ด้วยวันที่ 5 กันยายนที่ผ่านมา เป็นวันสุดท้ายของการรับสมัครผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัย
กรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) จึงได้จัดทำโครงการสำรวจเรื่อง “คนกรุงเทพฯ กับแนวทางการเลือกผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ ” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชน
อายุ 18 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,285 คน โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 5 กันยายน (หลัง 15.00 น.) - 6 กันยายน
ที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นในเรื่องบทบาทความสำคัญของ ผู้ว่าฯ กทม. ที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
คนกรุงเทพฯ พบว่า
- เห็นว่ามีบทบาทสำคัญมาก ร้อยละ 50.4
- เห็นว่าสำคัญค่อนข้างมาก ร้อยละ 44.0
- เห็นว่าสำคัญค่อนข้างน้อย ร้อยละ 4.4
- เห็นว่าไม่สำคัญเลย ร้อยละ 1.2
2. ปัญหาที่คาดหวังว่าจะได้รับการแก้ไขจากผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ มากที่สุด
- ปัญหาการจราจร ร้อยละ 40.0
- ปัญหาขยะ มลพิษ และสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 18.8
- ปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 17.2
- ปัญหายาเสพติด การพนัน ร้อยละ 7.7
- ปัญหาแหล่งเสื่อมโทรม ชุมชนแออัด ร้อยละ 7.2
- ปัญหาน้ำท่วม ร้อยละ 6.7
- ปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาหาบเร่แผงลอย ปัญหาคนจรจัด
ทุกปัญหาที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตของคน กทม. ร้อยละ 2.4
3. ความตั้งใจในการออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ในวันที่ 5 ตุลาคมที่จะถึงนี้ พบว่า
- จะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 87.5
- จะไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 3.1
- ไม่แน่ใจ ร้อยละ 9.4
4. เกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่
- เลือกผู้ที่มีแนวทางการแก้ปัญหาชัดเจน เป็นไปได้ ร้อยละ 21.9
- เลือกผู้ที่มองเห็นปัญหาของ กทม. ร้อยละ 21.5
- เลือกผู้ที่ไม่มีประวัติด่างพร้อยเรื่องทุจริต ร้อยละ 15.2
- เลือกผู้ที่มีประสบการณ์งาน กทม. ร้อยละ 12.7
- เลือกผู้ที่สามารถสานงานเดิมต่อได้ ร้อยละ 12.6
- เลือกผู้ที่เคยประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน ร้อยละ 9.7
- เลือกผู้ที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนมากที่สุด ร้อยละ 2.4
- เลือกผู้ที่มีพรรคการเมืองหนุนหลัง ร้อยละ 1.2
- เลือกผู้ที่มีชื่อเสียง ร้อยละ 1.0
- เลือกผู้ที่คาดว่าจะมีคะแนนนำ ร้อยละ 0.7
- อื่นๆ เช่น เลือกผู้ที่เข้าถึงประชาชน
และเลือกผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ ร้อยละ 1.1
5. เมื่อถามว่ามีผู้สมัครที่จะเลือกให้เป็น ผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่อยู่ในใจแล้วหรือยัง พบว่า
- มีอยู่ในใจแล้ว ...............................................ร้อยละ 64.9
โดยกลุ่มตัวอย่างระบุชื่อผู้สมัครที่คิดจะเลือก ดังนี้
- นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ........................................ร้อยละ 39.6
- นายชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์...........................................ร้อยละ 11.3
- ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์....................................ร้อยละ 7.2
- นายประภัสร์ จงสงวน ..........................................ร้อยละ 3.5
- อื่นๆ ....................................................ร้อยละ 3.3
- ยังไม่มีอยู่ในใจ................................................ร้อยละ 35.1
6. เมื่อถามผู้ที่ระบุว่า มีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วถึงโอกาสในการเปลี่ยนใจจากผู้สมัครที่ได้เลือกไว้ข้างต้น พบว่า ในจำนวนนี้
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจแล้ว ร้อยละ 39.5
- มีโอกาสเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่น ร้อยละ 25.4
โดยแยกตามผู้สมัครได้ดังนี้
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน มีอยู่ร้อยละ 39.6
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 27.0
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 12.6
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกนายชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ มีอยู่ร้อยละ 11.3
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 5.4
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 5.9
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ มีอยู่ร้อยละ 7.2
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 3.0
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 4.2
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกนายประภัสร์ จงสงวน มีอยู่ร้อยละ 3.5
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 2.5
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 1.0
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกผู้สมัครคนอื่นๆ มีอยู่ร้อยละ 3.3
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 1.5
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 1.8
7. สำหรับองค์ประกอบในการหาเสียงที่มีผลต่อการตัดสินใจว่าจะเลือกผู้สมัครคนใด พบว่า
เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ จะมีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด ขณะที่จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัครจะมีผลต่อการตัดสินใจน้อยที่สุด ดังนี้
- เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ ร้อยละ 66.8
- ความน่าเชื่อถือของทีมผู้สนับสนุน ร้อยละ 34.2
- ความบ่อยครั้งที่ได้รับรู้เรื่องราวของผู้สมัครผ่านสื่อต่างๆ ร้อยละ 26.8
- การลงพื้นที่พบปะประชาชน ร้อยละ 25.8
- ลีลาการปราศรัยหาเสียง ร้อยละ 11.3
- จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัคร ร้อยละ 5.4
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. บทบาทความสำคัญของผู้ว่าฯ กทม. ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนกรุงเทพฯ
2. ปัญหาที่คาดหวังว่าจะได้รับการแก้ไขจากผู้ว่าฯ กทม. มากที่สุด
3. ความตั้งใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ในวันที่ 5 ตุลาคม 2551
4. เกณฑ์ที่ใช้ในการเลือกผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่
5. การมีบุคคลในใจที่คิดว่าจะเลือกให้เป็นผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ และโอกาสในการเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่นๆ
6. องค์ประกอบในการหาเสียงของผู้สมัครที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม.
