Table 23 Report of Outstanding Balance of THB Borrowing Transaction with Non-Resident (Without Underlying)
Bank Code ...............................
Name ......................................
Date........................................... Unit : Baht
Contract Non-Residents Financial Transactions Total Outstanding
Type Number Date (dd/mm/yyyy) Name S.W.I.F.T.Code Type Sell/Buy Currency Amount
Balance
Trade Date Value Date Maturity Date (THB) (THB)
Total 0.00 0.00
Table 24 Report of Outstanding Balance of THB Borrowing Transactions with Non-Resident (With Underlying)
Bank Code..............................
Name...................................................
Date.................................. Unit : Baht
Contract Non-residents Financial Transaction Total Outstanding Underlying
Type Number Date (dd/mm/yyyy) Name S.W.I.F.T. Code Type Sell/Buy Currency Amount Balance Code Remarks
Trade Date Value Date Maturity Date (THB) (Baht) Investor Type
Total 0.00 0.00
รหัสสถาบันการเงิน ชื่อบริษัท ชื่อย่อ
9 01 บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) BLS
9 02 บริษัทหลักทรัพย์ ทิสโก้ จำกัด TSC
9 03 บริษัทหลักทรัพย์ แอ๊ดคินซัน จำกัด(มหาชน) ASL
9 04 บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส(ประเทศไทย) จำกัด DBSV
9 05 บริษัทหลักทรัพย์ ซิกโก้ จำกัด (มหาชน) SICSEC
9 06 บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) PHATRA
9 07 บริษัทหลักทรัพย์ บีที จำกัด BTSEC
9 08 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน) ASP
9 09 บริษัทหลักทรัพย์เครดิตสวิส เฟิร์สท์ บอสตัน (ประเทศไทย) จำกัด CSFB
9 10 บริษัทหลักทรัพย์ เอเพกซ์ จำกัด APEX
9 11 บริษัทหลักทรัพย์ กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KSEC
9 12 บริษัทหลักทรัพย์ นครหลวงไทย จำกัด SCIBS
9 13 บริษัทหลักทรัพย์ เคจีไอ (ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน) KGI
9 14 บริษัทหลักทรัพย์ พัฒนสิน จำกัด(มหาชน) CNS
9 15 บริษัทหลักทรัพย์ สินเอเซีย จำกัด ACS
9 16 บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาติ จำกัด (มหาชน) NATSEC
9 18 บริษัทหลักทรัพย์ ทีเอสอีซี จำกัด TSEC
9 19 บริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำกัด KKS
9 22 บริษัทหลักทรัพย์ ทรีนีตี้ จำกัด TRINITY
9 23 บริษัทหลักทรัพย์ ไทยพาณิชย์ จำกัด SCBS
9 24 บริษัทหลักทรัพย์ ไซรัส จำกัด (มหาชน) SYRUS
9 25 บริษัทหลักทรัพย์ โกลเบล็ก จำกัด GLOBLEX
9 26 บริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน(ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) UOBKHST
9 27 บริษัทหลักทรัพย์ บีฟิท จำกัด (มหาชน) BFITSEC
9 28 บริษัทหลักทรัพย์ แมคควอรี (ประเทศไทย) จำกัด MACQ
9 29 บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน) AYS
9 30 บริษัทหลักทรัพย์ อินเทลวิชั่น จำกัด IVS
9 32 บริษัทหลักทรัพย์ ฟาร์อีสท์ จำกัด FES
9 33 บริษัทหลักทรัพย์ฟินันซ่า จำกัด FINANSA
รหัสสถาบันการเงิน ชื่อบริษัท ชื่อย่อ
9 34 บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) PHILIP
9 38 บริษัทหลักทรัพย์ ยูไนเต็ด จำกัด (มหาชน) US
