จากปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองของไทยที่ดำเนินมาระยะหนึ่ง และจนถึงขณะนี้ยังไม่มีข้อสรุปในการยุติปัญหาที่ชัดเจนเป็นที่ยอมรับร่วม
กัน ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) จึงได้จัดทำโครงการสำรวจเรื่อง “ความคิดเห็นของคนกรุงเทพฯ ต่อสถานการณ์การเมืองใน
ปัจจุบัน” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,042 คน เมื่อวันที่ 4 กันยายนที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นต่อการที่รัฐบาลประกาศใช้พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 2 กันยายน ที่ผ่านมา พบว่า
- เห็นด้วย ร้อยละ 49.8
- ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 50.2
2. ความคิดเห็นต่อการแสดงจุดยืนของ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ. ในฐานะหัวหน้าคณะทำงานแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในการปฎิบัติตาม
พรก.ฉุกเฉินเฉพาะที่จำเป็น โดยเน้นการเจรจา และป้องกันมิให้ประชาชนปะทะกัน
- เห็นด้วย ร้อยละ 83.8
- ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 16.2
3. ความคิดเห็นต่อการที่ สส. พรรคพลังประชาชนออกแถลงการณ์ให้ ผบ.ทบ. ปฎิบัติตาม พรก.ฉุกเฉินอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะการห้ามชุมนุม
เกิน 5 คน และให้มีการเซ็นเซอร์สื่อ
- เห็นด้วย ร้อยละ 41.7
- ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 58.3
4. การตัดสินใจแก้ปัญหาทางการเมืองของนายกรัฐมนตรี ที่ประชาชนต้องการ
- ลาออก ร้อยละ 35.6
- บริหารประเทศต่อไป ร้อยละ 31.4
- ยุบสภา ร้อยละ 26.8
- อื่นๆ เช่น ให้ ครม.ลาออก ให้สู้ถึงที่สุด และให้เลิกเล่นการเมือง ร้อยละ 6.2
5. ความคิดเห็นต่อการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทยเกี่ยวกับสถานการณ์การเมืองที่เกิดขึ้น ได้แก่
5.1 สื่อโทรทัศน์
- เห็นว่านำเสนอข่าวได้เหมาะสมเป็นกลางดีแล้ว ร้อยละ 63.3
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างรัฐบาลมากเกินไป ร้อยละ 22.4
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรฯ มากเกินไป ร้อยละ 14.3
5.2 หนังสือพิมพ์
- เห็นว่านำเสนอข่าวได้เหมาะสมเป็นกลางดีแล้ว ร้อยละ 64.5
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างรัฐบาลมากเกินไป ร้อยละ 15.0
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรฯ มากเกินไป ร้อยละ 20.5
5.3 วิทยุ
- เห็นว่านำเสนอข่าวได้เหมาะสมเป็นกลางดีแล้ว ร้อยละ 64.5
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างรัฐบาลมากเกินไป ร้อยละ 19.4
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรฯ มากเกินไป ร้อยละ 16.1
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. การประกาศใช้พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน
2. การแสดงจุดยืนของ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ. ในฐานะหัวหน้าคณะทำงานแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในการปฎิบัติตาม พรก.ฉุก
เฉินเฉพาะที่จำเป็น โดยเน้นการเจรจา และป้องกันมิให้ประชาชนปะทะกัน
3. การที่ สส. พรรคพลังประชาชนออกแถลงการณ์ให้ ผบ.ทบ. ปฎิบัติตาม พรก.ฉุกเฉินอย่างเคร่งครัด
4. แนวทางการตัดสินใจแก้ปัญหาของนายกรัฐมนตรีที่ต้องการ
5. การนำเสนอข่าวของสื่อมวลชน
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 25 เขต จาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ คลองเตย คลองสาน คลองสามวา ดอนเมือง ดินแดง บางกะปิ
บางเขน บางนา บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบ พญาไท พระโขนง มีนบุรี ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง สวนหลวง สัมพันธวงศ์
สาทร สายไหม หลักสี่ และห้วยขวาง จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,042 คน เป็นเพศชาย ร้อย
ละ 52.5 และเพศหญิง ร้อยละ 47.5
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน ? 4% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal) และคำถามปลายเปิด (Open Form) จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุด
มาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 4 กันยายน 2551
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ : 5 กันยายน 2551
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 547 52.5
หญิง 495 47.5
อายุ
18-25 ปี 255 24.5
26-35 ปี 362 34.7
36-45 ปี 249 23.9
46 ปีขึ้นไป 176 16.9
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 455 43.7
ปริญญาตรี 519 49.8
สูงกว่าปริญญาตรี 68 6.5
อาชีพ
ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ 114 10.9
พนักงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน 392 37.6
ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว 267 25.6
รับจ้างทั่วไป 132 12.7
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 35 3.4
อื่นๆ อาทิ นิสิตนักศึกษา อาชีพอิสระ ว่างงาน 102 9.8
