การอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน

ข่าวกฏหมายและประกาศ Wednesday October 19, 2005 13:58 —ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย

                                               19 ตุลาคม 2548 
เรียน ผู้จัดการ
ธนาคารพาณิชย์ทุกธนาคาร *
ที่ ฝนส.(21) ว.4/ 2548 เรื่อง นำส่งประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องการอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกรรมทางการเงินใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง และเพิ่มทางเลือกในการป้องกันความเสี่ยงแก่ลูกค้า ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ขอนำส่งประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2548 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 9 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ พ.ศ.2505 และแก้ไขเพิ่มเติม อนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน โดยกำหนดขอบเขตการทำธุรกรรม และแนวนโยบายในการกำกับดูแล สรุปได้ดังนี้
1.อนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน ภายได้กรอบการทำ
ธุรกรรม กำหนดในการประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ฉบับที่กล่าวข้างต้น ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 122 ตอนพิเศษ 114 ง.ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2548 โดยจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม 2548 เป็นต้นไป
2.ตามที่ประกาศกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ที่ประสงค์จะทำธุรกรรมในลักษณะ Leverage หลายเท่า
ตามที่ ธปท.กำหนดต้องขออนุญาต ธปท.เป็นรายกรณีก่อนนั้น ในเบื้องต้นเพื่อความชัดเจน ธปท.กำหนดให้การทำ
ธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีการ Leverage เกิน 2 เท่าเข้าข่ายต้องขออนุญาต ธปท.เป็นรายกรณี
ทั้งนี้ ไม่อนุญาตให้ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินในลักษณะ Leverage สำหรับธุรกรรมอนุพันธ์ทาง
การเงินที่ ธปท.กำหนดให้ทำกับคู่สัญญาที่จะต้องมี Underlying รองรับ (ตัวอย่างการพิจารณาความเหมาะสม
และความเพียงพอของ Underlying ในการเข้าทำธุรกรรมปรากฏตามเอกสารแนบ)
3.การขออนุญาต ธปท.ในการทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน เป็นรายกรณี ให้
ธนาคารพาณิชย์ จัดส่งคำขอมายัง ผู้อำนวยการ ฝ่ายกำกับสถาบันการเงินและตรวจสอบสถาบันเฉพาะกิจ สาย
กำกับสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
4.ธนาคารพาณิชย์จะต้องรายงานข้อมูลยอดคงค้างของธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน
ณ วันทำการสุดท้ายของเดือน ภายในวันสิ้นเดือนของเดือนถัดไป โดยการ รายงานในงวดแรกให้จัดส่งภายในสิ้น
เดือน พ.ย. 48 โดยป้อนข้อมูลใน Excel file ตาม Format มาตรฐานที่ ธปท.กำหนด และตั้งชื่อ file
ตามรูปแบบดังนี้ DDMSbbbyyyymmddSDV.xls โดย
DDMS เป็นค่าคงที่ (หากไม่มีข้อมูลให้ใช้ ZDMS)
bbb หมายถึงรหัสธนาคารผู้ส่งข้อมูล เช่น ธนาคารกรุงเทพ มีค่าเป็น 002 เป็นต้น
yyyy หมายถึงปีของข้อมูลให้ใช้ปี ค.ศ.4 หลัก เช่น 2004 เป็นต้น
mm หมายถึงเดือนของข้อมูล มีค่าระหว่าง 01-12
dd หมายถึงวันทำการสุดท้ายของเดือนที่รายงาน
SDV.xls เป็นค่าคงที่