9 41 บริษัทหลักทรัพย์ เจพีมอร์แกน (ประเทศไทย) จำกัด JPM
9 42 บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน) KIMENG
9 43 บริษัทหลักทรัพย์ บีเอ็นพี พารีบาส์ พีรีกริน (ประเทศไทย) จำกัด BNPPP
9 45 บริษัทหลักทรัพย์ ซี แอล เอส เอ (ประเทศไทย) จำกัด CLSA
9 47 บริษัทหลักทรัพย์ ซีมิโก้ จำกัด (มหาชน) ZMICO
9 48 บริษัทหลักทรัพย์ พรูเด้นท์ สยาม จำกัด PSS
9 49 บริษัทหลักทรัพย์ ยูบีเอส (ประเทศไทย)จำกัด UBS
คู่มือการกรอกรายงาน ตารางที่ 23-24 (Report of Outstanding Balance of THB Borrowing
Transactions with Non-Resident หรือ รายงานยอดคงค้างการกู้เงินบาทจากผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ)
ก. การตั้งชื่อ File
ให้ตั้งตาม Format ดังต่อไปนี้ TBBBddmm.B051
T = ประเภทของรายงานให้ใช้รหัส
D = Data หมายถึงรายงานปกติ หรือ
C = Correction หมายถึงรายงานของวันที่มีการแก้ไข * หรือ
E = Error หรือ
Z = No Transaction
BBB = รหัสของสถาบันการเงิน ตามที่กำหนด
dd = รายงานประจำวันที่
mm = รายงานประจำเดือนที่
* กรณีที่ต้องการแก้ไขรายการที่ได้เคยรายงานไปแล้วในวันก่อน ให้แก้ไขรายการในรายการประจำเดือน (วันที่
ทำรายการ) โดยให้แสดงรายการที่แก้ไขเป็นสีแดง ตั้งชื่อ File ใช้รหัส T = C แล้วส่งรายงานดังกล่าวตามปกติ
ตัวอย่าง D0010308B051 = ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทยประจำวันที่ 3 สิงหาคม -- รายงานของสายตลาด
การเงินเลขที่ 051
** กรณีไม่มีรายการของการทำธุรกรรมในเดือนนั้น
- ตั้งชื่อ File Z9993006B051 = ไม่มีการทำธุรกรรมของ บล. 999 ประจำวันที่ 30 มิถุนายน -- รายงานของ
สาย ตลาดการเงินเลขที่ 051
- เติม 1 --30 June 2005 ในช่อง Date ในรายงาน
- พิมพ์ คำว่า No Transaction ในบรรทัดแรกของรายงาน
การจัดส่งข้อมูลให้รวบรวม File ที่จัดทำ Zip file แล้วจัดส่ง mail มาที่ FOGFXComplianceTeam@bot.or.th
ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
ข. คำอธิบายรายการ
1. ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศตามมาตรการนี้ (Non-Resident หรือ NR) หมายถึงนิติบุคคลหรือบุคคลที่ไม่
ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย
ก. นิติบุคคล ได้แก่กิจการ สถาบัน กองทุน บริษัท หรือสถาบันการเงินที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย
ข. สำนักงานสาขา และตัวแทนของนิติบุคคลไทยซึ่งตั้งอยู่นอกประเทศ
ค. บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทย และไม่มีใบต่างด้าว หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
นิติบุคคลดังต่อไปนี้ ไม่เข้าหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในมาตรการนี้
1) สถานทูตไทย สถานกงสุลไทย หรือหน่วยงานของรัฐบาลไทยที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย
2) สถานทูตต่างประเทศ สถานกงสุล ทบวงการชำนาญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติ องค์การหรือ
สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประจำการในประเทศไทย
3) สำนักงานสาขาและตัวแทนของบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย
2. การกู้ยืมเงินบาท หรือการทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนเป็นการกู้ยืมเงินบาทกับผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ
หมายถึงการกู้เงินบาทจากผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การกู้เงินบาทโดยตรง (Direct Loan) และ
การออกตราสารหนี้ระยะสั้น เป็นต้น
3. ธุรกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศไทย (Underlying) หมายถึง กิจกรรมทางการค้า การลงทุน และ
การบริการของลูกค้าที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ในลักษณะ back-to-back กับเงินที่กู้ยืมจาก NR เท่านั้น
4. รายการที่ไม่มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจรองรับ (Without Underlying Transaction -- ตารางที่ 23)
หมายถึง ธุรกรรมทางการเงินที่ สถาบันการเงินในประเทศรวมถึงบริษัทหลักทรัพย์ หรือ NR ไม่สามารถแสดง
หลักฐานธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่รองรับได้ ให้จำกัดการกู้เงินบาทจากNR ให้มียอดคงค้างรวมทุกธุรกรรม
(คอลัมน์ที่ 12) สูงสุดได้ไม่เกิน 50 ล้านบาทต่อราย
5. รายการที่มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจรองรับ (With Underlying Transaction -- ตารางที่24) หมายถึง
ธุรกรรมทางการเงินที่ สถาบันการเงินในประเทศรวมถึงบริษัทหลักทรัพย์ หรือ NR สามารถแสดงหลักฐานการ
มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจรองรับได้อย่างชัดเจนและครบถ้วน ซึ่งสถาบันการเงินสามารถทำธุรกรรมได้ไม่เกินมูลค่า
ของธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่รองรับ โดยสถาบันการเงินต้องรับผิดชอบตรวจสอบดูแลให้มั่นใจว่าเงินบาทที่กู้มา
นั้นมีธุรกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศหนุนหลังตลอดอายุสัญญา นอกจากนี้สถาบันการเงินรวมถึงบริษัทหลัก
ทรัพย์ต้องตรวจสอบหลักฐานแสดงธุรกรรมทางเศรษฐกิจให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งลงนามและวันที่ที่ตรวจ
สอบลงในเอกสารที่เกี่ยวข้องทุกรายการ แล้วจัดเก็บหลักฐานไว้ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบได้ตลอด
ระยะเวลา1ปี นับแต่วันที่ทำธุรกรรม
6. ต่อราย หมายความว่า ให้นับรวมสำนักงานใหญ่ สำนักงานสาขา สำนักงานตัวแทน และธุรกิจในเครือ
ที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทยทุกแห่งของNR (ถือหุ้นเกินกว่า30%) ทำธุรกรรมกับคู่ค้าในประเทศทุกแห่งรวมกันไม่
เกิน 50 ล้านบาท ในกรณีที่ไม่มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศรองรับ (Without Underlying)
ค. คำอธิบายช่องต่างๆในตารางที่ 23-24
(1) Type -- รหัสประเภทรายการ (1 ตัวอักษร) ดังนี้
O = Old ธุรกรรมที่ทำในวันก่อนและได้รายงานเป็นยอดคงค้างฯอยู่แล้ว หรือ
N = New ธุรกรรมที่ทำในวันที่ทำรายงานยอดคงค้างฯ หรือ
D = Delay ธุรกรรมที่ทำในวันก่อน แต่ยังไม่ได้รายงาน เป็นยอดคงค้าง (หากมีราย
การประเภทนี้เกิดขึ้น ให้สถาบันการเงินทำหนังสือชี้แจง ถึงสาเหตุที่ไม่ได้
รายงานยอดคงค้างฯ ในวันที่ทำธุรกรรม เสนอต่อผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์
และกำกับการแลกเปลี่ยนเงิน สายตลาดการเงินด้วย)
R = Rollover ธุรกรรมต่ออายุสัญญาที่จะครบกำหนด
U = Update ธุรกรรมลดยอดคงค้างเดิมทั้งรายการ หรือบางส่วนก่อนครบกำหนดอายุ
สัญญา
(2) Contract -- สัญญาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสถาบันการเงินกับNR
(2.1) Number -- เลขที่สัญญา (ควรกำหนดเลขที่สัญญาที่ทำในแต่ละปีไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน)
(2.2) Trade Date -- วันที่ตกลงทำธุรกรรม ตาม Format DD/MM/YY ปีค.ศ.
