แท็ก
กรุงเทพโพลล์
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อทราบความคิดเห็นของประชาชนกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. ข่าว/เหตุการณ์ในรอบปี 2548 ที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด
2. ข่าว/เหตุการณ์ในรอบปี 2548 ที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด
3. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548
4. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548
5. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548
6. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548
7. พรปีใหม่ที่คนกรุงเทพฯ อยากได้มากที่สุด
8. บุคคลที่คนกรุงเทพฯ อยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุด
9. สิ่งที่คนกรุงเทพฯ อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลมากที่สุด
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุตั้งแต่ 22 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multi-Stage Sampling) โดยสุ่มเขตการปกครอง จำนวน 35 เขต จากทั้งหมด 50 เขต จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์
ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,414 คน เป็นชายร้อยละ 43.3 และหญิงร้อยละ 56.7
กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 22-35 ปีร้อยละ 52.4 อายุ 36-45 ปีร้อยละ 28.8 และอายุ 46 ปีขึ้นไปร้อยละ 18.8
กลุ่มตัวอย่างมีการศึกษาในระดับประถมศึกษาร้อยละ 10.0 มัธยมศึกษา/ปวช.ร้อยละ 22.3 อนุปริญญา/ปวส.ร้อยละ 15.9
ปริญญาตรีร้อยละ 44.6 และสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 7.2
กลุ่มตัวอย่างประกอบอาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 17.2 พนักงานลูกจ้างบริษัทเอกชนร้อยละ 40.0 ค้าขายและ
ธุรกิจส่วนตัวร้อยละ 19.8 รับจ้างทั่วไปร้อยละ 9.3 พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุร้อยละ 6.7 และอื่นๆ ร้อยละ 7.0
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามปลายเปิดสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 9-15 ธันวาคม 2548
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 20 ธันวาคม 2548
โดย ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776 http://research.bu.ac.th/poll/poll_list.php
สรุปผลการสำรวจ
1. ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
1.1 ข่าวการประสูติพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (ร้อยละ 25.3)
1.2 ข่าวการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี (ร้อยละ 17.4)
1.3 ข่าวพระราชพิธีเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร้อยละ 14.2)
2. ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
2.1 ข่าวทหารนาวิกโยธิน 2 นายเสียชีวิตในเหตุการณ์ความไม่สงบที่บ้านตันหยงลิมอ (ร้อยละ 65.1)
2.2 ข่าวบิดาน้องปุ้ย ญานิศา ต่อรัตนวัฒนา นักกีฬาเหรียญทองคาราเต้-โด ถูกลูกชายซึ่งติดยาแทงเสียชีวิต (ร้อยละ 9.8)
2.3 ข่าวเหตุการณ์น้ำท่วมในจังหวัดเชียงใหม่และพื้นที่ภาคใต้ (ร้อยละ 6.3)
3. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
3.1 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 31.1)
3.2 นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์และผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ (ร้อยละ 15.7)
3.3 นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 5.9)
4. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
4.1 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 49.5)
4.2 แหม่ม คัทลียา แมคอินทอช นักแสดง (ร้อยละ 11.7)
4.3 นายวัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ (ร้อยละ 8.6)
5. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
5.1 ศาลปกครอง (ร้อยละ 12.5)
5.2 กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด (ร้อยละ 11.8)
5.3 มูลนิธิปวีณา หงสกุล (ร้อยละ 8.4)
6. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
6.1 กระทรวงศึกษาธิการ (ร้อยละ 19.0)
6.2 บริษัท ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) (ร้อยละ 17.6)
6.3 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) (ร้อยละ 8.9)
7. พรปีใหม่ที่คนกรุงเทพฯ อยากได้มากที่สุด ได้แก่
