ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้คิด
อย่างไรกับการแก้ปัญหาความไม่สงบของรัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์” โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 6-8 พฤศจิกายนที่ผ่านมา จากประชาชน 3 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ทั้งในเขตอำเภอเมืองและนอกเขตอำเภอเมือง ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จำนวน 600 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.7 และ
เพศหญิงร้อยละ 49.3 สรุปผลได้ดังนี้
1. การติดตามข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่นำเสนอทางสื่อมวลชน
- ติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ร้อยละ 68.7
- ติดตามสัปดาห์ละ 3-4 วัน ร้อยละ 23.7
- ติดตามสัปดาห์ละ 1-2 วัน ร้อยละ 6.3
- ไม่ได้ติดตามเลย ร้อยละ 1.3
2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องเที่ยงตรงของข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่นำเสนอทางสื่อมวลชนในขณะนี้
- ถูกต้องเที่ยงตรงมาก ร้อยละ 11.0
- ค่อนข้างถูกต้องเที่ยงตรง ร้อยละ 55.7
- ไม่ค่อยถูกต้องเที่ยงตรง ร้อยละ 29.7
- ไม่ถูกต้องเที่ยงตรงเลย ร้อยละ 3.6
3. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานในพื้นที่ของเจ้าหน้าที่รัฐในขณะนี้ พบว่า
พอใจ(ร้อยละ) ไม่พอใจ(ร้อยละ) ไม่แสดงความเห็น(ร้อยละ)
1. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของครู 86.7 6.5 6.8
2. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของทหาร 75.3 11.0 13.7
4. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง 46.7 17.0 36.3
3. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของตำรวจ 32.7 42.0 25.3
4. เมื่อถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมาของรัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ ว่าจะสามารถช่วยแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้หรือไม่ พบว่า
ช่วยแก้ปัญหาได้ ช่วยแก้ปัญหาไม่ได้ ไม่แน่ใจ
1. การฟื้นฟูศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
ขึ้นมาแทนกองอำนวยการเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ (กอ.สสส.จชต.) 35.0 28.3 36.7
2. การออกมากล่าวขอโทษประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ
พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ 34.7 35.0 30.3
3. การเร่งรัดหาตัวคนผิดจากคดีการหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร 20.7 44.3 35.0
4. การถอนฟ้องผู้ต้องหากรณี สภอ.ตากใบ 18.0 53.7 28.3
5. สำหรับความคิดเห็นต่อสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้นับจากนี้เป็นต้นไป
- เชื่อว่าจะดีขึ้น ร้อยละ 18.0
- เชื่อว่าจะยังคงเหมือนเดิม ร้อยละ 53.7
- เชื่อว่าจะแย่ลง ร้อยละ 28.3
6. ความเชื่อมั่นว่ารัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ จะสามารถแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ให้หมดไปนั้น พบว่า
- เชื่อว่าจะแก้ได้ ร้อยละ 12.8
เพราะ รัฐบาลมีความตั้งใจจริงในการแก้ปัญหา มีแนวทางที่ชัดเจนในการแก้ปัญหาเน้นความสามัคคีปรองดอง
และเข้าใจปัญหาในเชิงลึก เป็นต้น
- เชื่อว่าจะแก้ไม่ได้ ร้อยละ 30.8
เพราะ มีเวลาน้อยเกินไปในการแก้ปัญหา ปัญหาสะสมบานปลายจนยากจะแก้ไขไม่เชื่อว่ารัฐบาลจะสามารถ
ดึงคนในพื้นที่มาเป็นแนวร่วมได้ รัฐบาลไม่เด็ดขาดและยอมอ่อนข้อให้ฝ่ายผู้ก่อความไม่สงบมากเกินไป
และรัฐบาลมุ่งสร้างภาพมากกว่าแก้ปัญหาอย่างจริงจัง เป็นต้น
- ไม่แน่ใจ ร้อยละ 56.4
ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับผลสำรวจเมื่อวันที่ 14-20 พฤศจิกายน 2548 ในยุครัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พบว่า
ยุครัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ยุครัฐบาลพล.อ. สุรยุทธ์
เชื่อว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาได้ 14.7 12.8
เชื่อว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาไม่ได้ 44.5 30.8
ไม่แน่ใจ 40.8 56.4
7. สิ่งที่ประชาชนในพื้นที่เห็นว่ารัฐบาลควรทำมากที่สุดในขณะนี้เพื่อแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่
- ใช้ความเด็ดขาดกับผู้ก่อความไม่สงบ เช่นจับได้แล้วอย่าปล่อยตัวออกมา ร้อยละ 29.2
- สร้างความเท่าเทียมและเป็นธรรมให้เกิดขึ้น/ ไม่ให้มีปัญหาเรื่องประชาชนชั้น 2 ร้อยละ 17.3
- ปรับปรุงระบบข่าวกรองเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องความปลอดภัยแก่ประชาชน ร้อยละ 13.9
- เร่งศึกษาสาเหตุที่แท้จริงแล้วออกมาตรการแก้ปัญหาให้ชัดเจนกว่าที่เป็นอยู่ ร้อยละ 8.7
- ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักศาสนาแก่ประชาชนในพื้นที่ ร้อยละ 6.5
- คัดเลือกและอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้ดีกว่านี้ ร้อยละ 5.6
- อยู่เฉยๆ งดให้สัมภาษณ์ งดให้ข่าวเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบ ร้อยละ 1.3
- อื่นๆ เช่น ย้ายผู้ชายอายุ 15-30 ปีออกไปทำงานนอกพื้นที่ เจรจากับรัฐบาลมาเลเซีย
เพื่อแก้ปัญหาเรื่องบุคคลสองสัญชาติ และอย่ามุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้ามากเกินไป ฯลฯ ร้อยละ 3.1
- ไม่ระบุ ร้อยละ 14.4
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในประเด็นต่อไปนี้
1. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานในพื้นที่ขณะนี้ของเจ้าหน้าที่รัฐ
2. ความคิดเห็นต่อแนวทางการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของรัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์
3. ความเชื่อมั่นว่ารัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวให้หมดไปได้
4. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาที่เห็นว่ารัฐบาลควรทำมากที่สุดในขณะนี้
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และ
นราธิวาส ทั้งในเขตอำเภอเมืองและนอกเขตอำเภอเมือง ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 600 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.7 และเพศหญิงร้อยละ 49.3
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 6-8 พฤศจิกายน 2549
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 9 พฤศจิกายน 2549
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 304 50.7
หญิง 296 49.3
อายุ
18-25 ปี 114 19.0
26-35 ปี 204 34.0
36-45 ปี 184 30.7
46 ปีขึ้นไป 98 16.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 316 52.7
ปริญญาตรี 258 43.0
สูงกว่าปริญญาตรี 26 4.3
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 122 20.3
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 154 25.7
รับจ้างทั่วไป 88 14.7
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 64 10.7
เกษตรกรรม/ประมง 30 5.0
นิสิต/นักศึกษา 78 13.0
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 64 10.6
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
อย่างไรกับการแก้ปัญหาความไม่สงบของรัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์” โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 6-8 พฤศจิกายนที่ผ่านมา จากประชาชน 3 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ทั้งในเขตอำเภอเมืองและนอกเขตอำเภอเมือง ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จำนวน 600 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.7 และ
เพศหญิงร้อยละ 49.3 สรุปผลได้ดังนี้
1. การติดตามข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่นำเสนอทางสื่อมวลชน
- ติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ร้อยละ 68.7
- ติดตามสัปดาห์ละ 3-4 วัน ร้อยละ 23.7
- ติดตามสัปดาห์ละ 1-2 วัน ร้อยละ 6.3
- ไม่ได้ติดตามเลย ร้อยละ 1.3
2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องเที่ยงตรงของข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่นำเสนอทางสื่อมวลชนในขณะนี้
- ถูกต้องเที่ยงตรงมาก ร้อยละ 11.0
- ค่อนข้างถูกต้องเที่ยงตรง ร้อยละ 55.7
- ไม่ค่อยถูกต้องเที่ยงตรง ร้อยละ 29.7
- ไม่ถูกต้องเที่ยงตรงเลย ร้อยละ 3.6
3. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานในพื้นที่ของเจ้าหน้าที่รัฐในขณะนี้ พบว่า
พอใจ(ร้อยละ) ไม่พอใจ(ร้อยละ) ไม่แสดงความเห็น(ร้อยละ)
1. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของครู 86.7 6.5 6.8
2. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของทหาร 75.3 11.0 13.7
4. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง 46.7 17.0 36.3
3. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของตำรวจ 32.7 42.0 25.3
4. เมื่อถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมาของรัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ ว่าจะสามารถช่วยแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้หรือไม่ พบว่า
ช่วยแก้ปัญหาได้ ช่วยแก้ปัญหาไม่ได้ ไม่แน่ใจ
1. การฟื้นฟูศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
ขึ้นมาแทนกองอำนวยการเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ (กอ.สสส.จชต.) 35.0 28.3 36.7
2. การออกมากล่าวขอโทษประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ
พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ 34.7 35.0 30.3
3. การเร่งรัดหาตัวคนผิดจากคดีการหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร 20.7 44.3 35.0
4. การถอนฟ้องผู้ต้องหากรณี สภอ.ตากใบ 18.0 53.7 28.3
5. สำหรับความคิดเห็นต่อสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้นับจากนี้เป็นต้นไป
- เชื่อว่าจะดีขึ้น ร้อยละ 18.0
- เชื่อว่าจะยังคงเหมือนเดิม ร้อยละ 53.7
- เชื่อว่าจะแย่ลง ร้อยละ 28.3
6. ความเชื่อมั่นว่ารัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ จะสามารถแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ให้หมดไปนั้น พบว่า
- เชื่อว่าจะแก้ได้ ร้อยละ 12.8
เพราะ รัฐบาลมีความตั้งใจจริงในการแก้ปัญหา มีแนวทางที่ชัดเจนในการแก้ปัญหาเน้นความสามัคคีปรองดอง
และเข้าใจปัญหาในเชิงลึก เป็นต้น
- เชื่อว่าจะแก้ไม่ได้ ร้อยละ 30.8
เพราะ มีเวลาน้อยเกินไปในการแก้ปัญหา ปัญหาสะสมบานปลายจนยากจะแก้ไขไม่เชื่อว่ารัฐบาลจะสามารถ
ดึงคนในพื้นที่มาเป็นแนวร่วมได้ รัฐบาลไม่เด็ดขาดและยอมอ่อนข้อให้ฝ่ายผู้ก่อความไม่สงบมากเกินไป
และรัฐบาลมุ่งสร้างภาพมากกว่าแก้ปัญหาอย่างจริงจัง เป็นต้น
- ไม่แน่ใจ ร้อยละ 56.4
ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับผลสำรวจเมื่อวันที่ 14-20 พฤศจิกายน 2548 ในยุครัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พบว่า
ยุครัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ยุครัฐบาลพล.อ. สุรยุทธ์
เชื่อว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาได้ 14.7 12.8
เชื่อว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาไม่ได้ 44.5 30.8
ไม่แน่ใจ 40.8 56.4
7. สิ่งที่ประชาชนในพื้นที่เห็นว่ารัฐบาลควรทำมากที่สุดในขณะนี้เพื่อแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่
- ใช้ความเด็ดขาดกับผู้ก่อความไม่สงบ เช่นจับได้แล้วอย่าปล่อยตัวออกมา ร้อยละ 29.2
- สร้างความเท่าเทียมและเป็นธรรมให้เกิดขึ้น/ ไม่ให้มีปัญหาเรื่องประชาชนชั้น 2 ร้อยละ 17.3
- ปรับปรุงระบบข่าวกรองเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องความปลอดภัยแก่ประชาชน ร้อยละ 13.9
- เร่งศึกษาสาเหตุที่แท้จริงแล้วออกมาตรการแก้ปัญหาให้ชัดเจนกว่าที่เป็นอยู่ ร้อยละ 8.7
- ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักศาสนาแก่ประชาชนในพื้นที่ ร้อยละ 6.5
- คัดเลือกและอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้ดีกว่านี้ ร้อยละ 5.6
- อยู่เฉยๆ งดให้สัมภาษณ์ งดให้ข่าวเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบ ร้อยละ 1.3
- อื่นๆ เช่น ย้ายผู้ชายอายุ 15-30 ปีออกไปทำงานนอกพื้นที่ เจรจากับรัฐบาลมาเลเซีย
เพื่อแก้ปัญหาเรื่องบุคคลสองสัญชาติ และอย่ามุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้ามากเกินไป ฯลฯ ร้อยละ 3.1
- ไม่ระบุ ร้อยละ 14.4
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในประเด็นต่อไปนี้
1. ความพึงพอใจการปฏิบัติงานในพื้นที่ขณะนี้ของเจ้าหน้าที่รัฐ
2. ความคิดเห็นต่อแนวทางการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของรัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์
3. ความเชื่อมั่นว่ารัฐบาล พล.อ. สุรยุทธ์ จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวให้หมดไปได้
4. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาที่เห็นว่ารัฐบาลควรทำมากที่สุดในขณะนี้
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และ
นราธิวาส ทั้งในเขตอำเภอเมืองและนอกเขตอำเภอเมือง ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 600 คน เป็นเพศชายร้อยละ 50.7 และเพศหญิงร้อยละ 49.3
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 6-8 พฤศจิกายน 2549
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 9 พฤศจิกายน 2549
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 304 50.7
หญิง 296 49.3
อายุ
18-25 ปี 114 19.0
26-35 ปี 204 34.0
36-45 ปี 184 30.7
46 ปีขึ้นไป 98 16.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 316 52.7
ปริญญาตรี 258 43.0
สูงกว่าปริญญาตรี 26 4.3
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 122 20.3
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 154 25.7
รับจ้างทั่วไป 88 14.7
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 64 10.7
เกษตรกรรม/ประมง 30 5.0
นิสิต/นักศึกษา 78 13.0
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 64 10.6
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-