ทั้งนี้ ให้ธนาคารพาณิชย์จัดส่งข้อมูลในช่องทางเดียวกับการส่งข้อมูล Excel file ของระบบ DMS
(Submit Data File) ไปยังฝ่ายบริหารข้อมูล ธนาคารแห่งประเทศไทย
5.ธนาคารพาณิชย์ที่ทำธุรกรรมดังกล่าวต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย
เรื่องการกำหนดอัตราส่วนจำนวนเงินที่ธนาคารพาณิชย์ให้สินเชื่อ ลงทุนและก่อภาระผูกพันเพื่อบุคคลหนึ่งบุคคลใดกับ
เงินกองทุน ลงวันที่ 29 เมษายน 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม (ตัวอย่างการ
คำนวณภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมปรากฏตามเอกสารแนบ) ทั้งนี้ จนกว่าการปรับปรุงประกาศการกำกับดูแลใน
เรื่องดังกล่าวเพื่อรองรับการทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อนจะแล้วเสร็จ
6.ธนาคารพาณิชย์ ที่ทำธุรกรรมดังกล่าวต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เรื่องแนวนโยบายการกำกับดูแล
ความเสี่ยงด้านตลาดของสถาบันการเงิน ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2546 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม และประกาศธนาคาร
แห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศดำรงเงินกองทุน หรือ เรื่อง การ
กำหนดให้สาขาของธนาคารต่างประเทศดำรงเงินกองทุน ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตาม
องค์ประกอบย่อยของธุรกรรม (ตัวอย่างการคำนวณเงินกองทุนที่จะต้องดำรงเพื่อรองรับการทำธุรกรรมปรากฏตาม
เอกสารแนบ) ทั้งนี้ จนกว่าการปรับปรุงประกาศการกำกับดูแลในเรื่องดังกล่าวเพื่อรองรับการทำธุรกรรมอนุพันธ์
ทางการเงินที่มีความซับซ้อนจะแล้วเสร็จ
7.ธนาคารพาณิชย์ที่ทำธุรกรรมดังกล่าวต้องปฏิบัติตามแนวนโยบายเรื่องหลักเกณฑ์การดำรงฐานะเงิน
ตราต่างประเทศ ลงวันที่ 21 มกราคม 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติ
ขอแสดงความนับถือ
(นางทองอุไร ลิ้มปีติ)
ผู้จัดการอาวุโส สายนโยบายสถาบันการเงิน
ผู้ว่าการ(แทน)
สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. เอกสารแนบ
2. ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์
ทำธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงินที่มีความซับซ้อน ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2548
ฝ่ายนโยบายความเสี่ยง
โทร. 0-2283-5307,0-2283-5302
หมายเหตุ [X
] มีการจัดประชุมชี้แจงในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 เวลา 9.30 น. ณ ห้องประชุมอาคาร 3 ชั้น 7 ธนาคารแห่งประเทศไทย
[
] ไม่มีการจัดประชุมชี้แจง
หลักเกณฑ์การพิจารณา Underlying และการกำกับดูแลการทำธุรกรรม Structured Derivatives
ประเด็นที่ครอบคลุมถึง
I. ความเหมาะสมและความเพียงพอของ Underlying
II. การกำกับดูแลด้าน Single Lending Limit
III. การดำรงเงินกองทุนเพื่อรองรับ Counterparty Risk
IV. การกำกับดูแลด้าน Market Risk
Assumption: ในตัวอย่างที่จะกล่าวในที่นี้
- ในกรณีการซื้อ/ขาย FX ล่วงหน้าให้สมมุติว่าลูกค้าเป็น Exporter โดยมีภาระรับมอบ USD ในอีก
6 เดือนข้างหน้า
- ในกรณีการทำ Swap ให้สมมุติว่าลูกค้ามีภาระเงินกู้ USD รวมทั้งภาระจ่ายอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศ
(USD LIBOR) โดยธุรกรรมที่กล่าวถึงจะเป็นการมองในด้านลูกค้า
- THB/USD Spot ณ วันที่รายงานเท่ากับ 40 บาท/ USD
ตัวอย่างที่ 1: ธุรกรรม Seagull
ส่วนประกอบ
ลำดับ ลูกค้า ธพ.
