ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับเรื่องคาร์บอม”
โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 25-26 สิงหาคมที่ผ่านมา จากประชาชนในกรุงเทพมหานครจำนวน 25 เขตและปริมณฑลจำนวน 3 จังหวัด ตามหลักเกณฑ์การวิ
จัย ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,174 คน เป็นเพศชายร้อยละ 49.1 และเพศหญิงร้อยละ 50.9 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนร้อยละ 85.8 ให้ความสนใจติดตามข่าวเรื่องคาร์บอม ขณะที่ร้อยละ 14.2 ไม่สนใจติดตาม
2. มีเพียงร้อยละ 20.5 ที่เชื่อว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นการมุ่งปองร้ายต่อ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง ขณะที่ร้อยละ 49.8 เชื่อว่า
เป็นการสร้างสถานการณ์ (โดยในจำนวนนี้ร้อยละ 60.6 เชื่อว่ากระทำโดยฝ่ายรัฐบาล ร้อยละ 20.3 เชื่อว่ากระทำโดยฝ่ายต่อต้านรัฐบาล และ
ร้อยละ 19.1 เชื่อว่ากระทำโดยฝ่ายอื่นหรือมือที่สาม) ร้อยละ 29.6 ไม่แน่ใจ
3. ร้อยละ 56.7 ระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวไม่ส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในชีวิต ขณะที่ร้อยละ 43.3 ระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวส่งผล
ให้รู้สึกว่ามีความปลอดภัยในชีวิตน้อยลง
4. ผู้ที่ประชาชนเห็นว่าน่าเห็นใจที่สุดจากเหตุการณ์ดังกล่าวได้แก่
- พล.อ. พัลลภ ปิ่นมณี (ร้อยละ 22.7)
- พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร (ร้อยละ 20.3)
- ประชาชนคนไทยทั้งประเทศ (ร้อยละ 12.1)
- ร.ท. ธวัชชัย กลิ่นชนะ (ร้อยละ 11.8)
- ไม่มีใครน่าเห็นใจเลย (ร้อยละ 33.1)
5. ร้อยละ 47.5 เห็นว่าเรื่องที่เกิดขึ้นไม่ส่งผลต่อคะแนนนิยมในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ขณะที่ร้อยละ 27.0 เห็นว่า
จะส่งผลให้คะแนนนิยมเพิ่มขึ้น และร้อยละ 25.5 เห็นว่าจะส่งผลให้คะแนนนิยมลดลง
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 02-350-3500 ต่อ 1776, 01-458-6741
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเด็นต่อไปนี้
1. ความสนใจติดตามข่าวการจับกุมรถยนต์ขนระเบิดได้ที่ใกล้บ้านพักของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
2. เรื่องดังกล่าวส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตของประชาชนหรือไม่
3. คิดว่าเรื่องดังกล่าวเป็นการมุ่งปองร้าย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง หรือเป็นการสร้างสถานการณ์
4. ใครคือผู้ที่ประชาชนรู้สึกเห็นใจมากที่สุดจากเหตุการณ์ดังกล่าว
5. เรื่องที่เกิดขึ้นส่งผลต่อคะแนนนิยมในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หรือไม่อย่างไร
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 25 เขต
จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคันนายาว คลองเตย คลองสามวา ดินแดง
ดอนเมือง ตลิ่งชัน บางกะปิ บางคอแหลม บางพลัด บางนา บางรัก ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง มีนบุรี ยานนาวา
ราชเทวี ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สาทร หลักสี่ ห้วยขวาง และปริมณฑล 3 จังหวัด ได้แก่นนทบุรี ปทุมธานี
และสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,174 คน
เป็นเพศชายร้อยละ 49.1 และเพศหญิงร้อยละ 50.9
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 25-26 สิงหาคม 2549
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 27 สิงหาคม 2549
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 576 49.1
หญิง 598 50.9
อายุ
18-25 ปี 298 25.4
26-35 ปี 408 34.8
36-45 ปี 307 26.1
46 ปีขึ้นไป 161 13.7
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 352 30.0
ปริญญาตรี 706 60.1
สูงกว่าปริญญาตรี 116 9.9
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 278 23.7
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 428 36.5
