6 พฤศจิกายน 2549
เรียน ผู้จัดการ
ธนาคารพาณิชย์ทุกธนาคาร
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
ธนาคารออมสิน
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
บริษัทเงินทุนทุกบริษัท
บริษัทหลักทรัพย์ทุกบริษัท
ที่ ธปท.ฝกช.(02)ว.1604/2549 เรื่อง การจัดทำรายงานตามมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) มีหนังสือเวียนที่ ธปท.ฝกช.(02)ว.1593/2549 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2549 ขอร่วมมือสถาบันการเงินปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติตามมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท ซึ่งกำหนดให้สถาบันการเงินจัดทำรายงานการทำธุรกรรมกับผู้มีถิ่นอยู่นอกประเทศ(Non-resident: NR) ให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่ ธปท.กำหนด นั้น
ธปท.เห็นสมควรกำหนดแนวทางการรายงานให้สอดคล้องกับการปรับปรุงมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาทดังกล่าว โดยให้สถาบันการเงินจัดทำรายงานการทำธุรกรรมกับ NR ตามแบบรายงาน ตลอดจนระเบียบและวิธีปฏิบัติการจัดทำรายงานที่แนบมาพร้อมนี้
จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติ ทั้งนี้ ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2549 เป็นต้นไป
ขอแสดงความนับถือ
(นางสาวนิตยา พิบูลย์รัตนกิจ)
ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน
ผู้ว่าการแทน
ฝ่ายกำกับการแลกเปลี่ยนเงินและสินเชื่อ
สายตลาดการเงิน
โทรศัพท์ 0-2283-5326-7, 0-2356-7639
โทรสาร 02-283-5428
ระเบียบและวิธีปฏิบัติการจัดทำรายงาน
เพื่อประโยชน์ในการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
1.หลักการและเหตุผล
ให้สถาบันการเงินจัดทำรายงานข้อมูลการทำธุรกรรมกับผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ(Non-resident:NR) จัดส่งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อประโยชน์ในการติดตาม วิเคราะห์ และกำกับการทำธุรกรรมของสถาบันการเงินกับ NR ให้เป็นไปตามมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท และเพื่อประโยชน์ต่อการดูแลค่าเงินบาทให้มีเสถียรภาพ สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม
2.ขอเขตการรายงาน
ให้สถาบันการเงินจัดทำรายงานโดยมีขอบเขตการรายงานดังต่อไปนี้
แบบรายงาน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มี บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
ตาราง 21-22 / / /
ตาราง 23-24 / / / /
ตาราง 25-27 / /
ตาราง 28 / /
3.ช่องทาง และกำหนดการจัดส่ง
สำหรับธนาคารพาณิชย์ และ
สถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
แบบรายงาน จัดส่งภายใน ความถี่ วิธีการส่งรายงาน
ตาราง 21-26 12.00 น.ของวันทำการถัดไป รายวัน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านโปรแกรม
ตาราง 27 วันทำการที่ 3 ของสัปดาห์ถัดไป รายสัปดาห์ Microsoft Exchange
ตาราง 28 วันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือน รายเดือน Email: FOGFXCompliance Team