7.1 ขอให้ร่ำรวยเงินทอง (ร้อยละ 34.2)
7.2 ขอให้สุขภาพแข็งแรง (ร้อยละ 27.6)
7.3 ขอให้ 3 จังหวัดภาคใต้มีความสงบสุข (ร้อยละ 22.5)
8. บุคคลที่คนกรุงเทพฯอยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุดนอกเหนือจากคนในครอบครัว ได้แก่
8.1 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ (ร้อยละ 48.4)
8.2 เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ร้อยละ 17.0)
8.3 ผู้ด้อยโอกาสในสังคม (ร้อยละ 8.0)
9. สิ่งที่คนกรุงเทพฯ อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลมากที่สุด ได้แก่
9.1 แก้ปัญหาค่าครองชีพให้ต่ำลง (ร้อยละ 37.6)
9.2 บริหารประเทศด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ทุจริตคอร์รัปชัน (ร้อยละ 21.9)
9.3 พูดความจริงกับประชาชน อย่าปกปิดข้อมูล (ร้อยละ 7.7)
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 612 43.3
หญิง 802 56.7
อายุ :
22 — 35 ปี 741 52.4
36 — 45 ปี 407 28.8
46 ปีขึ้นไป 266 18.8
การศึกษา
ประถมศึกษา 142 10.0
มัธยมศึกษา/ปวช. 315 22.3
อนุปริญญา/ปวส. 225 15.9
ปริญญาตรี 631 44.6
สูงกว่าปริญญาตรี 101 7.2
อาชีพ
ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 242 17.2
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 566 40.0
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 280 19.8
รับจ้างทั่วไป 132 9.3
พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ 95 6.7
อื่นๆ 99 7.0
ตารางที่ 2 : ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1.ข่าวการประสูติพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ 357 25.3
2.ข่าวการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 246 17.4
3.ข่าวพระราชพิธีเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 201 14.2
4.ข่าวนักกีฬาไทยได้รับชัยชนะในการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 23 ที่ประเทศฟิลิปปินส์ 149 10.6
5.ข่าวการเปิดทดลองใช้สนามบินสุวรรณภูมิ 82 5.8
6.ข่าวการขยายส่วนต่อรถไฟฟ้าบีทีเอสจากสาทรไปฝั่งธนบุรี 59 4.2
7.ข่าวนายกรัฐมนตรีถอนฟ้องนายสนธิ ลิ้มทองกุล 53 3.7
8.ข่าวการเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม 30 2.1
9.ข่าวการขึ้นเงินเดือน 24 1.7
10.ข่าวการปราบปรามยาเสพติด 16 1.1
อื่นๆ 79 5.6
ไม่มีข่าวใดที่สร้างความปลื้มปิติยินดีมากที่สุด 57 4.0
ไม่แสดงความเห็น 61 4.3
ตารางที่ 3 : ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1.ข่าวทหารนาวิกโยธิน 2 นายเสียชีวิตในเหตุการณ์ความไม่สงบที่บ้านตันหยงลิมอ 920 65.1
2.ข่าวบิดาของน้องปุ้ย ญานิศา ต่อรัตนวัฒนา นักกีฬาเหรียญทองคาราเต้-โด ถูกลูกชายซึ่งติดยาแทงเสียชีวิต 138 9.8
3.ข่าวเหตุการณ์น้ำท่วมในจังหวัดเชียงใหม่และพื้นที่ภาคใต้ 89 6.3
4.ข่าวน้ำมันขึ้นราคา 39 2.7
5.ข่าวการระบาดของไข้หวัดนก 37 2.6
6.ข่าวครูชุมนุมประท้วงเพื่อต่อต้านการโอนย้ายไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 31 2.2
7.ข่าวทุจริตการจัดซื้อเครื่องซีทีเอ็กซ์ 30 2.1
8.ข่าวรถเมล์ชนคนตาย 27 1.9
9.ข่าวนางสาวจิตรลดาแทงเด็กนักเรียน 23 1.6
10.ข่าวความขัดแย้งระหว่างนายกรัฐมนตรีกับสนธิ ลิ้มทองกุล 10 0.7
อื่นๆ 28 2.0
ไม่มีเหตุการณ์ใดที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด 25 1.8
ไม่แสดงความเห็น 17 1.2
ตารางที่ 4 : บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร 440 31.1
2. นายสนธิ ลิ้มทองกุล 222 15.7
3. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 84 5.9
4. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ 81 5.7
5. นางปวีณา หงสกุล 71 5.0
6. นายอานันท์ ปันยารชุน 69 4.9
7. พ.ญ. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ 56 4.0
8. คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา 37 2.7
9. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 27 1.9
10. นายชวน หลีกภัย 17 1.2
อื่นๆ อาทิ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้ 219 15.5
ไม่มีบุคคลใดมีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด 40 2.8
ไม่แสดงความเห็น 51 3.6
ตารางที่ 5: บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 700 49.5
2. แหม่ม คัทลียา แมคอินทอช 165 11.7
3. นายวัฒนา เมืองสุข 121 8.5
4. นายสนธิ ลิ้มทองกุล 95 6.7
5. นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 26 1.8
6. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 18 1.3
7. นายสุชน ชาลีเครือ 15 1.1
8. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 11 0.8
9. นายวิษณุ เครืองาม 10 0.7
10. นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ 8 0.6
อื่นๆ 127 9.0
ไม่มีบุคคลใดมีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุด 45 3.2
ไม่แสดงความเห็น 73 5.1
ตารางที่ 6 : หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. ศาลปกครอง 177 12.5
2. กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด 167 11.8
3. มูลนิธิปวีณาหงสกุล 119 8.4
4. กรุงเทพมหานครและหน่วยงานในสังกัด 112 7.9
5. สำนักงานประกันสังคม 99 7.0
6. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 75 5.3
7. มูลนิธิชัยพัฒนา 66 4.7
8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 59 4.2
9. บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) 40 2.8
10. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 35 2.5
อื่นๆ 229 16.2
ไม่มีหน่วยงาน/องค์กรใดมีพฤติกรรมที่น่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด 95 6.7
ไม่แสดงความเห็น 141 10.0
ตารางที่ 7: หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. กระทรวงศึกษาธิการ 269 19.0
2. บริษัท ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) 249 17.6
3. องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ 126 8.9
4. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 107 7.6
5. กระทรวงคมนาคม 62 4.4
6. วุฒิสภา 49 3.5
7. กระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ 45 3.2
8. กรุงเทพมหานคร 40 2.8
9. กระทรวงสาธารณสุข 27 1.9
10. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 24 1.7
อื่นๆ 279 19.7
ไม่มีหน่วยงาน/องค์กรใดที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุด 42 3.0
ไม่แสดงความเห็น 95 6.7
ตารางที่ 8: พรปีใหม่ที่คนกรุงเทพฯ อยากได้มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
1. ขอให้ร่ำรวยเงินทอง 484 34.2
2. ขอให้มีสุขภาพแข็งแรง 390 27.6
3. ขอให้ 3 จังหวัดภาคใต้มีความสงบสุข 318 22.5
4. ขอให้ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน 120 8.5
อื่นๆ อาทิ ขอให้น้ำมันมีราคาถูกลง 83 5.9
ไม่มีพรใดที่อยากได้เป็นพิเศษ 8 0.5
ไม่ระบุ 11 0.8
ตารางที่ 9: บุคคลที่คนกรุงเทพฯ อยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุดนอกเหนือจากบุคคลในครอบครัว
(10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ 684 48.4
2. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 241 17.0
3. ผู้ด้อยโอกาสในสังคม 113 8.0
4. เพื่อน 93 6.6
5. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร 52 3.7
6. ครู อาจารย์ 36 2.5
7. คู่รัก 31 2.2
8. สมเด็จพระสังฆราช 10 0.7
9. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 7 0.5
10. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6 0.4
อื่นๆ 123 8.7
ไม่มีบุคคลใดที่อยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุด 7 0.5
ไม่ระบุ 11 0.8
ตารางที่ 10: สิ่งที่คนกรุงเทพฯ อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลมากที่สุด (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. แก้ปัญหาค่าครองชีพให้ต่ำลง 532 37.6
2. บริหารประเทศด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ทุจริตคอร์รัปชัน 310 21.9
3. พูดความจริงกับประชาชน อย่าปกปิดข้อมูล 109 7.7
4. เร่งแก้ปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สงบโดยเร็ว 93 6.6
5. ยุบสภา หรือลาออก 89 6.3
6. ดูแลประชาชนระดับล่างให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ 76 5.4
7. เร่งแก้ปัญหาการจราจร 62 4.4
8. เร่งแก้ปัญหาสังคมและเยาวชน 47 3.3
9. ยกเลิกการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 13 0.9
10. บริหารประเทศโดยยึดแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียง 8 0.6
อื่นๆ 59 4.2
ไม่มีของขวัญใดที่อยากได้จากรัฐบาล 10 0.7
ไม่ระบุ 6 0.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
เพื่อทราบความคิดเห็นของประชาชนกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
