(ต่อ1) การกำหนดให้ส่งชุดข้อมูล(Data set)ที่เพิ่มเติมและปรับปรุงตามโครงการ DMSE ปี 2548 ต่อธนาคารแห่งประเทศไทย

ข่าวกฏหมายและประกาศ Friday December 23, 2005 14:50 —ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย

ยกเป็นสาธารณสมบัติหรือถูกเวนคืน หรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกรอนสิทธิหรือมีภาระผูกพัน ซึ่งทุกกรณีข้างต้นจะต้องมี
หลักฐานยืนยันชัดเจนได้ว่าอยู่ระหว่างการดำเนินงานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องและได้พยายามเร่งรัดการดำเนิน
การมากที่สุดแล้ว ให้นับระยะเวลาการถือครอง โดยเริ่มต้นจากวันที่การดำเนินการต่างๆ สิ้นสุดลงแล้วแต่กรณี
(3)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์รับซื้อหรือรับโอนอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ได้มาจากการ
ชำระหนี้จากสถาบันการเงินอื่น หรือได้รับมาเนื่องจากการรับชำระหนี้ ให้นับระยะเวลาถือครองอสังหาริมทรัพย์รอ
การขายดังกล่าว โดยเริ่มต้นนับจากวันที่ได้รับอสังหาริมทรัพย์นั้นมา
(4)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการมีการรับซื้อหรือรับ
โอนอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจหรือสำหรับพนักงานและลูกจ้างของสถาบันการเงินอื่น
ให้นับระยะเวลาถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายโดยเริ่มนับจากวันที่ได้รับอสังหาริมทรัพย์นั้นมา
(5)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการมีการรับซื้อหรือรับ
โอนอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจหรือสำหรับพนักงานและลูกจ้างของสถาบันการเงินที่มี
อำนาจควบคุมกิจการ ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่
สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในประกาศ ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจ
หรือสำหรับงานและลูกจ้างของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 23 มีนาคม 2548 หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม
โดยอนุโลม กล่าวคือ โดยหลักการแล้วให้ถือครองได้เพียง 1 ปี แต่หากไม่สามารถจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ได้ภาย
ในเวลา 1 ปีที่กำหนด ธนาคารแห่งประเทศไทยผ่อนผันเวลาการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ให้อีก 2 ปี โดย
บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการต้องกันเงินสำรองสำหรับอสังหาริมทรัพย์เหล่านั้นร้อย
ละ 25 และร้อยละ 50 ของราคายุติธรรมของสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองภายในปีที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ทั้งนี้ ให้นับ
เวลาการถือครองอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวต่อเนื่องจากวันที่สถาบันการเงินนั้นได้ถือครองมาแล้ว
2.2 แนวทางการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์รอการขาย
(1)บริษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ จะต้องเร่งทยอยจำหน่าย
อสังหาริมทรัพย์รอการขายออกไปโดยเร็ว ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องถือครองเกินกว่า 5 ปี บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่
สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการจะต้องทยอยจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวออกไปในปีที่ 6 จน
หมดจำนวนในปีที่ 10 โดยจำนวนเงินทั้งสิ้นที่ต้องจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์รอการขายในแต่ละปีนั้น จะต้องไม่ต่ำกว่า
มูลค่าตามบัญชีสุทธิของปีก่อนหน้าปีที่ต้องจำหน่ายหารด้วยจำนวนปีที่เหลือ(นับรวมปีที่ต้องจำหน่ายจนถึงปีสุดท้าย)ดัง
ตัวอย่างการคำนวณตามที่แนบ
(2)หากบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ จำหน่ายอสังหาริม
ทรัพย์รอการขายได้ไม่หมดภายใน 10 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทยผ่อนผันให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมี
อำนาจควบคุมกิจการที่สามารถกันเงินสำรองเพิ่มขึ้นสำหรับอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวในแต่ละช่วงเวลาดังที่