(2.3) Value Date -- วันที่ส่งมอบเงินในขาแรก ตาม Format DD/MM/YY ปีค.ศ.
(2.4) Maturity Date -- วันที่สัญญาครบกำหนด เช่น วันส่งมอบเงินตามสัญญาเงินกู้
(3) Non-Resident -- ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ (NR)
(3.1) Name -- ชื่อของNR คู่สัญญาและชื่อเมืองหรือที่ตั้งของสำนักงานที่ทำสัญญาตามที่ S.W.I.F.T. กำหนด
ไว้ใน BIC Directory (หากชื่อมี THE นำหน้าให้ตัดไปใส่ไว้ท้ายชื่อ เช่น XYZ BANK LTD., THE,
LONDON เป็นต้น) โดยให้เรียงรายการตามลำดับตัวอักษรจาก A ถึงZ
(3.2) S.W.I.F.T. Code -- รหัสประจำตัวของ NR ตามที่ S.W.I.F.T. กำหนด กรณีที่ไม่มี S.W.I.F.T. Code
ให้โทรศัพท์ขอรหัสจากเจ้าหน้าที่ทีมป้องปรามฯ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2283-5326-7 หรือ 0-2356-7639
(4) Financial Transaction -- ธุรกรรมทางการเงิน
(4.1) Type -- รหัสประเภทธุรกรรมตามเอกสารแนบ1ข้อ1.1
(4.2) Amount (THB) -- จำนวนเงินบาทตามสัญญา ณ วันที่สัญญาครบกำหนด (หน่วยเป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
(5) Total Outstanding Balance -- ยอดคงค้างการกู้เงินบาทจาก NR แต่ละราย
(6)ตารางที่ 24 -- Underlying -- ธุรกรรมทางการค้า การลงทุน หรือบริการในประเทศไทย
(6.1) Investor -- รหัสของผู้มี Underlying ตามเอกสารแนบ 1 ข้อ 2.1
(6.2) Type -- รหัสประเภท Underlying ตามเอกสารแนบ 1 ข้อ 2.2
(7) ตารางที่ 24 -- Remarks -- รายละเอียดเพิ่มเติม
รหัสต่างๆของตารางที่ 23 และตารางที่ 24
1. Financial Transaction
1.1 Type
ประเภทธุรกรรม รหัส
การกู้เงินบาทโดยตรงจากNR DI
การขายตราสารหนี้เงินบาทระยะสั้นให้NR BO
ธุรกรรมอื่นๆ (โปรดระบุ) OT
2. Underlying Code
2.1 Investor หมายถึง ผู้มีUnderlying มีรหัสดังนี้
NR -- ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศที่มีธุรกรรมการค้าการลงทุนในประเทศรองรับ
R -- ธุรกิจในประเทศ (Resident) ที่ต้องการกู้เงินบาทหรือทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนเป็นการกู้
เงินบาทกับธนาคารพาณิชย์และบริษัทหลักทรัพย์ในประเทศ
2.2 Type หมายถึง ประเภท Underlying มีรหัสดังนี้
IM (Import to Thailand) ค่าสินค้านำเข้า
EX (Export to Thailand) ค่าสินค้าส่งออก
LO (Loan) เงินกู้
DI (Foreign Direct Investment in Thailand) เงินลงทุนโดยตรงของNRในประเทศ
SI (Foreign Investment in SET) เงินลงทุนของNR ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
FI (Investment in Domestic Debt Instrument) เงินลงทุนในตราสารหนี้สกุลเงินบาทที่ออก
โดยธุรกิจในประเทศไทย
OI (Other Investment) เงินลงทุนอื่นๆ (โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
OT (Other) อื่นๆ (โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
Bank Code ...............................
