ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับ ครม. ชุด
ใหม่” โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 9-10 ตุลาคมที่ผ่านมา จากประชาชนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 1,102 คน เป็นเพศชายร้อยละ 46.2
และเพศหญิงร้อยละ 53.8 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความพึงพอใจต่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม
พอใจ ร้อยละ 64.8
ไม่พอใจ ร้อยละ 4.1
ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 31.1
2. ความเหมาะสมกับตำแหน่งของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคล
(เรียงลำดับผู้ที่ได้คะแนนความเหมาะสมจากมากไปหาน้อย)
ชื่อ-ตำแหน่ง เหมาะสม ไม่เหมาะสม ไม่แน่ใจ
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
1. พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี 80.7 3.3 16.1
2. ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงการคลัง 73.3 4.1 22.6
3. นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงอุตสาหกรรม 57.4 4 38.6
4. ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 53.5 4.1 42.4
5. น.พ.มงคล ณ สงขลา รมว.กระทรวงสาธารณสุข 52.5 4.2 43.3
6. นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา รมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 52.4 3.6 44
7. นายสุวิทย์ ยอดมณี รมว.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 51.6 4.6 43.8
8. คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ รมว.กระทรวงวัฒนธรรม 51.3 4.3 44.4
9. นายอารีย์ วงศ์อารยะ รมว.กระทรวงมหาดไทย 51.1 7.2 41.7
10. นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ รมว.กระทรวงยุติธรรม 49.9 2.8 47.3
11. นายวิจิตร ศรีสอ้าน รมว.กระทรวงศึกษาธิการ 49.9 6 44.1
12. คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 49.5 6 44.5
13 นายนิตย์ พิบูลสงคราม รมว.กระทรวงการต่างประเทศ 49 5.9 45.1
14. นายธีระ สูตะบุตร รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 48.5 5.5 46
15. พล.อ.บุญรอด สมทัศน์ รมว.กระทรวงกลาโหม 47.5 5.3 47.2
16. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รมว.กระทรวงพลังงาน 47.4 6.4 46.2
17. นายอภัย จันทนะจุลกะ รมว.กระทรวงแรงงาน 47.2 5.4 47.4
18. นายธีระภัทร เสรีรังสรรค์ รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 47 5.2 47.8
19. นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม รมว.กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ 46.6 4.3 49.1
20. นายเกริกไกร จีระแพทย์ รมว.กระทรวงพาณิชย์ 46.6 5.2 48.2
21. นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รมว.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 46 4.4 49.6
22. พล.ร.อ.ธีระ ห้าวเจริญ รมว.กระทรวงคมนาคม 46 6.5 47.5
3. ความเชื่อมั่นว่าภายในระยะเวลา 1 ปี คณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องต่อไปนี้
ให้สำเร็จเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม (เรียงลำดับจากเรื่องที่เชื่อมั่นว่าจะทำได้มากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
เชื่อว่าทำได้(ร้อยละ) เชื่อว่าทำไม่ได้(ร้อยละ) ไม่แน่ใจ(ร้อยละ)
1. การสร้างความสามัคคีของคนในชาติ 65.6 8.4 26.0
2. การนำแนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง มาดำเนินการให้เกิดผล 58.2 7.6 34.2
3. การวางรากฐานและกลไกที่เอื้อต่อการปฏิรูปการเมืองในอนาคต 44.6 9.6 45.8
4. การทำให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในเวทีโลก 39.2 10.8 50.0
5. การแก้ปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน 35.0 27.1 37.8
6. การแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ 28.0 24.9 47.1
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเด็นต่อไปนี้
1. ความพึงพอใจต่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม
2. ความเหมาะสมกับตำแหน่งของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคล
3. ความเชื่อมั่นว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องสำคัญๆ ของชาติให้สำเร็จผลชัดเจนเป็นรูปธรรมภายในระยะ
เวลา 1 ปี
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 25 เขตจาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองเตย คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา
ธนบุรี บางกอกน้อย บางกะปิ บางคอแหลม บางแค บางซื่อ บางนา ปทุมวัน พญาไท มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว สวนหลวง สะพานสูง
หนองแขม หลักสี่ ห้วยขวาง และปริมณฑล 3 จังหวัด ได้แก่นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้น
ไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,102 คน เป็นเพศชายร้อยละ 46.2 และเพศหญิงร้อยละ 53.8
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 9 -10 ตุลาคม 2549
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 11 ตุลาคม 2549
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 509 46.2
หญิง 593 53.8
อายุ
18-25 ปี 400 36.3
26-35 ปี 313 28.4
36-45 ปี 253 23.0
46 ปีขึ้นไป 136 12.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 408 37.1
ปริญญาตรี 611 55.4
สูงกว่าปริญญาตรี 83 7.5
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 146 13.3
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 356 32.3
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 201 18.2
รับจ้างทั่วไป 91 8.3
นิสิต/นักศึกษา 265 24.0
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 43 3.9
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 02-350-3500 ต่อ 1776
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