ระบุนี้ ถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวออกไปอีก 2 ปี
ก. ร้อยละ 25 ของมูลค่าที่ได้จากการประเมินราคาหรือตีราคาหรือราคาตามบัญชี
ของอสังหาริมทรัพย์อาการขายแล้ว แต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภายในปีที่ 11 นับแต่วันที่ได้รับโอนหรือวันที่การดำเนินใน
กรณีต่างๆ สิ้นสุดลง แล้วแต่กรณี
ข. ร้อยละ 50 ของมูลค่าที่ได้จากการประเมินราคาหรือตีราคาหรือราคาตามบัญชี
ของอสังหาริมทรัพย์รอการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภายในปีที่ 12นับแต่วันที่ได้รับโอนหรือวันที่การดำเนินการ
ในกรณีต่างๆ สิ้นสุดลง แล้วแต่กรณี
(3)บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการต้องทำการประเมินราคา
อสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ถือครองและกันเงินสำรอางสำหรับผลต่างของราคาตามบัญชีที่สูงกว่ามูลค่าที่ได้จากการ
ประเมินราคาหรือตีราคา
(4)ในการกันเงินสำรองตามข้อ(2) ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจ
ควบคุมกิจการ เริ่มกันเงินสำรองตั้งแต่งวดการบัญชีหกเดือนหลังของปี 2549 เป็นต้นไป
2.3 การจัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์รอการขาย
ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ จัดทำและเก็บรักษาเอกสาร
ที่เกี่ยวกับการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่กล่าวข้างต้น รวมทั้งเอกสารเกี่ยวกับการจำหน่าย และข้อมูลการ
กันเงินสำรองเพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบได้เมื่อร้องขอ
3. การซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
ห้ามมิให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นเกิดร้อยละ 10
ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทจำกัดนั้น หรือซื้อหรือมีหุ้นมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นเกินร้อยละ 20 ของ
เงินกองทุนของสถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการของบริษัทบริหารสินทรัพย์นั้น โดยในการคำนวณอัตราส่วนดัง
กล่าว ให้รวมหุ้นที่สถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการถืออยู่ด้วย และให้ถือปฏิบัติดังนี้
3.1 ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการถือปฎิบัติตามประกาศธนาคาร
แห่งประเทศไทย เรื่องการกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ถือปฏิบัติในเรื่องการซื้อหรือมีหุ้นมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นเป็น
อัตราส่วนกับเงินกองทุน ลงวันที่ 25 เมษายน 2546 หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ที่เกี่ยวกับวิธีการวัดมูลค่าเงินลง
ทุนในหุ้น โดยอนุโลม
3.2 หากบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัด
เกินอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ให้ถือปฏิบัติตามหนังสือของธนาคาร
แห่งประเทศไทย เรื่องการปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัดเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด ลง
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2547 และ 4 พฤษภาคม 2548 หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ที่เกี่ยวกับการผ่อนผันให้ซื้อหรือมี
หุ้นได้เกินอัตราที่กฎหมายกำหนดเนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ และระยะเวลาการลดสัดส่วนการถือหุ้นลง
ตลอดจนวิธีการจำหน่ายหุ้น โดยอนุโลม
3.3 การนับระยะเวลาการซื้อหรือมีหุ้นเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด
(1)กรณีที่บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัท
จำกัดเกิดอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือรับซื้อหรือรับโอนจาก
สถาบันการเงินอื่น ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2546 ซึ่งจะต้องลดอัตราส่วนลงภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2548 ให้เหลือ
ไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทจำกัด และมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นไม่เกินกว่าร้อย
ละ 20 ของเงินกองทุนของสถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการของบริษัทบริหารสินทรัพย์
(2)กรณีที่บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัท
จำกัดเกินอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือรับซื้อหรือรับโอนจาก
สถาบันการเงินอื่น ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2547 ซึ่งจะต้องลดสัดส่วนลงตามอัตราส่วนเช่นเดียวกับข้อ(1)ภายในวัน
ที่ 31 ธันวาคม 2549
ธนาคารแห่งประเทศไทยผ่อนผันสำหรับ 2 กรณีข้างต้น ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบัน
การเงินมีอำนาจควบคุมกิจการลดอัตราส่วนลงให้เหลือตามอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดภายในวันที่ 31
ธันวาคม 2550 โดยให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการจัดทำแผนการจำหน่ายหุ้นดัง
กล่าวให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่ประกาศฉบับเดิมลงวันที่ 29 สิงหาคม 2548
(ซึ่งได้ถูกยกเลิกโดยประกาศฉบับนี้)ใช้บังคับ(8 กันยายน 2548)
รายชื่อประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องกับบริษัทบริหารสินทรัพย์
การบัญชีสำหรับบริษัทบริหารสินทรัพย์
1. ธปท.สนส.(31)ว.2775/2545 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับการรับซื้อ หรือรับโอนลูกหนี้เงินให้กู้ยืม
และหลักเกณฑ์ในการกำกับดูแล ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2545
2. ธปท.สนส.(31)ว.2506/2546 เรื่องการซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสำหรับการ
รับซื้อหรือรับโอนลูกหนี้เงินให้กู้ยืม ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2546
3. สนส.(31)ว.43/2545 เรื่อง การนำส่งประกาศ ก.บช.ฉบับที่ 45(พ.ศ.2545) เรื่อง
มาตรฐานการบัญชีที่ยกเว้นการบังคับใช้กับธุรกิจที่ไม่ใช่บริษัทมหาชน จำกัด ลงวันที่ 3 เมษายน 2545
4. ธปท.สนส.(31)ว.166/2547 เรื่อง การบัญชีสำหรับการขายทรัพย์สินรอการขาย ลงวันที่ 4
กุมภาพันธ์ 2547
5. ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิบัติในเรื่องการบันทึก
บัญชีรับรู้ดอกเบี้ยค้างรับเป็นรายได้ ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541
นโยบาย วิธีการ และขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
1. ธปท.สนส.(21)ว.2942/2545 เรื่อง หลักเกณฑ์การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ของสถาบันการเงิน
ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2545
การจัดชั้น และการกันสำรองสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ
1. ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง สินทรัพย์ที่ไม่มีราคา หรือเรียกคืนไม่ได้ และสินทรัพย์ที่
สงสัยว่าจะไม่มีราคาหรือเรียกคืนไม่ได้ของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2547
2. ธปท.สนส.(21)ว.1938/2547 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การตัดลูกหนี้
ออกจากบัญชี ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2547
3. ธปท.สนส.(21)ว.91/2548 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการนับหนังสือค้ำประกันของ
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อมเป็นหลักประกัน ลงวันที่ 14 มกราคม 2548
4. ธปท.ฝนว.(21)ว.797/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมินมูลค่าหลักประกันของสถาบันการเงิน
ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2548
การซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัด
1. ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ถือปฏิบัติในเรื่องการซื้อ
หรือมีหุ้นมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นเป็นอัตราส่วนกับเงินกองทุน ลงวันที่ 25 เมษายน 2546
2. ธปท.สนส.(21)ว.188/2547 เรื่อง การปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัท
จำกัดเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด ลงวันที่ 5 กุมภาพันนธ์ 2547