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนชาวกรุงเทพมหานครอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทั้ง 50 เขต ด้วยวิธีการสุ่ม
ตัวอย่างอย่างเป็นระบบ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,285 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 49.6 และเพศหญิง ร้อยละ 50.4
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน ? 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็น
แบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal)
จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุดมาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : วันที่ 5 กันยายน (หลัง 15.00 น.) - 6 กันยายน 2551
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ : วันที่ 7 กันยายน 2551
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 638 49.6
หญิง 647 50.4
อายุ
18-25 ปี 295 23.0
26-35 ปี 378 29.4
36-45 ปี 319 24.8
46 ปีขึ้นไป 293 22.8
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 478 37.2
ปริญญาตรี 703 54.7
สูงกว่าปริญญาตรี 104 8.1
อาชีพ
ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ 166 12.9
พนักงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน 409 31.8
ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว 348 27.1
รับจ้างทั่วไป 132 10.3
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 98 7.6
อื่นๆ อาทิ นิสิตนักศึกษา อาชีพอิสระ ว่างงาน 132 10.3
รวม 1,285 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
กรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) จึงได้จัดทำโครงการสำรวจเรื่อง “คนกรุงเทพฯ กับแนวทางการเลือกผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ ” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชน
อายุ 18 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,285 คน โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 5 กันยายน (หลัง 15.00 น.) - 6 กันยายน
ที่ผ่านมา สรุปผลได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นในเรื่องบทบาทความสำคัญของ ผู้ว่าฯ กทม. ที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
คนกรุงเทพฯ พบว่า
- เห็นว่ามีบทบาทสำคัญมาก ร้อยละ 50.4
- เห็นว่าสำคัญค่อนข้างมาก ร้อยละ 44.0
- เห็นว่าสำคัญค่อนข้างน้อย ร้อยละ 4.4
- เห็นว่าไม่สำคัญเลย ร้อยละ 1.2
2. ปัญหาที่คาดหวังว่าจะได้รับการแก้ไขจากผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ มากที่สุด
- ปัญหาการจราจร ร้อยละ 40.0
- ปัญหาขยะ มลพิษ และสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 18.8
- ปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 17.2
- ปัญหายาเสพติด การพนัน ร้อยละ 7.7
- ปัญหาแหล่งเสื่อมโทรม ชุมชนแออัด ร้อยละ 7.2
- ปัญหาน้ำท่วม ร้อยละ 6.7
- ปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาหาบเร่แผงลอย ปัญหาคนจรจัด
ทุกปัญหาที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตของคน กทม. ร้อยละ 2.4
3. ความตั้งใจในการออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ในวันที่ 5 ตุลาคมที่จะถึงนี้ พบว่า
- จะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 87.5
- จะไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 3.1
- ไม่แน่ใจ ร้อยละ 9.4
4. เกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่
- เลือกผู้ที่มีแนวทางการแก้ปัญหาชัดเจน เป็นไปได้ ร้อยละ 21.9
- เลือกผู้ที่มองเห็นปัญหาของ กทม. ร้อยละ 21.5
- เลือกผู้ที่ไม่มีประวัติด่างพร้อยเรื่องทุจริต ร้อยละ 15.2
- เลือกผู้ที่มีประสบการณ์งาน กทม. ร้อยละ 12.7
- เลือกผู้ที่สามารถสานงานเดิมต่อได้ ร้อยละ 12.6
- เลือกผู้ที่เคยประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน ร้อยละ 9.7
- เลือกผู้ที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนมากที่สุด ร้อยละ 2.4
- เลือกผู้ที่มีพรรคการเมืองหนุนหลัง ร้อยละ 1.2
- เลือกผู้ที่มีชื่อเสียง ร้อยละ 1.0
- เลือกผู้ที่คาดว่าจะมีคะแนนนำ ร้อยละ 0.7
- อื่นๆ เช่น เลือกผู้ที่เข้าถึงประชาชน
และเลือกผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ ร้อยละ 1.1
5. เมื่อถามว่ามีผู้สมัครที่จะเลือกให้เป็น ผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่อยู่ในใจแล้วหรือยัง พบว่า
- มีอยู่ในใจแล้ว ...............................................ร้อยละ 64.9
โดยกลุ่มตัวอย่างระบุชื่อผู้สมัครที่คิดจะเลือก ดังนี้
- นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ........................................ร้อยละ 39.6
- นายชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์...........................................ร้อยละ 11.3
- ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์....................................ร้อยละ 7.2