ใหม่” โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 9-10 ตุลาคมที่ผ่านมา จากประชาชนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 1,102 คน เป็นเพศชายร้อยละ 46.2
และเพศหญิงร้อยละ 53.8 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความพึงพอใจต่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม
พอใจ ร้อยละ 64.8
ไม่พอใจ ร้อยละ 4.1
ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 31.1
2. ความเหมาะสมกับตำแหน่งของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคล
(เรียงลำดับผู้ที่ได้คะแนนความเหมาะสมจากมากไปหาน้อย)
ชื่อ-ตำแหน่ง เหมาะสม ไม่เหมาะสม ไม่แน่ใจ
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
1. พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี 80.7 3.3 16.1
2. ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงการคลัง 73.3 4.1 22.6
3. นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงอุตสาหกรรม 57.4 4 38.6
4. ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 53.5 4.1 42.4
5. น.พ.มงคล ณ สงขลา รมว.กระทรวงสาธารณสุข 52.5 4.2 43.3
6. นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา รมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 52.4 3.6 44
7. นายสุวิทย์ ยอดมณี รมว.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 51.6 4.6 43.8
8. คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ รมว.กระทรวงวัฒนธรรม 51.3 4.3 44.4
9. นายอารีย์ วงศ์อารยะ รมว.กระทรวงมหาดไทย 51.1 7.2 41.7
10. นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ รมว.กระทรวงยุติธรรม 49.9 2.8 47.3
11. นายวิจิตร ศรีสอ้าน รมว.กระทรวงศึกษาธิการ 49.9 6 44.1
12. คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 49.5 6 44.5
13 นายนิตย์ พิบูลสงคราม รมว.กระทรวงการต่างประเทศ 49 5.9 45.1
14. นายธีระ สูตะบุตร รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 48.5 5.5 46
15. พล.อ.บุญรอด สมทัศน์ รมว.กระทรวงกลาโหม 47.5 5.3 47.2
16. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รมว.กระทรวงพลังงาน 47.4 6.4 46.2
17. นายอภัย จันทนะจุลกะ รมว.กระทรวงแรงงาน 47.2 5.4 47.4
18. นายธีระภัทร เสรีรังสรรค์ รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 47 5.2 47.8
19. นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม รมว.กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ 46.6 4.3 49.1
20. นายเกริกไกร จีระแพทย์ รมว.กระทรวงพาณิชย์ 46.6 5.2 48.2
21. นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รมว.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 46 4.4 49.6
22. พล.ร.อ.ธีระ ห้าวเจริญ รมว.กระทรวงคมนาคม 46 6.5 47.5
3. ความเชื่อมั่นว่าภายในระยะเวลา 1 ปี คณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องต่อไปนี้
ให้สำเร็จเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม (เรียงลำดับจากเรื่องที่เชื่อมั่นว่าจะทำได้มากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
เชื่อว่าทำได้(ร้อยละ) เชื่อว่าทำไม่ได้(ร้อยละ) ไม่แน่ใจ(ร้อยละ)
1. การสร้างความสามัคคีของคนในชาติ 65.6 8.4 26.0
2. การนำแนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง มาดำเนินการให้เกิดผล 58.2 7.6 34.2
3. การวางรากฐานและกลไกที่เอื้อต่อการปฏิรูปการเมืองในอนาคต 44.6 9.6 45.8
4. การทำให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในเวทีโลก 39.2 10.8 50.0
5. การแก้ปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน 35.0 27.1 37.8
6. การแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ 28.0 24.9 47.1
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเด็นต่อไปนี้
1. ความพึงพอใจต่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในภาพรวม
2. ความเหมาะสมกับตำแหน่งของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคล
3. ความเชื่อมั่นว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะสามารถดำเนินการในเรื่องสำคัญๆ ของชาติให้สำเร็จผลชัดเจนเป็นรูปธรรมภายในระยะ
เวลา 1 ปี
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 25 เขตจาก 50 เขต
ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองเตย คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา
ธนบุรี บางกอกน้อย บางกะปิ บางคอแหลม บางแค บางซื่อ บางนา ปทุมวัน พญาไท มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว สวนหลวง สะพานสูง
หนองแขม หลักสี่ ห้วยขวาง และปริมณฑล 3 จังหวัด ได้แก่นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้น
ไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,102 คน เป็นเพศชายร้อยละ 46.2 และเพศหญิงร้อยละ 53.8
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 9 -10 ตุลาคม 2549
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 11 ตุลาคม 2549
ตาราง ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 509 46.2
หญิง 593 53.8
อายุ
18-25 ปี 400 36.3
26-35 ปี 313 28.4
36-45 ปี 253 23.0
46 ปีขึ้นไป 136 12.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 408 37.1
ปริญญาตรี 611 55.4
สูงกว่าปริญญาตรี 83 7.5
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 146 13.3
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 356 32.3
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 201 18.2
รับจ้างทั่วไป 91 8.3
นิสิต/นักศึกษา 265 24.0
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ พ่อบ้าน แม่บ้าน และเกษียณอายุ 43 3.9
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 02-350-3500 ต่อ 1776
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-