3.ธปท.ฝนว.(21)ว.798/2548 เรื่อง การปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัด
เกินอัตราที่กฎหมายกำหนด ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2548
การรายงาน
1. สนส.(31)ว.45/2546 เรื่อง รายงานที่กำหนดให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ยื่น ลงวันที่ 12
มิถุนายน 2546 และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนดให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ยื่นรายงาน ลงวัน
ที่ 22 พฤษภาคม 2546
2. สนส.(31)ว.104/2547 เรื่อง การปรับแบบรายงานสถานะลูกหนี้ด้อยคุณภาพที่รับซื้อหรือรับโอน
ของบริษัทบริหารสินทรัพย์ (บบส.4) ลงวันที่ 27 กันยายน 2547
การถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขาย
1. ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ซึ่ง
เดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจหรือสำหรับพนักงานและลูกจ้างของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 23 มีนาคม 2548
1/ยอดคงค้างปีก่อน
2/=1/หารด้วยระยะเวลาการถือครองที่เหลืออีก 5 ปี
3/=1/-2/
4/=มูลค่าตามบัญชีสุทธิที่รับรู้การด้อยค่าแล้ว
สมมติฐาน
1.จำนวนอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ต้องจำหน่ายคำนวนจากมูลค่าตามบัญชีสุทธิ (มูลค่าอสังหาฯ หลัง
การด้อยค่า) ของปีที่ 5-9 (แล้วแต่กรณี) หารด้วยจำนวนปีคงเหลือจนถึงปีที่ 10
2.อสังหาฯ กองที่ 1
(ก) ได้มาในระหว่างวันที่ 1 ม.ค.-31 ธ.ค. ของปี 2542
(ข) ในระหว่างการถือครอง ไม่มีการด้อยค่า (มูลค่าตามบัญชีสุทธิ = ราคาทุนที่ได้มา)
(ค) จำนวนอสังหาฯ ที่ต้องทยอยจำหน่ายออกไป =100/5= ปีละ 20 ล้านบาท
3.อสังหาฯ กองที่ 2
(ก) ได้มาในปี 2543
(ข) อสังหาฯ มีการด้อยค่าระหว่างปี 2544-254/ (ระยะเวลาการถือครอง 5 ปี) มีมูลค่าตามบัญชี
สุทธิคงเหลือ 60 ล้านบาทในปี 2548
(ค) จำนวนอสังหาฯ ที่ต้องทยอยจำหน่ายออกไป =60/5= ปีละ 12 ล้านบาท
4. อสังหาฯ กองที่ 3
(ก) ได้มาในปี 2544
(ข) อสังหาฯ มีการด้อยค่าในระหว่างที่ถือครอง 10 ปี
(ค) จำนวนอสังหาฯ ที่ต้องทยอยจำหน่ายออกไป
-ปี 2550 = 80/5 = 16 ล้านบาท
-ปี 2551 = 60/4 = 15 ล้านบาท
-ปี 2552 = 42/3 = 14 ล้านบาท
-ปี 2553 = 20/2 = 10 ล้านบาท
-ปี 2554 = 8/1 = 8 ล้านบาท
5. *จำนวนอสังหาฯ ที่ต้องจำหน่ายออกไปทั้งสิ้นในปีที่ 7 (2549)คือ 32 จะเลือกจำหน่ายออกจาก
กองที่ 1 หรือกองที่ 2 หรือคละกัน ก็ได้
*จำนวนอสังหาฯ ที่ต้องจำหน่ายออกไปทั้งสิ้นในปีที่ 8 (2550)คือ 48 จะเลือกจำหน่ายออกจาก
กองที่ 1 หรือกองที่ 2 หรือคละกันก็ได้
*อสังหาฯ ที่ได้มาในระหว่างปีใหม่เริ่มนับอายุการถือครองในปีถัดไป
การดำเนินกิจการบริหารสินทรัพย์ของบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการบริษัทบริหาร
สินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการจะต้องดำเนินการดังนี้
1.การคำนวณอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง
ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการนำทรัพย์และภาระผูกพันของบริษัทไป
รวมเข้ากับสินทรัพย์และภาระผูกพันของสถาบันการเงินในการคำนวณอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงของ
สถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการนั้น
2.การถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขาย
นอกจากกรณีในข้อ 2.1(5)ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการถือ
ครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายได้เป็นระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี โดยถือปฏิบัติดังนี้
2.1 การนับระยะเวลาการถือครองอสังหาริมทรัพย์
(1)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์รับซื้อหรือรับโอนอสังหาริมทรัพย์รอการขายก่อนวันที่ประกาศฉบับ
เดิมลงวันที่ 29 สิงหาคม 2548 (ซึ่งได้ถูกยกเลิกโดยประกาศฉบับนี้)ใช้บังคับ(8 กันยายน 2548)จากสถาบันการ
เงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการ โดยสถาบันการเงินดังกล่าวได้อสังหาริมทรัพย์มาจากการชำระหนี้ ให้นับระยะเวลาถือ
ครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวโดยเริ่มต้นนับจากวันที่ได้รับซื้อหรือรับโอนมาจากสถาบันการเงิน
(2)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์รับซื้อหรือรับโอนอสังหาริมทรัพย์รอการขายตั้งแต่วันที่ประกาศ
ฉบับเดิมลงวันที่ 29 สิงหาคม 2548(ซึ่งได้ถูกยกเลิกโดยประกาศฉบับนี้)ใช้บังคับ(8 กันยายน 2548)จากสถาบัน
การเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการ โดยสถาบันการเงินดังกล่าวได้อสังหาริมทรัพย์มาจากการชำระหนี้ ให้นับระยะ
เวลาถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวต่อเนื่องจากวันที่สถาบันการเงินนั้นได้ถือครองมาแล้ว
หากในกรณีข้อ(1)-(2)อสังหาริมทรัพย์รอการขายที่มีประเด็นการโอนยังไม่บริบูรณ์เพราะ
อสังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ระหว่างฟ้องร้องดำเนินคดีในชั้นศาลหรือมีการยื่นข้อเสนอข้อพิพาทให้อนุญาตโตตุลาการพิจารณา
หรือมีการแจ้งความต่อเข้าพนักงานเพื่อขอให้ดำเนินคดีแล้วหรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่มีปัญหาในการรังวัดยังไม่เสร็จ
หรือไม่ถูกต้อง หรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่มีปัญหาเกี่ยวกับเอกสารสิทธิหรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ส่วนที่คงเหลือจากการ
ยกเป็นสาธารณสมบัติหรือถูกเวนคืน หรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกรอนสิทธิหรือมีภาระผูกพัน ซึ่งทุกกรณีข้างต้นจะต้องมี
หลักฐานยืนยันชัดเจนได้ว่าอยู่ระหว่างการดำเนินงานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องและได้พยายามเร่งรัดการดำเนิน
การมากที่สุดแล้ว ให้นับระยะเวลาการถือครอง โดยเริ่มต้นจากวันที่การดำเนินการต่างๆ สิ้นสุดลงแล้วแต่กรณี
(3)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์รับซื้อหรือรับโอนอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ได้มาจากการ
ชำระหนี้จากสถาบันการเงินอื่น หรือได้รับมาเนื่องจากการรับชำระหนี้ ให้นับระยะเวลาถือครองอสังหาริมทรัพย์รอ
การขายดังกล่าว โดยเริ่มต้นนับจากวันที่ได้รับอสังหาริมทรัพย์นั้นมา
(4)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการมีการรับซื้อหรือรับ
โอนอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจหรือสำหรับพนักงานและลูกจ้างของสถาบันการเงินอื่น
ให้นับระยะเวลาถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายโดยเริ่มนับจากวันที่ได้รับอสังหาริมทรัพย์นั้นมา
(5)กรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการมีการรับซื้อหรือรับ
โอนอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจหรือสำหรับพนักงานและลูกจ้างของสถาบันการเงินที่มี
อำนาจควบคุมกิจการ ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่
สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในประกาศ ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเดิมใช้เป็นสถานที่สำหรับดำเนินธุรกิจ
หรือสำหรับงานและลูกจ้างของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 23 มีนาคม 2548 หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม
โดยอนุโลม กล่าวคือ โดยหลักการแล้วให้ถือครองได้เพียง 1 ปี แต่หากไม่สามารถจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ได้ภาย
ในเวลา 1 ปีที่กำหนด ธนาคารแห่งประเทศไทยผ่อนผันเวลาการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ให้อีก 2 ปี โดย
บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการต้องกันเงินสำรองสำหรับอสังหาริมทรัพย์เหล่านั้นร้อย
ละ 25 และร้อยละ 50 ของราคายุติธรรมของสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองภายในปีที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ทั้งนี้ ให้นับ
เวลาการถือครองอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวต่อเนื่องจากวันที่สถาบันการเงินนั้นได้ถือครองมาแล้ว
2.2 แนวทางการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์รอการขาย