Name ......................................
Date........................................... Unit : Baht
Contract Non-Residents Financial Transactions Total Outstanding
Type Number Date (dd/mm/yyyy) Name S.W.I.F.T.Code Type Sell/Buy Currency Amount
Balance
Trade Date Value Date Maturity Date (THB) (THB)
Total 0.00 0.00
Table 24 Report of Outstanding Balance of THB Borrowing Transactions with Non-Resident (With Underlying)
Bank Code..............................
Name...................................................
Date.................................. Unit : Baht
Contract Non-residents Financial Transaction Total Outstanding Underlying
Type Number Date (dd/mm/yyyy) Name S.W.I.F.T. Code Type Sell/Buy Currency Amount Balance Code Remarks
Trade Date Value Date Maturity Date (THB) (Baht) Investor Type
Total 0.00 0.00
รหัสสถาบันการเงิน ชื่อบริษัท ชื่อย่อ
9 01 บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) BLS
9 02 บริษัทหลักทรัพย์ ทิสโก้ จำกัด TSC
9 03 บริษัทหลักทรัพย์ แอ๊ดคินซัน จำกัด(มหาชน) ASL
9 04 บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส(ประเทศไทย) จำกัด DBSV
9 05 บริษัทหลักทรัพย์ ซิกโก้ จำกัด (มหาชน) SICSEC
9 06 บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) PHATRA
9 07 บริษัทหลักทรัพย์ บีที จำกัด BTSEC
9 08 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน) ASP
9 09 บริษัทหลักทรัพย์เครดิตสวิส เฟิร์สท์ บอสตัน (ประเทศไทย) จำกัด CSFB
9 10 บริษัทหลักทรัพย์ เอเพกซ์ จำกัด APEX
9 11 บริษัทหลักทรัพย์ กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KSEC
9 12 บริษัทหลักทรัพย์ นครหลวงไทย จำกัด SCIBS
9 13 บริษัทหลักทรัพย์ เคจีไอ (ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน) KGI
9 14 บริษัทหลักทรัพย์ พัฒนสิน จำกัด(มหาชน) CNS
9 15 บริษัทหลักทรัพย์ สินเอเซีย จำกัด ACS
9 16 บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาติ จำกัด (มหาชน) NATSEC
9 18 บริษัทหลักทรัพย์ ทีเอสอีซี จำกัด TSEC
9 19 บริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำกัด KKS
9 22 บริษัทหลักทรัพย์ ทรีนีตี้ จำกัด TRINITY
9 23 บริษัทหลักทรัพย์ ไทยพาณิชย์ จำกัด SCBS
9 24 บริษัทหลักทรัพย์ ไซรัส จำกัด (มหาชน) SYRUS
9 25 บริษัทหลักทรัพย์ โกลเบล็ก จำกัด GLOBLEX
9 26 บริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน(ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) UOBKHST
9 27 บริษัทหลักทรัพย์ บีฟิท จำกัด (มหาชน) BFITSEC
9 28 บริษัทหลักทรัพย์ แมคควอรี (ประเทศไทย) จำกัด MACQ
9 29 บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน) AYS
9 30 บริษัทหลักทรัพย์ อินเทลวิชั่น จำกัด IVS
9 32 บริษัทหลักทรัพย์ ฟาร์อีสท์ จำกัด FES
9 33 บริษัทหลักทรัพย์ฟินันซ่า จำกัด FINANSA
รหัสสถาบันการเงิน ชื่อบริษัท ชื่อย่อ
9 34 บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) PHILIP
9 38 บริษัทหลักทรัพย์ ยูไนเต็ด จำกัด (มหาชน) US
9 41 บริษัทหลักทรัพย์ เจพีมอร์แกน (ประเทศไทย) จำกัด JPM
9 42 บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน) KIMENG