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 174 14.8
รับจ้างทั่วไป 107 9.1
นิสิต/นักศึกษา 127 10.8
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 60 5.1
รวม 1,174 100.0
ตารางที่ 2 : ความสนใจติดตามข่าวการจับกุมรถยนต์ขนระเบิดได้ที่ใกล้บ้านพักของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
จำนวน ร้อยละ
สนใจติดตาม 1,007 85.8
ไม่สนใจติดตาม 167 14.2
ตารางที่ 3 : คิดว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นการมุ่งปองร้ายต่อชีวิตของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง หรือเป็นเพียงการสร้างสถานการณ์
จำนวน ร้อยละ
คิดว่ามุ่งปองร้าย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง 241 20.5
คิดว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ โดยในจำนวนนี้เชื่อว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ของ 585 49.8
- ฝ่ายรัฐบาล......................ร้อยละ 60.6
- ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล.................ร้อยละ 20.3
- ฝ่ายอื่น/ มือที่สาม.................ร้อยละ 19.1
ไม่แน่ใจ 348 29.6
ตารางที่ 4 : เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ส่งผลให้รู้สึกว่ามีความปลอดภัยในชีวิตน้อยลง 508 43.3
ไม่ส่งผล 666 56.7
ตารางที่ 5 : ผู้ที่น่าเห็นใจมากที่สุดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
จำนวน ร้อยละ
พล.อ. พัลลภ ปิ่นมณี 267 22.7
พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 238 20.3
ประชาชนคนไทยทั้งประเทศ 142 12.1
ร.ท. ธวัชชัย กลิ่นชะนะ 138 11.8
ไม่มีใครน่าเห็นใจเลย 389 33.1
ตารางที่ 6 : เรื่องที่เกิดขึ้นส่งผลต่อคะแนนนิยมในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรหรือไม่อย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ส่งผลให้คะแนนนิยมเพิ่มขึ้น 317 27.0
ส่งผลให้คะแนนนิยมลดลง 299 25.5
ไม่ส่งผลต่อคะแนนนิยม 558 47.5
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 25-26 สิงหาคมที่ผ่านมา จากประชาชนในกรุงเทพมหานครจำนวน 25 เขตและปริมณฑลจำนวน 3 จังหวัด ตามหลักเกณฑ์การวิ
จัย ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,174 คน เป็นเพศชายร้อยละ 49.1 และเพศหญิงร้อยละ 50.9 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนร้อยละ 85.8 ให้ความสนใจติดตามข่าวเรื่องคาร์บอม ขณะที่ร้อยละ 14.2 ไม่สนใจติดตาม
2. มีเพียงร้อยละ 20.5 ที่เชื่อว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นการมุ่งปองร้ายต่อ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง ขณะที่ร้อยละ 49.8 เชื่อว่า
เป็นการสร้างสถานการณ์ (โดยในจำนวนนี้ร้อยละ 60.6 เชื่อว่ากระทำโดยฝ่ายรัฐบาล ร้อยละ 20.3 เชื่อว่ากระทำโดยฝ่ายต่อต้านรัฐบาล และ
ร้อยละ 19.1 เชื่อว่ากระทำโดยฝ่ายอื่นหรือมือที่สาม) ร้อยละ 29.6 ไม่แน่ใจ
3. ร้อยละ 56.7 ระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวไม่ส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในชีวิต ขณะที่ร้อยละ 43.3 ระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวส่งผล
ให้รู้สึกว่ามีความปลอดภัยในชีวิตน้อยลง
4. ผู้ที่ประชาชนเห็นว่าน่าเห็นใจที่สุดจากเหตุการณ์ดังกล่าวได้แก่
- พล.อ. พัลลภ ปิ่นมณี (ร้อยละ 22.7)
- พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร (ร้อยละ 20.3)
- ประชาชนคนไทยทั้งประเทศ (ร้อยละ 12.1)
- ร.ท. ธวัชชัย กลิ่นชนะ (ร้อยละ 11.8)
- ไม่มีใครน่าเห็นใจเลย (ร้อยละ 33.1)
5. ร้อยละ 47.5 เห็นว่าเรื่องที่เกิดขึ้นไม่ส่งผลต่อคะแนนนิยมในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ขณะที่ร้อยละ 27.0 เห็นว่า
จะส่งผลให้คะแนนนิยมเพิ่มขึ้น และร้อยละ 25.5 เห็นว่าจะส่งผลให้คะแนนนิยมลดลง
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 02-350-3500 ต่อ 1776, 01-458-6741