(1)บริษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ จะต้องเร่งทยอยจำหน่าย
อสังหาริมทรัพย์รอการขายออกไปโดยเร็ว ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องถือครองเกินกว่า 5 ปี บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่
สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการจะต้องทยอยจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวออกไปในปีที่ 6 จน
หมดจำนวนในปีที่ 10 โดยจำนวนเงินทั้งสิ้นที่ต้องจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์รอการขายในแต่ละปีนั้น จะต้องไม่ต่ำกว่า
มูลค่าตามบัญชีสุทธิของปีก่อนหน้าปีที่ต้องจำหน่ายหารด้วยจำนวนปีที่เหลือ(นับรวมปีที่ต้องจำหน่ายจนถึงปีสุดท้าย)ดัง
ตัวอย่างการคำนวณตามที่แนบ
(2)หากบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ จำหน่ายอสังหาริม
ทรัพย์รอการขายได้ไม่หมดภายใน 10 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทยผ่อนผันให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมี
อำนาจควบคุมกิจการที่สามารถกันเงินสำรองเพิ่มขึ้นสำหรับอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวในแต่ละช่วงเวลาดังที่
ระบุนี้ ถือครองอสังหาริมทรัพย์รอการขายดังกล่าวออกไปอีก 2 ปี
ก. ร้อยละ 25 ของมูลค่าที่ได้จากการประเมินราคาหรือตีราคาหรือราคาตามบัญชี
ของอสังหาริมทรัพย์อาการขายแล้ว แต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภายในปีที่ 11 นับแต่วันที่ได้รับโอนหรือวันที่การดำเนินใน
กรณีต่างๆ สิ้นสุดลง แล้วแต่กรณี
ข. ร้อยละ 50 ของมูลค่าที่ได้จากการประเมินราคาหรือตีราคาหรือราคาตามบัญชี
ของอสังหาริมทรัพย์รอการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภายในปีที่ 12นับแต่วันที่ได้รับโอนหรือวันที่การดำเนินการ
ในกรณีต่างๆ สิ้นสุดลง แล้วแต่กรณี
(3)บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการต้องทำการประเมินราคา
อสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ถือครองและกันเงินสำรอางสำหรับผลต่างของราคาตามบัญชีที่สูงกว่ามูลค่าที่ได้จากการ
ประเมินราคาหรือตีราคา
(4)ในการกันเงินสำรองตามข้อ(2) ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจ
ควบคุมกิจการ เริ่มกันเงินสำรองตั้งแต่งวดการบัญชีหกเดือนหลังของปี 2549 เป็นต้นไป
2.3 การจัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์รอการขาย
ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ จัดทำและเก็บรักษาเอกสาร
ที่เกี่ยวกับการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่กล่าวข้างต้น รวมทั้งเอกสารเกี่ยวกับการจำหน่าย และข้อมูลการ
กันเงินสำรองเพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบได้เมื่อร้องขอ
3. การซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
ห้ามมิให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นเกิดร้อยละ 10
ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทจำกัดนั้น หรือซื้อหรือมีหุ้นมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นเกินร้อยละ 20 ของ
เงินกองทุนของสถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการของบริษัทบริหารสินทรัพย์นั้น โดยในการคำนวณอัตราส่วนดัง
กล่าว ให้รวมหุ้นที่สถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการถืออยู่ด้วย และให้ถือปฏิบัติดังนี้
3.1 ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการถือปฎิบัติตามประกาศธนาคาร
แห่งประเทศไทย เรื่องการกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ถือปฏิบัติในเรื่องการซื้อหรือมีหุ้นมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นเป็น
อัตราส่วนกับเงินกองทุน ลงวันที่ 25 เมษายน 2546 หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ที่เกี่ยวกับวิธีการวัดมูลค่าเงินลง
ทุนในหุ้น โดยอนุโลม
3.2 หากบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัด
เกินอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ให้ถือปฏิบัติตามหนังสือของธนาคาร