ที่ต้องรายงาน @bot.or.th
สำหรับบริษัทเงินทุน
แบบรายงาน จัดส่งภายใน ความถี่ วิธีการส่งรายงาน
ตาราง 21-24 12.00 น.ของวันทำการถัดไป รายวัน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านโปรแกรม
Microsoft Exchange
สำหรับบริษัทหลักทรัพย์
แบบรายงาน จัดส่งภายใน ความถี่ วิธีการส่งรายงาน
ตาราง 23-24 วันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือน รายเดือน Email: FOGFXCompliance Team
ที่ต้องรายงาน @bot.or.th
4.แบบรายงาน และข้อมูลที่ต้องรายงาน
ให้สถาบันการเงินจัดทำรายงานตาราง 21-28 ตามแบบตารายงานที่แนบมาพร้อมนี้ โดยมีสาระสำคัญของข้อมูลที่ต้องรายงานในแต่ละตาราง ดังนี้
ตาราง ข้อมูลที่ต้องรายงาน
21 Report of Outstanding Balance ธุรกรรมที่สถาบันการเงินปล่อยสภาพคล่องเงินบาทหรือ สร้างภาระ
of THB Lending Trasactions ผูกพันใดๆ ที่มีผลให้ต้องจ่ายเงินตราต่างประเทศในอนาคตให้แก่
with Non-resident(Whitout Non-resident(NR) ภายใต้มาตรการจำกัดการปล่อยสภาพคล่อง
Underlying) เงินบาทแบบไม่มี Underlying รองรับ รายธุรกรรม
22 Report of Outstanding Balance ธุรกรรมที่สถาบันการเงินปล่อยสภาพคล่องเงินบาทหรือ สร้างภาระ
of THB Lending Trasactions ผูกพันใดๆ ที่มีผลให้ต้องจ่ายเงินตราต่างประเทศในอนาคตให้แก่
with Non-resident(Whitout NR ภายใต้มาตรการจำกัดการปล่อยสภาพคล่อง
Underlying) Underlying รองรับ รายธุรกรรม
ธุรกรรมที่ธนาคารพาณิชย์ไทยให้กู้ยืมเงินบาทหรือรับซื้อเงินตราต่าง
ประเทศแลกเงินบาท value same day หรือ value tomorrow
กับสาขาของตนในประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทยและสาธารณรัฐ
สังคมนิยมเวียดนาม รายธุรกรรม
สำหรับธุรกรรมรับซื้อเงินตราต่างประเทศแลกเงินบาทจาก NR บุคคล
ธรรมดา value same day หรือ value tomorrow ให้รายงาน
ดังนี้
1) ธุรกรรมที่มีจำนวนเงินน้อยกว่า 500,000 บาทต่อรายต่อวัน ไม่ต้อง
รายงาน
2) ธุรกรรมที่มีจำนวนเงินตั้งแต่ 500,000 บาทขึ้นไปแต่ไม่ถึง 25 ล้านบาท
ต่อรายต่อวัน ให้รายงานเป็นยอดรวม เดือนละครั้งทุกวันทำการแรกของเดือน
ถัดไป
3) ธุรกรรมที่จำนวนเงินตั้งแต่ 25 ล้านบาทต่อรายต่อวัน ให้รายงานรายธุรกรรม
23 Report of Outstanding Balance ธุรกรรมที่สถาบันการเงินกู้ยืมเงินบาท หรือเสมือนการกู้ยืมเงินบาทจาก NR ทุก
of THB Borrowing Transactions อายุสัญญา ซึ่งได้แก่ ธุรกรรมที่มีอายุสัญญาไม่เกิน 3 เดือนภายใต้มาตรการดูแล
with Non-Resident(Without เงินทุนนำเข้าระยะสั้น และที่มีอายุสัญญาเกินกว่า 3 เดือนแบบไม่มี Underlying
Undderlying) รองรับ รายธุรกรรม
24 Report of Outstanding Balance ธุรกรรมที่สถาบันการเงินกู้ยืมเงินบาท หรือเสมือนการกู้ยืมเงินบาทจาก NR ทุก
of THB Borrowing Transactions อายุสัญญา ซึ่งได้แก่ ธุรกรรมที่มีอายุสัญญาไม่เกิน 3 เดือนภายใต้มาตรการดูแล
with Non-Resident(Without เงินทุนนำเข้าระยะสั้น และที่มีอายุสัญญาเกินกว่า 3 เดือนแบบมี Underlying