1 ซื้อ USD Put/THB Call @ 41 Notional ขาย USD Put/THB Call @ 41 Notional
Amount 1 M$ Amount 1 M$
2 ขาย USD Put/THB Call @ 43 Notional ซื้อ USD Put/THB Call @ 43 Notional
Amount 1 M$ Amount 1 M$
3 ขาย USD Put/THB Call @ 39 Notional ซื้อ USD Put/THB Call @ 39 Notional
Amount 1 M$ Amount 1 M$
I.ความเหมาะสมและความเพียงพอของ Underlying
Scenario การExercise ความเหมาะสมของ Required
Underlying Underlying
Spot <39 -Bank exercise Put @ 39 Offsetting Netting = 0
-ลูกค้า exercise Put @ 41
3941Spot>43 Bank exercise Call @ 43 Exporter ขายUSD 1M$
-จำนวน Underlying ที่ลูกค้าต้องมีในกรณีนี้อย่างน้อย 1M$
II การกำกับดูแล Single Lending Limit (Original Approach)
ในการคำนวณ Single Lending Limit สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้คำนวณมูลค่าเทียบ
เท่าที่จะนับเป็นภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม โดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Dervatives Notional Amt. CCF ภาระผูกพัน
1 ซื้อ USD Call @ 43 1,000,000 x 40 = 40,000,000 0.02 800,000
2 ซื้อ USD Put @ 39 1,000,000 x 40 = 40,000,000 0.02 800,000
รวมภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมนี้ทั้งสิ้น 1,600,000
III.เงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk
ในการคำนวณเงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้
คำนวณเงินกองทุนเพื่อรองรับการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรมโดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Dervatives Notional Amt. CCF RWA Required เงินกองทุน
Ratio
1 ซื้อ USD Call @ 43 1,000,000 x 40 = 0.02 100% 8.5% 68,000
40,000,000
2 ซื้อ USD Put @ 39 1,000,000 x 40 = 0.02 100% 8.5% 68,000
40,000,000
รวมเงินกองทุนเพื่อรองรับ Counterparty Risk 136,000
IV.เงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk
ธพ.จะต้องดำรงเงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk ตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม ซึ่งในกรณีนี้ได้แก่
i. USD Put/THB Call @ 41
ii. USD Call/THB Put @ 43
iii. USD Put/THB Call @ 39
ตัวอย่างที่ 2 : ธุรกรรม Forward Plus
ส่วนประกอบ
สำดับ ลูกค้า ธพ.
1 ซื้อ USD Put/THB Call @ 41 National ขาย USD Put/THB Call @ 41
Amount 1 M$ Amount 1 M$
2 ขาย USD Call/THB Put @ 41 National ซื้อ USD Call/THB Put @ 41
Amount 1 M$ Amount 1 M$
3 ขาย USD Call/THB Put @ 45 National ซื้อ USD Call/THB Put @ 45
Amount 1 M$ Amount 1 M$
I. ความเหมาะสมและความเพียงพอของ Underlying
Scenario การ Exercise ความเหมาะสมของ Required
Underlying Underlying
Spot <39 ลูกค้า exercise Put @ 41 Exporter ขาย USDa 1 M$
41Spot>45 -Bank exercise Call @ 41 -Exporter ขาย USDa 1 M$+
-Bank exercise Call @ 45 -Exporter ขาย USDa 1 M$
-จำนวน Underlying ที่ลูกค้าต้องมีในกรณีนี้อย่างน้อย 2 M$
II.การกำกับดูแล Single Lending Limit (Original Approach)
ในการคำนวณ Single Lending Limit สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้คำนวณมูลค่าเทียบ
เท่าที่จะนับเป็นภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม โดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Dervatives Notional Amt. CCF ภาระผูกพัน
1 ซื้อ Call @ 41 1,000,000 x 40 = 40,000,000 0.02 800,000
2 ซื้อ Call @ 45 1,000,000 x 40 = 40,000,000 0.02 800,000
รวมภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมนี้ทั้งสิ้น 1,600,000
III. เงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk
ในการคำนวณ Single Lending Limit สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้คำนวณเงินกอง
เพื่อรองรับการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรมโดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Dervatives Notional Amt. CCF RWA Required ภาระผูกพัน
Ratio
1 ซื้อ Call @ 41 1,000,000 x 40 = 0.02 100% 8.5% 68,000
40,000,000
2 ซื้อ Call @ 45 1,000,000 x 40 = 0.02 100% 8.5% 68,000
40,000,000
รวมเงินกองทุนเพื่อรองรับ Counterparty Risk 136,000
IV. เงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk
ธพ. จะต้องดำรงเงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk ตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม
ซึ่งในกรณีนี้ได้แก่
i. USD Put/THB Call @ 41
ii. USD Call/THB Put @ 41
iii. USD Call/THB Put @ 45
ตัวอย่างที่ 3 : Coupon Swap and Call Spread (on Principle)
Assume :
Notional Amount 100,000,000 บาท
2,500,000 USD
เงินต้น Amortized 10 งวด งวดละ 250,000 USD
สัญญาอายุ 5 ปี
ส่วนประกอบ
ลำดับ ลูกค้า ธพ.