9 43 บริษัทหลักทรัพย์ บีเอ็นพี พารีบาส์ พีรีกริน (ประเทศไทย) จำกัด BNPPP
9 45 บริษัทหลักทรัพย์ ซี แอล เอส เอ (ประเทศไทย) จำกัด CLSA
9 47 บริษัทหลักทรัพย์ ซีมิโก้ จำกัด (มหาชน) ZMICO
9 48 บริษัทหลักทรัพย์ พรูเด้นท์ สยาม จำกัด PSS
9 49 บริษัทหลักทรัพย์ ยูบีเอส (ประเทศไทย)จำกัด UBS
คู่มือการกรอกรายงาน ตารางที่ 23-24 (Report of Outstanding Balance of THB Borrowing
Transactions with Non-Resident หรือ รายงานยอดคงค้างการกู้เงินบาทจากผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ)
ก. การตั้งชื่อ File
ให้ตั้งตาม Format ดังต่อไปนี้ TBBBddmm.B051
T = ประเภทของรายงานให้ใช้รหัส
D = Data หมายถึงรายงานปกติ หรือ
C = Correction หมายถึงรายงานของวันที่มีการแก้ไข * หรือ
E = Error หรือ
Z = No Transaction
BBB = รหัสของสถาบันการเงิน ตามที่กำหนด
dd = รายงานประจำวันที่
mm = รายงานประจำเดือนที่
* กรณีที่ต้องการแก้ไขรายการที่ได้เคยรายงานไปแล้วในวันก่อน ให้แก้ไขรายการในรายการประจำเดือน (วันที่
ทำรายการ) โดยให้แสดงรายการที่แก้ไขเป็นสีแดง ตั้งชื่อ File ใช้รหัส T = C แล้วส่งรายงานดังกล่าวตามปกติ
ตัวอย่าง D0010308B051 = ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทยประจำวันที่ 3 สิงหาคม -- รายงานของสายตลาด
การเงินเลขที่ 051
** กรณีไม่มีรายการของการทำธุรกรรมในเดือนนั้น
- ตั้งชื่อ File Z9993006B051 = ไม่มีการทำธุรกรรมของ บล. 999 ประจำวันที่ 30 มิถุนายน -- รายงานของ
สาย ตลาดการเงินเลขที่ 051
- เติม 1 --30 June 2005 ในช่อง Date ในรายงาน
- พิมพ์ คำว่า No Transaction ในบรรทัดแรกของรายงาน
การจัดส่งข้อมูลให้รวบรวม File ที่จัดทำ Zip file แล้วจัดส่ง mail มาที่ FOGFXComplianceTeam@bot.or.th
ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
ข. คำอธิบายรายการ
1. ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศตามมาตรการนี้ (Non-Resident หรือ NR) หมายถึงนิติบุคคลหรือบุคคลที่ไม่
ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย
ก. นิติบุคคล ได้แก่กิจการ สถาบัน กองทุน บริษัท หรือสถาบันการเงินที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย
ข. สำนักงานสาขา และตัวแทนของนิติบุคคลไทยซึ่งตั้งอยู่นอกประเทศ
ค. บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทย และไม่มีใบต่างด้าว หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
นิติบุคคลดังต่อไปนี้ ไม่เข้าหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในมาตรการนี้
1) สถานทูตไทย สถานกงสุลไทย หรือหน่วยงานของรัฐบาลไทยที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย
2) สถานทูตต่างประเทศ สถานกงสุล ทบวงการชำนาญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติ องค์การหรือ
สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประจำการในประเทศไทย
3) สำนักงานสาขาและตัวแทนของบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย
2. การกู้ยืมเงินบาท หรือการทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนเป็นการกู้ยืมเงินบาทกับผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ
หมายถึงการกู้เงินบาทจากผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การกู้เงินบาทโดยตรง (Direct Loan) และ