Undderlying) รองรับ รายธุรกรรม
ธุรกรรมที่ธนาคารพาณิชย์ไทยกู้ยืมเงินบาทหรือขายเงินตราต่างประเทศแลก
เงินบาท value same day หรือ value tomorrow กับสาขาของตนใน
ประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทยและสารธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
รายธุรกรรม
25 ยอดคงค้างของบัญชี NRBA ทุกบัญชี ยอดคงค้างบัญชีของบัญชี Non-resident Baht Account(NRBA) ทุกบัญชี
26 ยอดคงค้างของบัญชี NRBA จำนวน ยอดคงค้างของบัญชี NRBA รายบัญชีที่มีจำนวนเงินตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป
เงินตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป
27 บัญชี NRBA ที่เปิดบัญชีใหม่ประจำสัปดาห์ ยอดคงค้างรายบัญชี NRBA ที่เปิดบัญชีใหม่ประจำสัปดาห์
28 รายงรายงานการเคลื่อนไหวของบัญชี SNA รายงานการเคลื่อนไหวของบัญชี SNA แต่ละบัญชี
5.การตั้งชื่อ File
ให้ตั้งตาม Format ดังต่อไปนี้
แบบรายงาน Format ชื่อ File
ตาราง 21-22 TBBBddmm.B05
ตาราง 23-24 TBBBddmm.B051
ตาราง 25-27 OBBBddmm.B052
ตาราง 28 MBBBmm.B053
รหัสใน Format ชื่อ File มีรายละเอียด ดังนี้
T คือ ประเภทของรายงาน
ใช้รหัส D = Data หมายถึงรายงานปกติ หรือ
C = Correction หมายถึงรายงานของวันที่มีการแก้ไข*
Z = No Transaction
O คือ Outstanding of Nonresident Baht account
M คือ Movement of transactions in Nonresident Baht account
BBB คือ รหัสของสถาบันการเงิน ตามที่กำหนด
dd คือ รายงานประจำวันที่
mm คือ รายงานประจำเดือนที่
ตัวอย่างการตั้งชื่อ : D0010308.B501 = ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำวันที่ 3 สิงหาคม-รายงานของสายตลาดการเงินเลขที่ 051
6.คำอธิบายการกรอกข้อมูล และรหัส
6.1 ธุรกรรมและรหัสธุรกรรมที่เปลี่ยนแปลง
ธุรกรรม และรหัสธุรกรรมตามหนังสือเวียนฉบับนี้เพิ่มเติมจากที่กำหนดไว้เดิม ในสาระสำคัญ คือ
ธุรกรรม รหัส ตารางที่เกี่ยวข้อง
การปล่อยกู้เงินบาทโดยตรงให้แก่ NR DI 22
การซื้อพันธบัตรหรือตราสารหนี้สกุลบาทที่ออกโดย NR FP 22
Structured Derivatives อ้างอิงอัตราแลกเปลี่ยน และดัชนีอัตราแลกเปลี่ยน
ธุรกรรม Forward รวมกับ Derivatives อื่น XF 21-24
ธุรกรรม Cross Currency Swap หรือ FX Swap รวมกับ Dervivatives อื่น XS
ธุรกรรม Option ที่ไม่ใช่ Plain Vanilla Call/Put XO
ธุรกรรมที่เกิดจากการรวมของ Plain Vanilla Option และ/หรือ
Option ที่ไม่ใช่ Plain Vanilla
Structured Derivatives อ้างอิงอัตราดอกเบี้ย และดัชนีอัตราดอกเบี้ย XI 21-22
*กรณีที่ต้องการแก้ไขรายละเอียดที่ได้เคยรายงานไปแล้วในวันก่อน ให้แก้ไขรายในรายการประจำเดือน(วันที่ทำรายการ) โดยให้แสดงรายการแก้ไขเป็นสีแดง ตั้งชื่อ File ใช้รหัส T=C แล้วส่งรายงานดังกล่าวตามปกติ
6.2 คำอธิบายการกรอกข้อมูล และรหัสในตาราง 21-22
(1) Bank Code รหัสของสถาบันการเงิน(ตัวเลข 3 หลัก) ตามที่ฝ่ายบริหารข้อมูลกำหนด
(2) Name ชื่อสถาบันการเงิน(ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ)