1. ข่าว/เหตุการณ์ในรอบปี 2548 ที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด
2. ข่าว/เหตุการณ์ในรอบปี 2548 ที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด
3. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548
4. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548
5. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548
6. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548
7. พรปีใหม่ที่คนกรุงเทพฯ อยากได้มากที่สุด
8. บุคคลที่คนกรุงเทพฯ อยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุด
9. สิ่งที่คนกรุงเทพฯ อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลมากที่สุด
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุตั้งแต่ 22 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multi-Stage Sampling) โดยสุ่มเขตการปกครอง จำนวน 35 เขต จากทั้งหมด 50 เขต จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์
ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,414 คน เป็นชายร้อยละ 43.3 และหญิงร้อยละ 56.7
กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 22-35 ปีร้อยละ 52.4 อายุ 36-45 ปีร้อยละ 28.8 และอายุ 46 ปีขึ้นไปร้อยละ 18.8
กลุ่มตัวอย่างมีการศึกษาในระดับประถมศึกษาร้อยละ 10.0 มัธยมศึกษา/ปวช.ร้อยละ 22.3 อนุปริญญา/ปวส.ร้อยละ 15.9
ปริญญาตรีร้อยละ 44.6 และสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 7.2
กลุ่มตัวอย่างประกอบอาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 17.2 พนักงานลูกจ้างบริษัทเอกชนร้อยละ 40.0 ค้าขายและ
ธุรกิจส่วนตัวร้อยละ 19.8 รับจ้างทั่วไปร้อยละ 9.3 พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุร้อยละ 6.7 และอื่นๆ ร้อยละ 7.0
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 3% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามปลายเปิดสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 9-15 ธันวาคม 2548
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 20 ธันวาคม 2548
โดย ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776 http://research.bu.ac.th/poll/poll_list.php
สรุปผลการสำรวจ
1. ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
1.1 ข่าวการประสูติพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (ร้อยละ 25.3)
1.2 ข่าวการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี (ร้อยละ 17.4)
1.3 ข่าวพระราชพิธีเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร้อยละ 14.2)
2. ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
2.1 ข่าวทหารนาวิกโยธิน 2 นายเสียชีวิตในเหตุการณ์ความไม่สงบที่บ้านตันหยงลิมอ (ร้อยละ 65.1)
2.2 ข่าวบิดาน้องปุ้ย ญานิศา ต่อรัตนวัฒนา นักกีฬาเหรียญทองคาราเต้-โด ถูกลูกชายซึ่งติดยาแทงเสียชีวิต (ร้อยละ 9.8)
2.3 ข่าวเหตุการณ์น้ำท่วมในจังหวัดเชียงใหม่และพื้นที่ภาคใต้ (ร้อยละ 6.3)
3. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
3.1 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 31.1)
3.2 นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์และผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ (ร้อยละ 15.7)
3.3 นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 5.9)
4. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
4.1 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 49.5)
4.2 แหม่ม คัทลียา แมคอินทอช นักแสดง (ร้อยละ 11.7)
4.3 นายวัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ (ร้อยละ 8.6)
5. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
5.1 ศาลปกครอง (ร้อยละ 12.5)
5.2 กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด (ร้อยละ 11.8)
5.3 มูลนิธิปวีณา หงสกุล (ร้อยละ 8.4)
6. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 ใน 3 อันดับแรก ได้แก่
6.1 กระทรวงศึกษาธิการ (ร้อยละ 19.0)
6.2 บริษัท ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) (ร้อยละ 17.6)
6.3 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) (ร้อยละ 8.9)
7. พรปีใหม่ที่คนกรุงเทพฯ อยากได้มากที่สุด ได้แก่
7.1 ขอให้ร่ำรวยเงินทอง (ร้อยละ 34.2)