- นายประภัสร์ จงสงวน ..........................................ร้อยละ 3.5
- อื่นๆ ....................................................ร้อยละ 3.3
- ยังไม่มีอยู่ในใจ................................................ร้อยละ 35.1
6. เมื่อถามผู้ที่ระบุว่า มีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วถึงโอกาสในการเปลี่ยนใจจากผู้สมัครที่ได้เลือกไว้ข้างต้น พบว่า ในจำนวนนี้
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจแล้ว ร้อยละ 39.5
- มีโอกาสเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่น ร้อยละ 25.4
โดยแยกตามผู้สมัครได้ดังนี้
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน มีอยู่ร้อยละ 39.6
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 27.0
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 12.6
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกนายชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ มีอยู่ร้อยละ 11.3
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 5.4
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 5.9
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ มีอยู่ร้อยละ 7.2
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 3.0
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 4.2
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกนายประภัสร์ จงสงวน มีอยู่ร้อยละ 3.5
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 2.5
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 1.0
- ผู้ที่ระบุว่าจะเลือกผู้สมัครคนอื่นๆ มีอยู่ร้อยละ 3.3
- ยืนยันว่าจะไม่เปลี่ยนใจ ร้อยละ 1.5
- มีโอกาสเปลี่ยนใจ ร้อยละ 1.8
7. สำหรับองค์ประกอบในการหาเสียงที่มีผลต่อการตัดสินใจว่าจะเลือกผู้สมัครคนใด พบว่า
เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ จะมีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด ขณะที่จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัครจะมีผลต่อการตัดสินใจน้อยที่สุด ดังนี้
- เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ ร้อยละ 66.8
- ความน่าเชื่อถือของทีมผู้สนับสนุน ร้อยละ 34.2
- ความบ่อยครั้งที่ได้รับรู้เรื่องราวของผู้สมัครผ่านสื่อต่างๆ ร้อยละ 26.8
- การลงพื้นที่พบปะประชาชน ร้อยละ 25.8
- ลีลาการปราศรัยหาเสียง ร้อยละ 11.3
- จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัคร ร้อยละ 5.4
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. บทบาทความสำคัญของผู้ว่าฯ กทม. ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนกรุงเทพฯ
2. ปัญหาที่คาดหวังว่าจะได้รับการแก้ไขจากผู้ว่าฯ กทม. มากที่สุด
3. ความตั้งใจในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ในวันที่ 5 ตุลาคม 2551
4. เกณฑ์ที่ใช้ในการเลือกผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่
5. การมีบุคคลในใจที่คิดว่าจะเลือกให้เป็นผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ และโอกาสในการเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่นๆ
6. องค์ประกอบในการหาเสียงของผู้สมัครที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม.
ระเบียบวิธีในการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนชาวกรุงเทพมหานครอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทั้ง 50 เขต ด้วยวิธีการสุ่ม
ตัวอย่างอย่างเป็นระบบ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,285 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 49.6 และเพศหญิง ร้อยละ 50.4
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน ? 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็น
แบบสอบถามที่มีโครงสร้างแน่นอน ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal)
จากนั้นคณะนักวิจัยได้นำแบบสอบถามทุกชุดมาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : วันที่ 5 กันยายน (หลัง 15.00 น.) - 6 กันยายน 2551
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ : วันที่ 7 กันยายน 2551
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 638 49.6
หญิง 647 50.4
อายุ
18-25 ปี 295 23.0
26-35 ปี 378 29.4
36-45 ปี 319 24.8
46 ปีขึ้นไป 293 22.8
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 478 37.2
ปริญญาตรี 703 54.7
สูงกว่าปริญญาตรี 104 8.1
อาชีพ
ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ 166 12.9
พนักงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน 409 31.8
ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว 348 27.1
รับจ้างทั่วไป 132 10.3
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 98 7.6
อื่นๆ อาทิ นิสิตนักศึกษา อาชีพอิสระ ว่างงาน 132 10.3
รวม 1,285 100.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-