(3) Date วันที่ทำรายงาน ใช้ Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(4) Record Type รหัสประเภทรายการ(1 ตัวอักษร) ดังนี้
O = Old ธุรกรรมที่ทำในวันก่อนและได้รายงานเป็นยอดคงค้างการปล่อยสภาพคล่องเงินบาทอยู่แล้ว
N = New ธุรกรรมที่ทำในวันที่ทำรายการยอดคงค้างฯ
R = Rollover ธุรกรรมที่ทำในวันที่ทำรายงานยอดคงค้างฯ เพื่อต่ออายุสัญญาเดิม
U = Update ธุรกรรมลดยอดคงค้างธุรกรรมเดิมทั้งรายการ หรือ บางส่วนก่อนครบกำหนดอายุสัญญา เช่น การลดยอดเงินให้กู้ แก่
NR แบบ Amortisation ซึ่ง ไม่ใช่การ unwind ธุรกรรม
- ในวันที่รายงานรหัส U ให้รายงาน Amount(THB) = ยอดคงค้างส่วนที่เหลือ
- ในวันถัดมา ให้รายงานธุรกรรมดังกล่าวโดยใช้รหัส O แทนรหัส U
D = Delay ธุรกรรมที่ทำในวันก่อน แต่ยังไม่ได้รายงานเป็นยอดคงค้างฯ (หากมรายการประเภทนี้เกิดขึ้น ให้สถาบันการเงินทำ
หนังสือชี้แจงถึงสาเหตุที่ไม่ได้รายงานยอดคงค้างฯ ในวันที่ทำธุรกรรม เสนอต่อผู้อำนวยการ ฝ่ายกำกับการแลกเปลี่ยน
เงินและสินเชื่อด้วย)
(5) Contract สัญญาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสถาบันการเงินกับ NR
(5.1) Number เลขที่สัญญา(ควรกำหนดเลขที่สัญญาที่ทำในแต่ละปีไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน)
(5.2) Trade Date วันที่ตกลงทำธุรกรรม ตาม Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(5.3) Value Date วันที่ส่งมอบเงินในขาแรก/วันที่สัญญามีผลบังคับ ตาม Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(5.4) Maturity Date วันที่สัญญาครบกำหนด เช่น วันส่งมอบเงินตามสัญญา Outright Forward วันส่งมอบเงินขาหลังของ
สัญญา FX Swap เป็นต้น ตาม Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(6) Non-resident ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ(NR)
(6.1) Name ชื่อของ NR คู่สัญญา และชื่อเมืองหรือประเทศที่ตั้งของสำนักงานที่ทำสัญญาตามที่ S.W.I.F.T กำหนด
ไว้ใน BIC Directory(หากชื่อมี THE นำหน้าให้ตัดไปใส่ไว้ท้ายชื่อเช่น XYZ BANK LTD, LONDON
เป็นต้น) โดยให้เรียงรายตามตัวอักษรจาก A ถึง Z
(6.2) S.W.I.F.T Code รหัสประจำตัวของ NR ตามที่ S.W.I.F.T กำหนด กรณีที่ไม่มี S.W.I.F.T Code ให้โทรศัพท์ขอรหัสจาก
เจ้าหน้าที่ทีมสถิติสถาบันการเงิน 3 หมายเลขโทรศัพท์ 0-2283-5454 และเมื่อใดที่ได้รหัส S.W.I.F.T
Code จริงให้โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่ทีมสถิติสถาบันการเงิน 3 ด้วย
* สำหรับรายการงานรับซื้อเงินตราต่างประเทศทุกสกุลแลกเงินบาท Value Same day/Tomorrow กับ NR ที่เป็นบุคคลธรรมดาซึ่งมีจำนวนเงินตั้งแต่ 500,000 บาทขึ้นไปแต่ไม่ถึง 25 ล้านบาทต่อรายต่อวัน ให้รายงานเป็นยอดรวม เดือนละครั้ง โดยกรอกเป็น "Total" และใส่วงเล็บจำนวนรายที่สถาบันการเงินรับซื้อเงินตราต่างประเทศในช่องนี้
6.3 คำอธิบายการกรอกข้อมูล และรหัสในตาราง 23-24
(1) Bank Code รหัสของสถาบันการเงิน(ตัวเลข 3 หลัก) ตามที่ฝ่ายบริหารข้อมูลกำหนด
