จากข่าวการเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" หรือคลื่นพายุซัดฝั่ง ในพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทย และพื้นที่ใกล้แม่น้ำ ที่อาจส่งผลกระทบครอบ
คลุมถึงเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ ในช่วงเดือน สิงหาคม-กันยายน ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์)
จึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “การรับรู้และรับมือกับสตอร์ม เซิร์จ ของคนกรุงเทพฯ และสมุทรปราการ” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชน
อายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการ จำนวน 1,103 คน เมื่อวันที่ 23-24 สิงหาคมที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความสนใจที่มีต่อข่าวการเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ"
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ให้ความสนใจ ร้อยละ 71.8 ร้อยละ 79.2
ไม่ให้ความสนใจ ร้อยละ 21.6 ร้อยละ 20.8
ไม่ทราบข่าว ร้อยละ 6.6 ไม่มีผู้ที่ไม่ทราบข่าว
2. ความคิดเห็นต่อโอกาสที่จะเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" ขึ้นที่กรุงเทพฯ และสมุทรปราการ ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
เชื่อว่าจะเกิดขึ้นจริง ร้อยละ 62.0 ร้อยละ 67.1
ไม่เชื่อว่าจะเกิดขึ้น ร้อยละ 38.0 ร้อยละ 32.9
3. ความวิตกกังวลกับข่าวการเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ"
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ไม่วิตกกังวล ร้อยละ 58.4 ร้อยละ 52.0
วิตกกังวล ร้อยละ 41.6 ร้อยละ 48.0
4. การเตรียมตัวเพื่อรับมือกับปรากฏการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ"
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ยังไม่ได้เตรียมตัว ร้อยละ 65.1 ร้อยละ 58.4
(เนื่องจาก ไม่รู้ว่าจะต้องเตรียมตัวอย่างไร และไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่)
เตรียมตัวแล้ว ร้อยละ 34.9 ร้อยละ 41.6
(โดยการติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิดวางแผนหาที่อยู่ยามฉุกเฉิน และซื้อของใช้ที่จำเป็นเก็บไว้)
5. สำหรับความต้องการรับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับปรากฏการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" พบว่า ประชาชน
ต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องต่อไปนี้
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
แนวทางการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับ "สตอร์ม เซิร์จ" ร้อยละ 89.3 ร้อยละ 90.0
การเตรียมความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 88.5 ร้อยละ 87.9
โอกาสในการเกิด "สตอร์ม เซิร์จ" ร้อยละ 85.7 ร้อยละ 86.1
ผลกระทบที่จะได้รับจาก "สตอร์ม เซิร์จ" ร้อยละ 84.7 ร้อยละ 85.7
6. ความพึงพอใจต่อการทำงานในเรื่องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ” ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีดังนี้
-ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
ร้อยละ 83.8 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 16.2 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ยังขาดข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจน)
-กรมอุตุนิยมวิทยา
ร้อยละ 81.4 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 18.6 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ทำงานล่าช้า และคำคาดการณ์ที่ผ่านมาไม่ค่อยถูกต้องแม่นยำ)
-กรุงเทพมหานคร
ร้อยละ 75.9 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 24.1 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ทำงานแบบฉาบฉวย ไม่ต่อเนื่อง)
-รัฐบาล
ร้อยละ 58.3 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 41.7 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ไม่ได้ให้ความสำคัญและไม่ใส่ใจกับการเกิด ปรากฏการณ์ “สตอร์ม
เซิร์จ” เท่าที่ควร)
7. สำหรับความมั่นใจต่อความสามารถในการรับมือกับปรากฏการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบว่า
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ไม่มั่นใจว่าจะสามารถรับมือได้ ร้อยละ 59.9 ร้อยละ 61.5
มั่นใจว่าสามารถรับมือได้ ร้อยละ 40.1 ร้อยละ 38.5
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการในประเด็นต่อไปนี้
1. ความสนใจต่อข่าวการเกิดปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
2. ความเห็นต่อการเกิด “สตอร์ม เซิร์จ” ขึ้นที่กรุงเทพฯ และสมุทรปราการ
3. ความกังวลต่อข่าวการเกิดปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
4. การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