รวม 1,042 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
กัน ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) จึงได้จัดทำโครงการสำรวจเรื่อง “ความคิดเห็นของคนกรุงเทพฯ ต่อสถานการณ์การเมืองใน
ปัจจุบัน” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,042 คน เมื่อวันที่ 4 กันยายนที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นต่อการที่รัฐบาลประกาศใช้พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 2 กันยายน ที่ผ่านมา พบว่า
- เห็นด้วย ร้อยละ 49.8
- ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 50.2
2. ความคิดเห็นต่อการแสดงจุดยืนของ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ. ในฐานะหัวหน้าคณะทำงานแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในการปฎิบัติตาม
พรก.ฉุกเฉินเฉพาะที่จำเป็น โดยเน้นการเจรจา และป้องกันมิให้ประชาชนปะทะกัน
- เห็นด้วย ร้อยละ 83.8
- ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 16.2
3. ความคิดเห็นต่อการที่ สส. พรรคพลังประชาชนออกแถลงการณ์ให้ ผบ.ทบ. ปฎิบัติตาม พรก.ฉุกเฉินอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะการห้ามชุมนุม
เกิน 5 คน และให้มีการเซ็นเซอร์สื่อ
- เห็นด้วย ร้อยละ 41.7
- ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 58.3
4. การตัดสินใจแก้ปัญหาทางการเมืองของนายกรัฐมนตรี ที่ประชาชนต้องการ
- ลาออก ร้อยละ 35.6
- บริหารประเทศต่อไป ร้อยละ 31.4
- ยุบสภา ร้อยละ 26.8
- อื่นๆ เช่น ให้ ครม.ลาออก ให้สู้ถึงที่สุด และให้เลิกเล่นการเมือง ร้อยละ 6.2
5. ความคิดเห็นต่อการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทยเกี่ยวกับสถานการณ์การเมืองที่เกิดขึ้น ได้แก่
5.1 สื่อโทรทัศน์
- เห็นว่านำเสนอข่าวได้เหมาะสมเป็นกลางดีแล้ว ร้อยละ 63.3
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างรัฐบาลมากเกินไป ร้อยละ 22.4
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรฯ มากเกินไป ร้อยละ 14.3
5.2 หนังสือพิมพ์
- เห็นว่านำเสนอข่าวได้เหมาะสมเป็นกลางดีแล้ว ร้อยละ 64.5
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างรัฐบาลมากเกินไป ร้อยละ 15.0
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรฯ มากเกินไป ร้อยละ 20.5
5.3 วิทยุ
- เห็นว่านำเสนอข่าวได้เหมาะสมเป็นกลางดีแล้ว ร้อยละ 64.5
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างรัฐบาลมากเกินไป ร้อยละ 19.4
- เห็นว่านำเสนอข่าวเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรฯ มากเกินไป ร้อยละ 16.1
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. การประกาศใช้พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน
2. การแสดงจุดยืนของ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ. ในฐานะหัวหน้าคณะทำงานแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในการปฎิบัติตาม พรก.ฉุก
เฉินเฉพาะที่จำเป็น โดยเน้นการเจรจา และป้องกันมิให้ประชาชนปะทะกัน
3. การที่ สส. พรรคพลังประชาชนออกแถลงการณ์ให้ ผบ.ทบ. ปฎิบัติตาม พรก.ฉุกเฉินอย่างเคร่งครัด
4. แนวทางการตัดสินใจแก้ปัญหาของนายกรัฐมนตรีที่ต้องการ
5. การนำเสนอข่าวของสื่อมวลชน
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 25 เขต จาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ คลองเตย คลองสาน คลองสามวา ดอนเมือง ดินแดง บางกะปิ
บางเขน บางนา บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบ พญาไท พระโขนง มีนบุรี ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง สวนหลวง สัมพันธวงศ์
สาทร สายไหม หลักสี่ และห้วยขวาง จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,042 คน เป็นเพศชาย ร้อย
ละ 52.5 และเพศหญิง ร้อยละ 47.5
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน ? 4% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal) และคำถามปลายเปิด (Open Form) จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุด
มาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 4 กันยายน 2551
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ : 5 กันยายน 2551
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 547 52.5
หญิง 495 47.5
อายุ
18-25 ปี 255 24.5
26-35 ปี 362 34.7
36-45 ปี 249 23.9
46 ปีขึ้นไป 176 16.9
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 455 43.7
ปริญญาตรี 519 49.8
สูงกว่าปริญญาตรี 68 6.5
อาชีพ
ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ 114 10.9
พนักงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน 392 37.6
ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว 267 25.6
รับจ้างทั่วไป 132 12.7
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 35 3.4
อื่นๆ อาทิ นิสิตนักศึกษา อาชีพอิสระ ว่างงาน 102 9.8
รวม 1,042 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-