(2) Name ชื่อสถาบันการเงิน(ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ)
(3) Date วันที่ทำรายงาน ใช้ Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(4) Record Type รหัสประเภทรายการ(1 ตัวอักษร) ดังนี้
O = Old ธุรกรรมที่ทำในวันก่อนและได้รายงานเป็นยอดคงค้างการปล่อยสภาพคล่องเงินบาทอยู่แล้ว
N = New ธุรกรรมที่ทำในวันที่ทำรายการยอดคงค้างฯ
R = Rollover ธุรกรรมที่ทำในวันที่ทำรายงานยอดคงค้างฯ เพื่อต่ออายุสัญญาเดิม
U = Update ธุรกรรมลดยอดคงค้างธุรกรรมเดิมทั้งรายการ หรือ บางส่วนก่อนครบกำหนดอายุสัญญา เช่น การลดยอดเงินให้กู้ แก่
NR แบบ Amortisation ซึ่ง ไม่ใช่การ unwind ธุรกรรม
- ในวันที่รายงานรหัส U ให้รายงาน Amount(THB) = ยอดคงค้างส่วนที่เหลือ
- ในวันถัดมา ให้รายงานธุรกรรมดังกล่าวโดยใช้รหัส O แทนรหัส U
W = Unwind ธุรกรรม Unwind ธุรกรรมเดิมทั้งรายการ หรือ บางส่วนซึ่งรายการเดิมรายงานในตาราง 21 หรือ 22
- ในวันที่รายงานรหัส W ให้รายงาน Amount(THB) = จำนวนเงิน Unwind
- ในวันถัดมา ให้รายงานธุรกรรมดังกล่าวโดยใช้รหัส O แทนรหัส W
D = Delay ธุรกรรมที่ทำในวันก่อน แต่ยังไม่ได้รายงานเป็นยอดคงค้างฯ (หากมรายการประเภทนี้เกิดขึ้น ให้สถาบันการเงินทำ
หนังสือชี้แจงถึงสาเหตุที่ไม่ได้รายงานยอดคงค้างฯ ในวันที่ทำธุรกรรม เสนอต่อผู้อำนวยการ ฝ่ายกำกับการแลกเปลี่ยน
เงินและสินเชื่อด้วย)
(5) Contract สัญญาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสถาบันการเงินกับ NR
(5.1) Number เลขที่สัญญา(ควรกำหนดเลขที่สัญญาที่ทำในแต่ละปีไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน)
(5.2) Trade Date วันที่ตกลงทำธุรกรรม ตาม Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(5.3) Value Date วันที่ส่งมอบเงินในขาแรก/วันที่สัญญามีผลบังคับ ตาม Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(5.4) Maturity Date วันที่สัญญาครบกำหนด เช่น วันส่งมอบเงินตามสัญญา Outright Forward วันส่งมอบเงินขาหลังของ
สัญญา FX Swap เป็นต้น ตาม Format DD/MM/YYYY ปี ค.ศ.
(6) Non-resident ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ(NR)
(6.1) Name ชื่อของ NR คู่สัญญา และชื่อเมืองหรือประเทศที่ตั้งของสำนักงานที่ทำสัญญาตามที่ S.W.I.F.T กำหนด
ไว้ใน BIC Directory(หากชื่อมี THE นำหน้าให้ตัดไปใส่ไว้ท้ายชื่อเช่น XYZ BANK LTD, LONDON
เป็นต้น) โดยให้เรียงรายตามตัวอักษรจาก A ถึง Z
(7) Financial Transactions ธุรกรรมทางการเงิน
(7.1) Type ประเภทธุรกรรมทางการเงินทำกับ NR ใช้รหัสดังนี้
DI การปล่ยกู้เงินบาทโดยตรงให้แก่ NR ตามที่ ธปท.กำหนด
OD การให้เบิกเกินบัญบี
FP การซื้อพันธบัตรหรือตราสารหนี้สกุลบาที่ออกโดย NR
FW Plain Vanilla Outright Forward
FS Plain Vanilla FX Swap
CS Plain Vanilla Cross Currency Swap
CO Plain Vanilla Call Option
PO Plain Vanilla Put Option
IS Plain Vanilla Interest Rate Derivatives
Structured Derivatives อ้างอิงอัตราแลกเปลี่ยน และดัชนีอัตราแลกเปลี่ยน