แห่งประเทศไทย เรื่องการปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัทจำกัดเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด ลง
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2547 และ 4 พฤษภาคม 2548 หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ที่เกี่ยวกับการผ่อนผันให้ซื้อหรือมี
หุ้นได้เกินอัตราที่กฎหมายกำหนดเนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ และระยะเวลาการลดสัดส่วนการถือหุ้นลง
ตลอดจนวิธีการจำหน่ายหุ้น โดยอนุโลม
3.3 การนับระยะเวลาการซื้อหรือมีหุ้นเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด
(1)กรณีที่บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัท
จำกัดเกิดอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือรับซื้อหรือรับโอนจาก
สถาบันการเงินอื่น ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2546 ซึ่งจะต้องลดอัตราส่วนลงภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2548 ให้เหลือ
ไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทจำกัด และมีมูลค่าหุ้นรวมกันทั้งสิ้นไม่เกินกว่าร้อย
ละ 20 ของเงินกองทุนของสถาบันการเงินที่มีอำนาจควบคุมกิจการของบริษัทบริหารสินทรัพย์
(2)กรณีที่บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการซื้อหรือมีหุ้นในบริษัท
จำกัดเกินอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เนื่องจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือรับซื้อหรือรับโอนจาก
สถาบันการเงินอื่น ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2547 ซึ่งจะต้องลดสัดส่วนลงตามอัตราส่วนเช่นเดียวกับข้อ(1)ภายในวัน
ที่ 31 ธันวาคม 2549
ธนาคารแห่งประเทศไทยผ่อนผันสำหรับ 2 กรณีข้างต้น ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบัน
การเงินมีอำนาจควบคุมกิจการลดอัตราส่วนลงให้เหลือตามอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดภายในวันที่ 31
ธันวาคม 2550 โดยให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการจัดทำแผนการจำหน่ายหุ้นดัง
กล่าวให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่ประกาศฉบับเดิมลงวันที่ 29 สิงหาคม 2548
(ซึ่งได้ถูกยกเลิกโดยประกาศฉบับนี้)ใช้บังคับ(8 กันยายน 2548)
สินทรัพย์ชั้นที่สถาบันการเงินได้จำหน่ายออกจากบัญชีไปแล้ว และทรัพย์สินรอการขาย ทั้งนี้ให้รวมถึง
เงินทุนของบริษัทบริหารสินทรัพย์และบรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงินด้วย
การดำเนินการบริหารสินทรัพย์
ข้อ 4 การรับซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ
บริษัทบริหารสินทรัพย์จะต้องยื่นแผนงานการรับซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้ธนคารแห่งประเทศ
ไทยทราบก่อนทุกครั้ง โดยแผนงานดังกล่าวจะต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) ชื่อสถาบันการเงินที่เป็นผู้จำหน่ายสินทรัพย์
(2) ประเภทสินทรัพย์ที่จะรับซื้อหรือรับโอน
(3) มูลค่าของสินทรัพย์ที่จะรับซื้อหรือโอนและหลักเกณฑ์การประเมินราคาสินทรัพย์
(4) วันที่จะรับซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์
(5) สัญญาหรือเงื่อนไขอื่นๆ ในการจะรับซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์
ข้อ 5 การดำเนินการบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการ
ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินมีอำนาจควบคุมกิจการถือปฏิบัติตามเอสารแนบ 1 หรือที่จะมี
การแก้ไขเพิ่มเติม
ข้อ 6 การบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ
ให้บริษัทบริหารสินทรัพย์ถือปฏิยบัติเกี่ยวกับการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพตามเอกสารแนบ 2 หรือที่จะ
มีการแก้ไขเพิ่มเติม
ข้อ 7 สำนักงานสาขาของบริษัทบริหารสินทรัพย์
บริษัทบริหารสินทรัพย์อาจมีสำนักงานสาชาได้แต่ต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ใน
การอนุญาต ธนาคารแห่งประเทศไทยจะกำหนดเงื่อนไขให้ต้องปฏิบัติด้วยก็ได้
(ยังมีต่อ)

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