1 Coupon Swap โดย Coupon Swap โดย
-รับดอกเบี้ย USD LIBOR on USD -จ่ายดอกเบี้ย USD LIBOR on USD
Notional และ Notional และ
-จ่ายดอกเบี้ย THBFIX (Semi-Annually) -รับดอกเบี้ย THBFIX (Semi-Annually)
on THB Notional (Fixed rate on THB Notional (Fixed rate @ inception)
@ inception)
2 ซื้อ Series of USD Call/THB Put ที่ Strike ขายSeries of USD Call/THB Put ที่ Strike
40 ฿/$(ตาม Amount ที่จะต้องชำระเงินกู้ 40฿/$(ตาม Amount ที่จะต้องชำระเงินกู้แต่
แต่ละงวด:สมมุติว่าเท่ากับ 0.25 M$) แต่ละงวด:สมมุติว่าเท่ากับ 0.25 M$)
3 ขาย Series of USD Call/THB Put ที่ ซื้อ Series of USD Call/THB Put ที่ Strike
Strike 42 ฿/$(ตาม Amount ที่จะต้อง 42 ฿/$(ตาม Amount ที่จะต้องชำระเงินกู้แต่
ชำระเงินกู้แต่ละงวด:สมมุติว่าเท่ากับ 0.25 ละงวด:สมมุติว่าเท่ากับ 0.25 M$)
M$)
I. ความเหมาะสมและความเพียงพอของ Underlying
Coupon Swap
-ลูกค้ารับดอกเบี้ย USD LIBOR on USD Notional
-ลูกค้าจ่ายดอกเบี้ย THBFIX ON THB Notional(Semi-Annually)
-ลูกค้ามีภาระจ่ายดอกเบี้ย on USD LIBOR \สามารถทำได้
Call Spread on Principe Amount
Scenario การExercise ความเหมาะสมของ Required
Underlying Underlying
Spot<40 ไม่มีการ exercise N/A N/A
40Spot>42 -ลูกค้า exercise Call@40 Offsetting Netting=0
-Bank exercise Call@42
-จำนวน Underlying ที่ลูกค้าต้องมีในกรณีนี้อย่างน้อย 0.25 M$ xจำนวนงวดที่มีการจ่ายชำระคืนเงิน
ต้น(เท่ากับ 2.5M$)
II.การกำกับดูแล Single Lending Limit (Original Approach)
ในการคำนวณ Single Lending Limit สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้คำนวณมูลค่าเทียบ
เท่าที่จะนับเป็นภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม โดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Derivatives Notional Amt. CCF ภาระผูกพัน
1 Coupon Swap 100,000,000 บาท 0.05 5,000,000
2 ซื้อ Call @ 42 อายุ 6 เดือน 250,000 x 40=10,000,000 0.02 200,000
3 ซื้อ Call @ 42 อายุ 1 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.02 200,000
4 ซื้อ Call @ 42 อายุ 1.5 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
5 ซื้อ Call @ 42 อายุ 2 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
6 ซื้อ Call @ 42 อายุ 2.5 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
7 ซื้อ Call @ 42 อายุ 3 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
8 ซื้อ Call @ 42 อายุ 3.5 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
9 ซื้อ Call @ 42 อายุ 4 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
10 ซื้อ Call @ 42 อายุ 4.5 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
11 ซื้อ Call @ 42 อายุ 5 ปี 250,000 x 40=10,000,000 0.05 500,000
รวมภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมนี้ทั้งสิ้น 9,400,000
III. เงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk
ในการคำนวณเงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้ดำรง
เงินกองทุนเพื่อรองรับการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรมโดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Derivatives Notional Amt. CCF RWA Required เงินกองทุน
Ratio
1 Coupon Swap 100,000,000 บาท 0.05 100% 8.5% 425,000
2 ซื้อCall @ 42 250,000 x 40 = 0.02 100% 8.5% 17,000
อายุ 6 เดือน 10,000,000
3 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.02 100% 8.5% 17,000
อายุ 1 ปี 10,000,000
4 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 1.5 ปี 10,000,000
5 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 2 ปี 10,000,000
6 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 2.5 ปี 10,000,000
7 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 3 ปี 10,000,000
8 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 3.5 ปี 10,000,000
9 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 4 ปี 10,000,000
10 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 4.5 ปี 10,000,000
11 ซื้อ Call @ 42 250,000 x 40 = 0.05 100% 8.5% 42,500
อายุ 5 ปี 10,000,000
รวมเงินกองทุนเพื่อรองรับ Counterparty Risk 799,000
IV. เงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk
ธพ. จะต้องดำรงเงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk ตามองค์ประกอบย่อยของ
ธุรกรรม ซึ่งในกรณีนี้ได้แก่
i. Coupon Swap
ii. USD Call/THB Put @ 40 จำนวน 10 ธุรกรรม (อายุ 6 เดือน, 1 ปี, 1.5 ปี,
2 ปี, 2.5 ปี, 3 ปี, 3.5 ปี, 4 ปี, 4.5 ปี และ 5 ปี)
iii USD Call/THB Put @ 42 จำนวน 10 ธุรกรรม (อายุ 6 เดือน, 1 ปี, 1.5 ปี,
2 ปี, 2.5 ปี, 3 ปี, 3.5 ปี, 4 ปี, 4.5 ปี, และ 5 ปี)
ตัวอย่างที่ 4
ส่วนประกอบ
ลำดับ ลูกค้า ธพ.
1 ซื้อUSD Put/THB Call @ 41 Notional ขาย USD Put/THB Call @ 41 Notional
Amount 1 M$ Amount 1 M$
2 ขาย USD Call/THB Put @ 41 Notional ซื้อ USD Call/THB Put @ 41 Notional
Amount 1 M$ Amount 1 M$
3 ซื้อ Digital Call @ 43 Payoff 3 ฿/$ ขาย Digital Call @ 43 Payoff 3 ฿/$
(Premium 1฿/$) (Premium 1฿/$)
การพิจารณา Digital Call Option:
-ใช้ Call Spread ที่มีความแตกต่างของ Strike = 25 Basis Points (ซื้อ USD Call @ 43
และ ขาย USD Call @ 43.25) ในการ Replicate Digital Call
-เพื่อให้ได้ Payoff 3 ฿/$ บน Notional amount 1 M$ จะต้องทำ USD Call Spread ตาม
กล่าวข้างต้นโดยมี Notional Amount เท่ากับ 12 M$ (3,000,000/0.25)
-การที่ ธพ. ขาย Digital Call Option @ 43 โดยมี Payoff 3 ฿/$ ก็เปรียบเสมือน ธพ.