XF ธุรกรรม Forward รวมกับ Derivatives อื่น
XS ธุรกรรม Cross Currecncy Swap หรือ FX Swap รวมกับ Derivatives อื่น
XO ธุรกรรม Option ที่ไม่ใช่ Planilla Call/Put
ธุรกรรมที่เกิดจากการรวมตัวของ Plain Vanilla Option และ/หรือ Option ที่ไม่ใช่ Plain Vanilla
XI Stuctured Derivatives อ้างอิงอัตราดอกเบี้ย และดัชนีอัตราดอกเบี้ย
SD ธุรกรรมซื้อเงินตราต่างประเทศที่ส่งมอบในวันเดียวกัน(Value Same Day)
TM ธุรกรรมซื้อเงินตราต่างประเทศที่ส่งมอบในวันรุ่งขึ้น(Value Tomorrow)
OT ธุรกรรมอื่นๆ(โปรดระบุ)
(7.2) Buy/Sell ลักษณะการทำธุรกรรมของสถาบันการเงิน ใช้รหัสดังนี้
B ซื้อเงินตราต่างประเทศ แลกเงินบาท
S ขายเงินตราต่างประเทศ แลกเงินบาท
BS Buy/Sell เงินตราต่างประเทศ แลกเงินบาท
XL รับดอกเบี้ยอัตราคงที่ จ่ายดอกเบี้ยอัตราลอยตัว
LX รับดอกเบี้ยอัตราลอยตัว จ่ายดอกเบี้ยอัตราคงที่
XX รับอัตราดอกเบี้ยคงที่ จ่ายอัตราดอกเบี้ยคงที่
LL รับอัตราดอกเบี้ยลอยตัว จ่ายดอกเบี้ยอัตราลอยตัว
(7.3) Currency รหัสเงินตราต่างประเทศตามที่ S.W.I.F.T กำหนด
(7.4) Amount(THB) จำนวนเงินบาทตามสัญญา ณ วันที่สัญญาครบกำหนด(หน่วยเป็นบาทไม่ทศนิยม)
(8) Total Outstanding ยอดคงค้างการปล่อยสภาพคล่องเงินบาทรวมแก่ NR แต่ละราย
Balance(THB) (หน่วยเป็นบาทไม่มีทศนิยม)
เฉพาะตาราง 22
(9) Underlying ธุรกรรมทางเศรษฐกิจด้านการค้า การลงทุน หรือการบริการในประเทศไทย
(9.1) Currency code สกุลเงินที่เป็น Underlying ใช้รหัส ดังนี้
B เงินบาท เช่น NR Hedge ค่าขายสินค้า หรือเงินให้กู้เป็นเงินบาทแก่ธุรกิจในประเทศไทย
X เงินตราต่างประเทศ
(9.2) Type code ประเภท Underlying ใช้รหัส ดังนี้
IM Import to Thailand, ค่าสินค้านำเข้า
EX Export from Thailand, ค่าสินค้าส่งออก
LO Loan, เงินกู้
DI Foreign Direct Investment in Thailand, เงินลงทุนโดยตรงของ NR ในประเทศไทย
SI Foreign Investment in SET, เงินลงทุนของ NR ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
FI Investment in Domestic Debt Instruments, เงินลงทุนในตราสารหนี้สกุลเงินบาทที่ออกโดยธุรกิจ
ในประเทศไทย
OI Other Investments, เงินลงทุนอื่นๆ เช่น เงินลงทุนของ NR ใน Thailand Future Exchange : TFEX
(โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
OT Other, อื่นๆ(โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
(9.3) Local Company name ชื่อธุรกิจในประเทศที่เป็น Underlying(ภาษาอังกฤษ)
(10) Remarks รายละเอียดเพิ่มเติม
เฉพาะตาราง 24
(9) Underlying ธุรกรรมทางเศรษฐกิจด้านการค้า การลงทุน หรือการบริการในประเทศไทย
(9.1) Investor codde ผู้มี Underlying ใช้รหัส ดังนี้
NR ผู้มีที่อยู่นองประเทศที่มี Underlying
R ธุรกิจในประเทศ (Resicent) ที่ต้องการกู้เงินบาทหรือทำธุรกรรม Derivatives ที่มีผลเป็นการซื้อเงินตรา
ต่างประเทศล่วงหน้าจากสถาบันการเงินในประเทศ
(9.2)Type code ประเภท Underlying ใช้รหัส ดังนี้
IM Import to Thailand ,ค่าสินค้านำเข้า)
