่มีตัวแทนจากทุกภาคส่วนมาควบคุมดูแล....ร้อยละ 11.3
- ไม่ซื้อหนังสือพิมพ์ที่ไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ............ร้อยละ 7.2
- เลือกรับข้อมูลจากหลายแหล่งประกอบกัน..............ร้อยละ 5.9
- อื่นๆ เช่น ประท้วง ฟ้องร้องสื่อ....................ร้อยละ 2.2
9. การรู้จักสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ
ผู้อ่านทั่วไป ผู้ที่อ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจำทุกวัน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
- ไม่รู้จักเลย 59.2 50.8
- เคยได้ยินชื่อแต่ไม่รู้ว่าทำอะไร 35.6 30.9
- รู้จัก 5.2 18.3
รายละเอียดในการสำรวจ
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้การสุ่มตัวอย่างประชาชนผู้อ่านหนังสือพิมพ์อายุ 18 ปีขึ้นไปในทุกสาขาอาชีพจากทุกภาคของประเทศ ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบชั้นภูมิ (Stratified Multi-stage Sampling) โดยในแต่ละภาคจะทำการสุ่มจังหวัด จากนั้นสุ่มอำเภอ แล้วจึงสุ่มประชากรเป้าหมายที่จะ
สัมภาษณ์อย่างเป็นระบบ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,248 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.6 และเพศหญิงร้อยละ 49.4
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคาดเคลื่อน +/- 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal) และคำถามปลายเปิด (Open Form) จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุดมา
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : วันที่ 7 พฤษภาคม — 30 พฤษภาคม 2551
วันที่เผลแพร่ผลสำรวจ : 4 กรกฎาคม 2551
ตารางข้อมูลประชากร
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 1,138 50.6
หญิง 1,110 49.4
อายุ
18-25 ปี 612 27.2
26-35 ปี 578 25.7
36-45 ปี 548 24.4
46 ปีขึ้นไป 510 22.7
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 1,094 48.6
ปริญญาตรี 930 41.4
สูงกว่าปริญญาตรี 224 10.0
อาชีพ
พนักงานลูกจ้างบริษัทเอกชน 482 21.4
ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 436 19.4
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 390 17.3
นิสิต นักศึกษา 374 16.6
รับจ้างทั่วไป 274 12.2
พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ 138 6.1
เกษตรกร ประมง 96 4.3
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ ว่างงาน ฯลฯ 58 2.7
ที่อยู่อาศัย
กรุงเทพฯ 734 31.6
ภาคเหนือ 296 13.2
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 582 25.9
ภาคกลาง 364 17.2
ภาคใต้ 272 12.1
ความถี่ในการอ่านหนังสือพิมพ์
อ่าน 1-2 วันต่อสัปดาห์ 778 34.6
อ่าน 3-4 วันต่อสัปดาห์ 643 28.6
อ่าน 5-6 วันต่อสัปดาห์ 303 13.5
อ่าน 7 วันต่อสัปดาห์ หรืออ่านทุกวัน 524 23.3
รวม 2,248 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-