ขาย USD Call @ 42.75 Notional amount 12 M$
ซื้อ USD Call @ 43 Notional amount 12 M$
I. ความเหมาะสมและความเพียงพอของ Underlying
Scenarios การ Exercise Option ความเหมาะสมของ Required
Underlying Underlying
Spot < 41 ลูกค้า exercise Put Option Exporter ขาย USD 1 M$
41 < Spot < 43 Bank exercise Call Option Exporter ขาย USD 1 M$
Spot > 43 Bank exercise Call Option Offsetting 1 M$1
- จำนวน Underlying ที่ลูกค้าต้องมีในกรณีนี้อย่างน้อย 1 M$
II. การกำกับดูแล Single Lending Limit (Original Approach)
ในการคำนวณ Single Lending Limit สำหรับธุรกรรมดังกล่าว ให้คำนวณมูลค่าเทียบเท่าที่จะนับเป็น
ภาระผูกพันจากการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรม โดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Derivatives Notional Amt. CCF ภาระผูกพัน
1 ซื้อ USD Call @ 41 1,000,000 x 40 = 40,000,000 0.02 800,000
2 ซื้อ USD Call @ 43 12,000,000 x 40 = 480,000,000 0.02 9,600,000
รวมภาระผูกพันจาการทำธุรกรรมนี้ทั้งสิ้น 10,400,000
III. เงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk
ในการคำนวณเงินกองทุนสำหรับ Counterparty Risk สำหรับธุรกรรมดังกล่าวให้ดำรงเงินกองทุน
เพื่อรองรับการทำธุรกรรมอนุพันธ์ฯ ดังกล่าวตามองค์ประกอบย่อยของธุรกรรมโดยในกรณีนี้ได้แก่
ลำดับ Derivatives Notional Amt. CCF RWA Required เงินกองทุน
Ratio
1 ซื้อ USD Call @ 41 1,000,000 x 40 0.02 100% 8.5% 68,000
= 40,000,000
2 ซื้อ USD Call @ 43 12,000,000 x 40 0.02 100% 8.5% 816,000
= 480,000,000
รวมเงินกองทุนเพื่อรองรับ Counterparty Risk 884,000
IV. เงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk
ธพ. จะต้องดำรงเงินกองทุนเพื่อรองรับ Market Risk ตามองค์ประกอบย่อย ซึ่งในกรณีได้แก่
i. USD Put/THB Call @ 41
ii. USD Call/THB Put @ 41
iii. Digital Call @ 43
ตัวอย่างที่ 5
ส่วนประกอบ
ลำดับ ลูกค้า ธพ.
1 ซื้อ USD Put/THB Call @ 41 Notional ขาย USD Put/THB Call @ 41 Notional
Amount 1 M$ Amount 1M$
2 ขาย USD Call/THB Put @ 41 Notional ซื้อ USD Call/THB Put @ 41 Notional
Amount 1 M$ Amount 1 M$
3 ขาย Digital Call @ 43 Payoff 3 ฿/$ ซื้อ Digital Call @ 43 Payoff 3 ฿/$
(Premium 1 ฿/$) (Premium 1 ฿/$)
การพิจารณา Digital Call Option:
-ใช้ Call Spread ที่มีความแตกต่างของ Strike = 25 Basis Points (ซื้อ USD Call @ 43 และ
ขาย USD Call @ 43.25) ในการ Replicate Digital Call
-เพื่อให้ได้ Payoff 3 ฿/$ บน Notional amount 1M$ จะต้องทำ USD Call Spread ตามกล่าวข้าง
ต้นโดยมี Notional Amount เท่ากับ 12 M$ (3,000,000 / 0.25)
-การที่ ธพ. ซื้อ Digital Call Option @ 43 โดยมี Payoff 3฿/$ ก็เปรียบเสมือน ธพ.
ซื้อ USD Call @ 43 Notional amount 12 M$
ขาย USD Call @ 43.25 Notional amount 12 M$
I. ความเหมาะสมและความเพียงพอของ Underlying
Scenarios การ Exercise Option ความเหมาะสมของ จำนวน
Underlying Underlying
Spot<41 ลูกค้า Ex. Put Option Exporter ขาย USD 1 M$
41 Spot > 43 Bank Ex. Call Option Exporter ขาย USD 1 M$+
(ยังมีต่อ)

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