EX Export ffrom Thailand ,ค่าสินค้าส่งออก)
LO Loan,เงินกู้)
DI Foreing Direct Investmemt in Thailand, เงินลงทุนโดยตรงของNR ในประเทศไทย)
SI Foreign Investmemt in SET,เงินลงทุนของ NR ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)
FI Investmemt in Domestic Intruments,เงินลงทุนในตราสารหนี้สกุลเงินบาทที่ออกโดยธุรกิจในประเทศไทย)
OI Other Investmemt,เงินลงทุนอื่นเช่น เงินลงทุนของ NR ใน TFEX(โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
OT Other,อื่นๆ (โปรดระบุรายละเอียดในช่อง Remarks)
(10) รายละเอียดเพิ่มเติม กรณีธุรกรรมที่ทำกับ NR เป็นการ back-to-back จากธุรกรรมที่ทำกับ Resident ให้ระบุชื่อธุรกรรมที่ทำกับ NR,ชื่อ Resident,และเลขที่หนังสืออนุญาตของ ธปท.(ถ้ามี)
6.4 คำอธิบายการกรอกข้อมูล และรหัสในตรราง 25
(1) ชื่อตัวแทนรับอนุญาติ ซื้อสถาบันการงิน (ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ)
(2) รหัสสถาบันการเงิน รหัสของสถาบันการเงิน (ตัวเลข 3 หลัก) ตามที่ฝายบริหารข้อมูลกำหนด
(3) วันที่รายงาน วันที่ทำรายงาน ใช้ Formrmat DD/MM/YYYY ปี คศ.
(4) ประเภทบัญชี รหัสของประเภทบัญชี ดังนี้
CA กระแสรายวัน
SA ออมทรัพย์
FA ประจำ
(5) จำนวนเงินคงเหลือ ยอดค้างในบัญชี NRBA ทุกบัญชีในแต่ละประเภทบัญชี ณ สิ้นวัน(หน่วยเป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
6.5 คำอธิบายการกรอกข้อมูล และรหัสในตาราง 26
(1) ซื้อตัวแทนรับอนุญาต ซื้อสถาบันการเงิน(ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ)
(2) รหัสสถาบันการเงิน รหัสของสถาบันการเงิน (ตัวเลข 3 หลัก) ตามที่ฝายบริหารข้อมูลกำหนด
(3) วันที่รายงาน วันที่ทำรายงาน ใช้ Formrmat DD/MM/YYYY ปี คศ.
(4) ชื่อเจ้าของบัญชี ชื่อของ NR ผู้เป็นเจ้าของบัญชี และชื่อเมืองที่ตั้งของสำนักงานตามที่ S.W.I.F.T
กำหนดไว้ใน BIC Directory (หากชื่อมี THE นำหน้าให้ตัดไปใส่ไว้ท้ายชื่อโดย
ให้เรียงรายการตามอักษรจาก A ถึงZ)
(5) ประเทศ ประเทศที่ตั้งของสำนักงานของ NR ผู้เป็นเจ้าของบัญชี
(6) ประเภทบัญชี รหัสของประเภทบัญชี ดังนี้
CA กระแสรายวัน
SA ออมทรัพย์
FA ประจำ
(7) ฝากระหว่างวัน จำนวนเงินฝากระหว่างวัน(หน่วย เป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
(8) ถอนระหว่างวัน จำนวนเงินระหว่างวัน (หน่วย เป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
(9) ยอดคงค้าง ยอดคงค้างในบัญชี NRBA ณ สิ้นวัน (หน่วย เป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
(10) ยอดรวมแต่ละราย ยอดคงค่างในบัญชี NRBA ของ NR แต่ละราย (หน่วย เป็นบาท ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
6.6 คำอธิบายการกรอกข้อมูล และรหัสในตาราง 27
(1) ชื่อตัวแทนรับอนุญาต ชื่อสถาบันการเงิน(ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ)
(2) รหัสสถาบันการเงิน รหัสของสถาบันการเงิน (ตัวเลข 3 หลัก) ตามที่ฝายบริหารข้อมูลกำหนด
(3) วันที่รายงาน วันที่ทำรายงาน ใช้ Formrmat DD/MM/YYYY ปี คศ.
(ยังมีต่อ)