7.2 ขอให้สุขภาพแข็งแรง (ร้อยละ 27.6)
7.3 ขอให้ 3 จังหวัดภาคใต้มีความสงบสุข (ร้อยละ 22.5)
8. บุคคลที่คนกรุงเทพฯอยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุดนอกเหนือจากคนในครอบครัว ได้แก่
8.1 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ (ร้อยละ 48.4)
8.2 เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ร้อยละ 17.0)
8.3 ผู้ด้อยโอกาสในสังคม (ร้อยละ 8.0)
9. สิ่งที่คนกรุงเทพฯ อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลมากที่สุด ได้แก่
9.1 แก้ปัญหาค่าครองชีพให้ต่ำลง (ร้อยละ 37.6)
9.2 บริหารประเทศด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ทุจริตคอร์รัปชัน (ร้อยละ 21.9)
9.3 พูดความจริงกับประชาชน อย่าปกปิดข้อมูล (ร้อยละ 7.7)
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 612 43.3
หญิง 802 56.7
อายุ :
22 — 35 ปี 741 52.4
36 — 45 ปี 407 28.8
46 ปีขึ้นไป 266 18.8
การศึกษา
ประถมศึกษา 142 10.0
มัธยมศึกษา/ปวช. 315 22.3
อนุปริญญา/ปวส. 225 15.9
ปริญญาตรี 631 44.6
สูงกว่าปริญญาตรี 101 7.2
อาชีพ
ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 242 17.2
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 566 40.0
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 280 19.8
รับจ้างทั่วไป 132 9.3
พ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ 95 6.7
อื่นๆ 99 7.0
ตารางที่ 2 : ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1.ข่าวการประสูติพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ 357 25.3
2.ข่าวการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 246 17.4
3.ข่าวพระราชพิธีเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 201 14.2
4.ข่าวนักกีฬาไทยได้รับชัยชนะในการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 23 ที่ประเทศฟิลิปปินส์ 149 10.6
5.ข่าวการเปิดทดลองใช้สนามบินสุวรรณภูมิ 82 5.8
6.ข่าวการขยายส่วนต่อรถไฟฟ้าบีทีเอสจากสาทรไปฝั่งธนบุรี 59 4.2
7.ข่าวนายกรัฐมนตรีถอนฟ้องนายสนธิ ลิ้มทองกุล 53 3.7
8.ข่าวการเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม 30 2.1
9.ข่าวการขึ้นเงินเดือน 24 1.7
10.ข่าวการปราบปรามยาเสพติด 16 1.1
อื่นๆ 79 5.6
ไม่มีข่าวใดที่สร้างความปลื้มปิติยินดีมากที่สุด 57 4.0
ไม่แสดงความเห็น 61 4.3
ตารางที่ 3 : ข่าว/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในรอบปี 2548 ที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1.ข่าวทหารนาวิกโยธิน 2 นายเสียชีวิตในเหตุการณ์ความไม่สงบที่บ้านตันหยงลิมอ 920 65.1
2.ข่าวบิดาของน้องปุ้ย ญานิศา ต่อรัตนวัฒนา นักกีฬาเหรียญทองคาราเต้-โด ถูกลูกชายซึ่งติดยาแทงเสียชีวิต 138 9.8
3.ข่าวเหตุการณ์น้ำท่วมในจังหวัดเชียงใหม่และพื้นที่ภาคใต้ 89 6.3
4.ข่าวน้ำมันขึ้นราคา 39 2.7
5.ข่าวการระบาดของไข้หวัดนก 37 2.6
6.ข่าวครูชุมนุมประท้วงเพื่อต่อต้านการโอนย้ายไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 31 2.2
7.ข่าวทุจริตการจัดซื้อเครื่องซีทีเอ็กซ์ 30 2.1
8.ข่าวรถเมล์ชนคนตาย 27 1.9
9.ข่าวนางสาวจิตรลดาแทงเด็กนักเรียน 23 1.6
10.ข่าวความขัดแย้งระหว่างนายกรัฐมนตรีกับสนธิ ลิ้มทองกุล 10 0.7
อื่นๆ 28 2.0
ไม่มีเหตุการณ์ใดที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด 25 1.8
ไม่แสดงความเห็น 17 1.2
ตารางที่ 4 : บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร 440 31.1
2. นายสนธิ ลิ้มทองกุล 222 15.7
3. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 84 5.9
4. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ 81 5.7
5. นางปวีณา หงสกุล 71 5.0
6. นายอานันท์ ปันยารชุน 69 4.9
7. พ.ญ. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ 56 4.0
8. คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา 37 2.7
9. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 27 1.9
10. นายชวน หลีกภัย 17 1.2
อื่นๆ อาทิ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้ 219 15.5
ไม่มีบุคคลใดมีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด 40 2.8
ไม่แสดงความเห็น 51 3.6
ตารางที่ 5: บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 700 49.5
2. แหม่ม คัทลียา แมคอินทอช 165 11.7