การออกตราสารหนี้ระยะสั้น เป็นต้น
3. ธุรกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศไทย (Underlying) หมายถึง กิจกรรมทางการค้า การลงทุน และ
การบริการของลูกค้าที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ในลักษณะ back-to-back กับเงินที่กู้ยืมจาก NR เท่านั้น
4. รายการที่ไม่มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจรองรับ (Without Underlying Transaction -- ตารางที่ 23)
หมายถึง ธุรกรรมทางการเงินที่ สถาบันการเงินในประเทศรวมถึงบริษัทหลักทรัพย์ หรือ NR ไม่สามารถแสดง
หลักฐานธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่รองรับได้ ให้จำกัดการกู้เงินบาทจากNR ให้มียอดคงค้างรวมทุกธุรกรรม
(คอลัมน์ที่ 12) สูงสุดได้ไม่เกิน 50 ล้านบาทต่อราย
5. รายการที่มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจรองรับ (With Underlying Transaction -- ตารางที่24) หมายถึง
ธุรกรรมทางการเงินที่ สถาบันการเงินในประเทศรวมถึงบริษัทหลักทรัพย์ หรือ NR สามารถแสดงหลักฐานการ
มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจรองรับได้อย่างชัดเจนและครบถ้วน ซึ่งสถาบันการเงินสามารถทำธุรกรรมได้ไม่เกินมูลค่า
ของธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่รองรับ โดยสถาบันการเงินต้องรับผิดชอบตรวจสอบดูแลให้มั่นใจว่าเงินบาทที่กู้มา
นั้นมีธุรกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศหนุนหลังตลอดอายุสัญญา นอกจากนี้สถาบันการเงินรวมถึงบริษัทหลัก
ทรัพย์ต้องตรวจสอบหลักฐานแสดงธุรกรรมทางเศรษฐกิจให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งลงนามและวันที่ที่ตรวจ
สอบลงในเอกสารที่เกี่ยวข้องทุกรายการ แล้วจัดเก็บหลักฐานไว้ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบได้ตลอด
ระยะเวลา1ปี นับแต่วันที่ทำธุรกรรม
6. ต่อราย หมายความว่า ให้นับรวมสำนักงานใหญ่ สำนักงานสาขา สำนักงานตัวแทน และธุรกิจในเครือ
ที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทยทุกแห่งของNR (ถือหุ้นเกินกว่า30%) ทำธุรกรรมกับคู่ค้าในประเทศทุกแห่งรวมกันไม่
เกิน 50 ล้านบาท ในกรณีที่ไม่มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศรองรับ (Without Underlying)
ค. คำอธิบายช่องต่างๆในตารางที่ 23-24
(1) Type -- รหัสประเภทรายการ (1 ตัวอักษร) ดังนี้
O = Old ธุรกรรมที่ทำในวันก่อนและได้รายงานเป็นยอดคงค้างฯอยู่แล้ว หรือ
N = New ธุรกรรมที่ทำในวันที่ทำรายงานยอดคงค้างฯ หรือ
D = Delay ธุรกรรมที่ทำในวันก่อน แต่ยังไม่ได้รายงาน เป็นยอดคงค้าง (หากมีราย
การประเภทนี้เกิดขึ้น ให้สถาบันการเงินทำหนังสือชี้แจง ถึงสาเหตุที่ไม่ได้
รายงานยอดคงค้างฯ ในวันที่ทำธุรกรรม เสนอต่อผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์
และกำกับการแลกเปลี่ยนเงิน สายตลาดการเงินด้วย)
R = Rollover ธุรกรรมต่ออายุสัญญาที่จะครบกำหนด
U = Update ธุรกรรมลดยอดคงค้างเดิมทั้งรายการ หรือบางส่วนก่อนครบกำหนดอายุ
สัญญา
(2) Contract -- สัญญาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสถาบันการเงินกับNR
(2.1) Number -- เลขที่สัญญา (ควรกำหนดเลขที่สัญญาที่ทำในแต่ละปีไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน)
(2.2) Trade Date -- วันที่ตกลงทำธุรกรรม ตาม Format DD/MM/YY ปีค.ศ.