5. ความต้องการรับรู้ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
6. ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7. ความมั่นใจที่มีต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรับมือกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 31 เขต จาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ คลองเตย คลองสาน จตุจักร จอมทอง ดินแดง ทุ่งครุ ธนุรี บางกะปิ
บางขุนเทียน บางเขต บางนา บางบอน บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราช
เทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สาทร หลักสี่ และจังหวัดสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ
18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,103 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 48.5 และเพศหญิง ร้อยละ 51.5 โดยเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย ร้อย
ละ 20.9 และอยู่นอกเขตพื้นที่เสี่ยงภัย ร้อยละ 79.1
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน..4% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal) และคำถามปลายเปิด (Open Form) จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุด
มาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 23 - 24 สิงหาคม 2551
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ : 26 สิงหาคม 2551
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 535 48.5
หญิง 568 51.5
อายุ
18-25 ปี 328 29.7
26-35 ปี 336 30.5
36-45 ปี 266 24.1
46 ปีขึ้นไป 173 15.7
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 425 38.5
ปริญญาตรี 614 55.7
สูงกว่าปริญญาตรี 64 5.8
อาชีพ
ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ 125 11.3
พนักงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน 387 35.1
ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว 231 20.9
รับจ้างทั่วไป 176 16.0
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 107 9.7
อื่นๆ อาทิ นิสิตนักศึกษา อาชีพอิสระ ว่างงาน 77 7.0
พื้นที่อยู่อาศัย
-อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย (ได้แก่ เขตบางนา ทุ่งครุ 231 20.9
จอมทอง บางขุนเทียน ราษฎร์บูรณะ และ
จังหวัดสมุทรปราการ)
-อยู่นอกเขตพื้นที่เสี่ยงภัย 872 79.1
รวม 1,103 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
คลุมถึงเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ ในช่วงเดือน สิงหาคม-กันยายน ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์)
จึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “การรับรู้และรับมือกับสตอร์ม เซิร์จ ของคนกรุงเทพฯ และสมุทรปราการ” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชน
อายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการ จำนวน 1,103 คน เมื่อวันที่ 23-24 สิงหาคมที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความสนใจที่มีต่อข่าวการเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ"
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ให้ความสนใจ ร้อยละ 71.8 ร้อยละ 79.2
ไม่ให้ความสนใจ ร้อยละ 21.6 ร้อยละ 20.8
ไม่ทราบข่าว ร้อยละ 6.6 ไม่มีผู้ที่ไม่ทราบข่าว
2. ความคิดเห็นต่อโอกาสที่จะเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" ขึ้นที่กรุงเทพฯ และสมุทรปราการ ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
เชื่อว่าจะเกิดขึ้นจริง ร้อยละ 62.0 ร้อยละ 67.1
ไม่เชื่อว่าจะเกิดขึ้น ร้อยละ 38.0 ร้อยละ 32.9
3. ความวิตกกังวลกับข่าวการเกิดปรากฎการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ"
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ไม่วิตกกังวล ร้อยละ 58.4 ร้อยละ 52.0
วิตกกังวล ร้อยละ 41.6 ร้อยละ 48.0
4. การเตรียมตัวเพื่อรับมือกับปรากฏการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ"
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ยังไม่ได้เตรียมตัว ร้อยละ 65.1 ร้อยละ 58.4
(เนื่องจาก ไม่รู้ว่าจะต้องเตรียมตัวอย่างไร และไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่)
เตรียมตัวแล้ว ร้อยละ 34.9 ร้อยละ 41.6
(โดยการติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิดวางแผนหาที่อยู่ยามฉุกเฉิน และซื้อของใช้ที่จำเป็นเก็บไว้)
5. สำหรับความต้องการรับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับปรากฏการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" พบว่า ประชาชน
ต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องต่อไปนี้
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
แนวทางการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับ "สตอร์ม เซิร์จ" ร้อยละ 89.3 ร้อยละ 90.0
การเตรียมความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 88.5 ร้อยละ 87.9
โอกาสในการเกิด "สตอร์ม เซิร์จ" ร้อยละ 85.7 ร้อยละ 86.1
ผลกระทบที่จะได้รับจาก "สตอร์ม เซิร์จ" ร้อยละ 84.7 ร้อยละ 85.7
6. ความพึงพอใจต่อการทำงานในเรื่องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ” ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีดังนี้
-ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
ร้อยละ 83.8 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 16.2 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ยังขาดข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจน)
-กรมอุตุนิยมวิทยา
ร้อยละ 81.4 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 18.6 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ทำงานล่าช้า และคำคาดการณ์ที่ผ่านมาไม่ค่อยถูกต้องแม่นยำ)
-กรุงเทพมหานคร
ร้อยละ 75.9 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 24.1 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ทำงานแบบฉาบฉวย ไม่ต่อเนื่อง)
-รัฐบาล
ร้อยละ 58.3 พอใจการทำงาน
ร้อยละ 41.7 ไม่พอใจการทำงาน (โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ไม่ได้ให้ความสำคัญและไม่ใส่ใจกับการเกิด ปรากฏการณ์ “สตอร์ม
เซิร์จ” เท่าที่ควร)
7. สำหรับความมั่นใจต่อความสามารถในการรับมือกับปรากฏการณ์ "สตอร์ม เซิร์จ" ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบว่า
ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
ไม่มั่นใจว่าจะสามารถรับมือได้ ร้อยละ 59.9 ร้อยละ 61.5
มั่นใจว่าสามารถรับมือได้ ร้อยละ 40.1 ร้อยละ 38.5
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการในประเด็นต่อไปนี้
1. ความสนใจต่อข่าวการเกิดปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
2. ความเห็นต่อการเกิด “สตอร์ม เซิร์จ” ขึ้นที่กรุงเทพฯ และสมุทรปราการ
3. ความกังวลต่อข่าวการเกิดปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
4. การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
5. ความต้องการรับรู้ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
6. ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7. ความมั่นใจที่มีต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรับมือกับปรากฏการณ์ “สตอร์ม เซิร์จ”
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 31 เขต จาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ คลองเตย คลองสาน จตุจักร จอมทอง ดินแดง ทุ่งครุ ธนุรี บางกะปิ
บางขุนเทียน บางเขต บางนา บางบอน บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราช
เทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สาทร หลักสี่ และจังหวัดสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ
18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,103 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 48.5 และเพศหญิง ร้อยละ 51.5 โดยเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย ร้อย
ละ 20.9 และอยู่นอกเขตพื้นที่เสี่ยงภัย ร้อยละ 79.1
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน..4% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal) และคำถามปลายเปิด (Open Form) จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุด
มาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 23 - 24 สิงหาคม 2551
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ : 26 สิงหาคม 2551
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 535 48.5
หญิง 568 51.5
อายุ
18-25 ปี 328 29.7
26-35 ปี 336 30.5
36-45 ปี 266 24.1
46 ปีขึ้นไป 173 15.7
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 425 38.5
ปริญญาตรี 614 55.7
สูงกว่าปริญญาตรี 64 5.8
อาชีพ
ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ 125 11.3
พนักงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน 387 35.1
ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว 231 20.9
รับจ้างทั่วไป 176 16.0
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 107 9.7
อื่นๆ อาทิ นิสิตนักศึกษา อาชีพอิสระ ว่างงาน 77 7.0
พื้นที่อยู่อาศัย
-อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย (ได้แก่ เขตบางนา ทุ่งครุ 231 20.9
จอมทอง บางขุนเทียน ราษฎร์บูรณะ และ
จังหวัดสมุทรปราการ)
-อยู่นอกเขตพื้นที่เสี่ยงภัย 872 79.1
รวม 1,103 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-