3. นายวัฒนา เมืองสุข 121 8.5
4. นายสนธิ ลิ้มทองกุล 95 6.7
5. นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 26 1.8
6. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 18 1.3
7. นายสุชน ชาลีเครือ 15 1.1
8. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 11 0.8
9. นายวิษณุ เครืองาม 10 0.7
10. นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ 8 0.6
อื่นๆ 127 9.0
ไม่มีบุคคลใดมีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุด 45 3.2
ไม่แสดงความเห็น 73 5.1
ตารางที่ 6 : หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. ศาลปกครอง 177 12.5
2. กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด 167 11.8
3. มูลนิธิปวีณาหงสกุล 119 8.4
4. กรุงเทพมหานครและหน่วยงานในสังกัด 112 7.9
5. สำนักงานประกันสังคม 99 7.0
6. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 75 5.3
7. มูลนิธิชัยพัฒนา 66 4.7
8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 59 4.2
9. บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) 40 2.8
10. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 35 2.5
อื่นๆ 229 16.2
ไม่มีหน่วยงาน/องค์กรใดมีพฤติกรรมที่น่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด 95 6.7
ไม่แสดงความเห็น 141 10.0
ตารางที่ 7: หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี 2548 (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. กระทรวงศึกษาธิการ 269 19.0
2. บริษัท ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) 249 17.6
3. องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ 126 8.9
4. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 107 7.6
5. กระทรวงคมนาคม 62 4.4
6. วุฒิสภา 49 3.5
7. กระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ 45 3.2
8. กรุงเทพมหานคร 40 2.8
9. กระทรวงสาธารณสุข 27 1.9
10. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 24 1.7
อื่นๆ 279 19.7
ไม่มีหน่วยงาน/องค์กรใดที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุด 42 3.0
ไม่แสดงความเห็น 95 6.7
ตารางที่ 8: พรปีใหม่ที่คนกรุงเทพฯ อยากได้มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
1. ขอให้ร่ำรวยเงินทอง 484 34.2
2. ขอให้มีสุขภาพแข็งแรง 390 27.6
3. ขอให้ 3 จังหวัดภาคใต้มีความสงบสุข 318 22.5
4. ขอให้ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน 120 8.5
อื่นๆ อาทิ ขอให้น้ำมันมีราคาถูกลง 83 5.9
ไม่มีพรใดที่อยากได้เป็นพิเศษ 8 0.5
ไม่ระบุ 11 0.8
ตารางที่ 9: บุคคลที่คนกรุงเทพฯ อยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุดนอกเหนือจากบุคคลในครอบครัว
(10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ 684 48.4
2. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 241 17.0
3. ผู้ด้อยโอกาสในสังคม 113 8.0
4. เพื่อน 93 6.6
5. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร 52 3.7
6. ครู อาจารย์ 36 2.5
7. คู่รัก 31 2.2
8. สมเด็จพระสังฆราช 10 0.7
9. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 7 0.5
10. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6 0.4
อื่นๆ 123 8.7
ไม่มีบุคคลใดที่อยากมอบพรปีใหม่ให้มากที่สุด 7 0.5
ไม่ระบุ 11 0.8
ตารางที่ 10: สิ่งที่คนกรุงเทพฯ อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลมากที่สุด (10 อันดับแรก)
จำนวน ร้อยละ
1. แก้ปัญหาค่าครองชีพให้ต่ำลง 532 37.6
2. บริหารประเทศด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ทุจริตคอร์รัปชัน 310 21.9
3. พูดความจริงกับประชาชน อย่าปกปิดข้อมูล 109 7.7
4. เร่งแก้ปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สงบโดยเร็ว 93 6.6
5. ยุบสภา หรือลาออก 89 6.3
6. ดูแลประชาชนระดับล่างให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ 76 5.4
7. เร่งแก้ปัญหาการจราจร 62 4.4
8. เร่งแก้ปัญหาสังคมและเยาวชน 47 3.3
9. ยกเลิกการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 13 0.9
10. บริหารประเทศโดยยึดแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียง 8 0.6
อื่นๆ 59 4.2
ไม่มีของขวัญใดที่อยากได้จากรัฐบาล 10 0.7
ไม่ระบุ 6 0.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-