(2.3) Value Date -- วันที่ส่งมอบเงินในขาแรก ตาม Format DD/MM/YY ปีค.ศ.
(2.4) Maturity Date -- วันที่สัญญาครบกำหนด เช่น วันส่งมอบเงินตามสัญญาเงินกู้
(3) Non-Resident -- ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ (NR)
(3.1) Name -- ชื่อของNR คู่สัญญาและชื่อเมืองหรือที่ตั้งของสำนักงานที่ทำสัญญาตามที่ S.W.I.F.T. กำหนด
ไว้ใน BIC Directory (หากชื่อมี THE นำหน้าให้ตัดไปใส่ไว้ท้ายชื่อ เช่น XYZ BANK LTD., THE,
LONDON เป็นต้น) โดยให้เรียงรายการตามลำดับตัวอักษรจาก A ถึงZ
(3.2) S.W.I.F.T. Code -- รหัสประจำตัวของ NR ตามที่ S.W.I.F.T. กำหนด กรณีที่ไม่มี S.W.I.F.T. Code
ให้โทรศัพท์ขอรหัสจากเจ้าหน้าที่ทีมป้องปรามฯ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2283-5326-7 หรือ 0-2356-7639
(4) Financial Transaction -- ธุรกรรมทางการเงิน
(4.1) Type -- รหัสประเภทธุรกรรมตามเอกสารแนบ1ข้อ1.1
(4.2) Amount (THB) -- จำนวนเงินบาทตามสัญญา ณ วันที่สัญญาครบกำหนด (หน่วยเป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
(5) Total Outstanding Balance -- ยอดคงค้างการกู้เงินบาทจาก NR แต่ละราย
(6)ตารางที่ 24 -- Underlying -- ธุรกรรมทางการค้า การลงทุน หรือบริการในประเทศไทย
(6.1) Investor -- รหัสของผู้มี Underlying ตามเอกสารแนบ 1 ข้อ 2.1
(6.2) Type -- รหัสประเภท Underlying ตามเอกสารแนบ 1 ข้อ 2.2
(7) ตารางที่ 24 -- Remarks -- รายละเอียดเพิ่มเติม
รหัสต่างๆของตารางที่ 23 และตารางที่ 24
1. Financial Transaction
1.1 Type
ประเภทธุรกรรม รหัส
การกู้เงินบาทโดยตรงจากNR DI
การขายตราสารหนี้เงินบาทระยะสั้นให้NR BO
ธุรกรรมอื่นๆ (โปรดระบุ) OT
2. Underlying Code
2.1 Investor หมายถึง ผู้มีUnderlying มีรหัสดังนี้
NR -- ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศที่มีธุรกรรมการค้าการลงทุนในประเทศรองรับ
R -- ธุรกิจในประเทศ (Resident) ที่ต้องการกู้เงินบาทหรือทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนเป็นการกู้
เงินบาทกับธนาคารพาณิชย์และบริษัทหลักทรัพย์ในประเทศ
2.2 Type หมายถึง ประเภท Underlying มีรหัสดังนี้
IM (Import to Thailand) ค่าสินค้านำเข้า
EX (Export to Thailand) ค่าสินค้าส่งออก
LO (Loan) เงินกู้
DI (Foreign Direct Investment in Thailand) เงินลงทุนโดยตรงของNRในประเทศ
SI (Foreign Investment in SET) เงินลงทุนของNR ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
FI (Investment in Domestic Debt Instrument) เงินลงทุนในตราสารหนี้สกุลเงินบาทที่ออก
โดยธุรกิจในประเทศไทย
OI (Other Investment) เงินลงทุนอื่นๆ (โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
OT (Other) อื่นๆ (โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)