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเด็นต่อไปนี้
1. ความสนใจติดตามข่าวการจับกุมรถยนต์ขนระเบิดได้ที่ใกล้บ้านพักของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
2. เรื่องดังกล่าวส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตของประชาชนหรือไม่
3. คิดว่าเรื่องดังกล่าวเป็นการมุ่งปองร้าย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง หรือเป็นการสร้างสถานการณ์
4. ใครคือผู้ที่ประชาชนรู้สึกเห็นใจมากที่สุดจากเหตุการณ์ดังกล่าว
5. เรื่องที่เกิดขึ้นส่งผลต่อคะแนนนิยมในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หรือไม่อย่างไร
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 25 เขต
จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคันนายาว คลองเตย คลองสามวา ดินแดง
ดอนเมือง ตลิ่งชัน บางกะปิ บางคอแหลม บางพลัด บางนา บางรัก ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง มีนบุรี ยานนาวา
ราชเทวี ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สาทร หลักสี่ ห้วยขวาง และปริมณฑล 3 จังหวัด ได้แก่นนทบุรี ปทุมธานี
และสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,174 คน
เป็นเพศชายร้อยละ 49.1 และเพศหญิงร้อยละ 50.9
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 25-26 สิงหาคม 2549
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 27 สิงหาคม 2549
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 576 49.1
หญิง 598 50.9
อายุ
18-25 ปี 298 25.4
26-35 ปี 408 34.8
36-45 ปี 307 26.1
46 ปีขึ้นไป 161 13.7
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 352 30.0
ปริญญาตรี 706 60.1
สูงกว่าปริญญาตรี 116 9.9
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 278 23.7
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 428 36.5
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 174 14.8
รับจ้างทั่วไป 107 9.1
นิสิต/นักศึกษา 127 10.8
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 60 5.1
รวม 1,174 100.0
ตารางที่ 2 : ความสนใจติดตามข่าวการจับกุมรถยนต์ขนระเบิดได้ที่ใกล้บ้านพักของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
จำนวน ร้อยละ
สนใจติดตาม 1,007 85.8
ไม่สนใจติดตาม 167 14.2
ตารางที่ 3 : คิดว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นการมุ่งปองร้ายต่อชีวิตของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง หรือเป็นเพียงการสร้างสถานการณ์
จำนวน ร้อยละ
คิดว่ามุ่งปองร้าย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรจริง 241 20.5
คิดว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ โดยในจำนวนนี้เชื่อว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ของ 585 49.8
- ฝ่ายรัฐบาล......................ร้อยละ 60.6
- ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล.................ร้อยละ 20.3
- ฝ่ายอื่น/ มือที่สาม.................ร้อยละ 19.1
ไม่แน่ใจ 348 29.6
ตารางที่ 4 : เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ส่งผลให้รู้สึกว่ามีความปลอดภัยในชีวิตน้อยลง 508 43.3
ไม่ส่งผล 666 56.7
ตารางที่ 5 : ผู้ที่น่าเห็นใจมากที่สุดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
จำนวน ร้อยละ
พล.อ. พัลลภ ปิ่นมณี 267 22.7
พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 238 20.3
ประชาชนคนไทยทั้งประเทศ 142 12.1
ร.ท. ธวัชชัย กลิ่นชะนะ 138 11.8
ไม่มีใครน่าเห็นใจเลย 389 33.1
ตารางที่ 6 : เรื่องที่เกิดขึ้นส่งผลต่อคะแนนนิยมในตัว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรหรือไม่อย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ส่งผลให้คะแนนนิยมเพิ่มขึ้น 317 27.0
ส่งผลให้คะแนนนิยมลดลง 299 25.5
ไม่ส่งผลต่อคะแนนนิยม 558 47.5
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-