ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของประเทศเดือนกันยายน 2564 และเฉลี่ยระยะ 9 เดือนของปี 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday October 5, 2021 10:36 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือนกันยายน 2564 เท่ากับ 101.21(ปีฐาน 2562=100)

เมื่อเทียบกับการเปลี่ยนแปลงร้อยละ1. เดือนกันยายน2563 (YoY)สูงขึ้น1.68 2. เดือนสิงหาคม 2564 (MoM) สูงขึ้น1.59 3.เฉลี่ย 9 เดือน (ม.ค. -ก.ย.) ปี 2564

สูงขึ้น0.83 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (AoA)4. ไตรมาสที่ 3 ปี 2564

สูงขึ้น0.70 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (YoY) 5. ไตรมาสที่ 3 ปี 2564

สูงขึ้น0.23 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ)Highlights อัตราเงินเฟ้อเดือนกันยายน 2564 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 1.68 (YoY)เป็นการกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากที่ลดลงร้อยละ -0.02 ในเดือนก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสำคัญจากการสิ้นสุดลงของมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพด้านสาธารณูปโภค (ค่ากระแสไฟฟ้าและค่าน้ำประปา) ขณะที่ราคาขายปลีกน้ำมันเชื้อเพลิงยังสูงกว่าปีก่อนอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ราคาสินค้ากลุ่มอาหารสดส่วนใหญ่ยังต่ำกว่าปีก่อนโดยเฉพาะข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว เนื้อสุกร ไก่สด ผักสดและผลไม้สด ยกเว้น ไข่ไก่ที่ยังมีราคาสูงเมื่อเทียบกับปีก่อน สำหรับราคาสินค้าและบริการอื่น ๆ ยังคงเคลื่อนไหวสอดคล้องกับปริมาณผลผลิตและความต้องการในการบริโภค เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว เงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 0.19 เฉลี่ย 9 เดือน (ม.ค.-ก.ย.) ปี 2564 เงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 0.83 (AoA) และเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.23 (AoA)

สำหรับเงินเฟ้อไตรมาสที่ 3 ปี 2564 สูงขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.70 (YoY)และสูงขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ร้อยละ 0.23(QoQ)1. เทียบกับเดือนกันยายน 2563 สูงขึ้นร้อยละ 1.68(YoY)

โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการ ดังนี้*หมวดอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 3.60 โดยมีสาเหตุหลักจากการสูงขึ้นของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อยละ 10.08 จากการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 32.44 และค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 0.61 หมวดการตรวจรักษา และบริการส่วนบุคคลจากการสูงขึ้นของราคาครีมนวดผม ค่าแต่งผมชายและสตรี ร้อยละ 0.30 และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์จากการสูงขึ้นของราคาสุราและเบียร์ ร้อยละ 0.03 ในขณะที่มีสินค้าและบริการราคาลดลง ได้แก่ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าจากการลดลงของราคาเสื้อยืดสตรี เสื้อยืดบุรุษ กางเกงขายาวบุรุษ ร้อยละ -0.24 หมวดเคหสถานจากการการลดลงของราคาค่ากระแสไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าเช่าบ้าน ร้อยละ -0.10 หมวดการบันเทิงการอ่าน การศึกษาฯจากการลดลงของค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษาในทุกระดับชั้น ร้อยละ -0.94และการสื่อสารลดลง ร้อยละ -0.01 *หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ -1.16 โดยมีปัจจัยสำคัญจากการลดลงของสินค้าในกลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งจากการลดลงของราคาข้าวสารเจ้าและข้าวสารเหนียว ร้อยละ -7.92 กลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่และสัตว์น้ำตามการลดลงของราคาเนื้อสุกร ไก่สด ไก่ย่าง ร้อยละ -1.46 กลุ่มผักสดจากการลดลงของราคามะเขือเทศมะนาว ผักชี ร้อยละ -5.33 กลุ่มผลไม้สดจากการลดลงของราคาเงาะ ลองกอง มะม่วง ร้อยละ -3.78และกลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์จากการลดลงของราคาน้ำดื่ม กาแฟผงสำเร็จรูป ร้อยละ -0.25 สำหรับสินค้าที่ราคาสูงขึ้น ได้แก่ กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมจากการสูงขึ้นของราคาไข่ไก่ ไข่เป็ดนมข้นหวาน ร้อยละ 3.76 กลุ่มเครื่องประกอบอาหารจากการสูงขึ้นของราคาน้ำมันพืช ซีอิ๊ว ซอสหอยนางรม ร้อยละ 4.81 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้านจากการสูงขึ้นของราคากับข้าวสำเร็จรูป ก๋วยเตี๋ยว ปลากระป๋อง ร้อยละ0.32และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้านจากการสูงขึ้นของราคาอาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) อาหารเช้า และอาหารเย็น (อาหารตามสั่ง) ร้อยละ 0.28 2. เทียบกับเดือนสิงหาคม 2564สูงขึ้นร้อยละ 1.59(MoM)โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการ ดังนี้ร้อยละ(MoM)

*หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 2.51 ตามการสูงขึ้นของรวมทุกรายการ1.59 สินค้าในหมวดหมวดเคหสถาน(ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าน้ำประปา น้ำยาปรับผ้านุ่ม)ร้อยละ 6.24 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล(แชมพู ยาสีฟัน สบู่ถูตัว)อาหารและเครื่องดื่มไม่มี.0.25

ร้อยละ 0.16 หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร(น้ำมันเชื้อเพลิง) ร้อยละ 0.50 -อาหารสด0.41 หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์(สุราไวน์) ร้อยละ 0.02 และค่าโดยสารสาธารณะ (ค่าโดยสารเครื่องบิน) ร้อยละ 0.21 ในขณะที่หมวดการบันเทิง หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร.2.51

การอ่านการศึกษาฯ(ค่าธรรมเนียมการศึกษา) ลดลงร้อยละ -0.05 เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า0.00 สำหรับหมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าและการสื่อสาร ราคาโดยเฉลี่ยไม่เปลี่ยนแปลงเคหสถาน6.24

*หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 0.25 ตามการการตรวจรักษาและบริการ.0.16 สูงขึ้นของสินค้าเกือบทุกกลุ่ม ได้แก่กลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ(ไก่ย่าง ปลาช่อนปลาทูนึ่ง) ร้อยละ 0.05 กลุ่มผักสด(แตงกวา ต้นหอม พริกสด) ร้อยละ 4.13 พาหนะการขนส่งและการ.0.50

กลุ่มผลไม้สด(ส้มเขียวหวาน มะม่วง เงาะ) ร้อยละ 0.37 กลุ่มเครื่องประกอบ-พลังงาน11.76 อาหาร(ซอสหอยนางรม ซีอิ๊ว กะปิ) ร้อยละ 0.50 กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์การบันเทิง การอ่าน การ.-0.05

(ข้าวราดแกง)) ร้อยละ 0.07 ในขณะที่มีสินค้าราคาลดลง ได้แก่ กลุ่มข้าวแป้งยาสูบและเครื่องดื่มมี.0.02 และผลิตภัณฑ์จากแป้ง(ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว)ร้อยละ -1.06กลุ่มไข่และดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน *0.16 ผลิตภัณฑ์นม(ไข่ไก่ นมผง) ร้อยละ -0.13 และกลุ่มอาหารบริโภคในบ้าน(อาหารโทรสั่ง (delivery)) ร้อยละ -0.01 3. เฉลี่ย 9 เดือน (ม.ค. -ก.ย.) ปี 2564 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 0.83(AoA) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ร้อยละ(AoA)*หมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 1.55 โดยมีปัจจัยหลักจากการสูงขึ้นของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อยละ 6.76 รวมทุกรายการ0.83 ตามการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 21.63 เป็นสำคัญ หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล(ค่าแต่งผมสตรี ค่าแต่งผมชาย ครีมนวดผม) ร้อยละ 0.19 อาหารและเครื่องดื่มไม่มี.-0.27

หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์(เบียร์ สุรา) ร้อยละ 0.01 และค่าโดยสาร-อาหารสด-1.22 สาธารณะ ร้อยละ 0.48 ในขณะที่มีสินค้าและบริการราคาลดลง ได้แก่ หมวดเคหสถาน(ค่ากระแสไฟฟ้า ก๊าซหุงต้ม ค่าเช่าบ้าน) ร้อยละ -2.25 หมวดเครื่องนุ่งห่มและหมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร.1.55

รองเท้า(เสื้อยืดสตรีและบุรุษ เสื้อยกทรง) ร้อยละ -0.26 หมวดการบันเทิงเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า-0.26 การอ่าน การศึกษาฯ(ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าทัศนาจร เครื่องถวายพระ) ร้อยละ -0.28และการสื่อสาร ร้อยละ -0.01 เคหสถาน-2.25

*หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ -0.27 จากการการตรวจรักษาและบริการ.0.19 ลดลงของสินค้าในกลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง (ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว) ร้อยละ -6.32 กลุ่มผักสด(ผักชี มะเขือเทศ) ร้อยละ -2.42 และกลุ่มเครื่องดื่มไม่มีพาหนะการขนส่งและการ.6.76

แอลกอฮอล์(น้ำดื่ม กาแฟผงสำเร็จรูป) ร้อยละ -0.27 สำหรับสินค้าที่ราคาสูงขึ้นได้แก่-พลังงานกลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ(เนื้อสุกร กระดูกซี่โครงหมู ปลาหมึกกล้วย) 8.95 การบันเทิง การอ่าน การ.-0.28

กลุ่มผลไม้สด(กล้วยน้ำว้า องุ่น ทุเรียน) ร้อยละ 0.99กลุ่มเครื่องประกอบอาหารยาสูบและเครื่องดื่มมี.0.01 (น้ำตาลทราย น้ำมันพืช กะทิสำเร็จรูป) ร้อยละ 3.77 กลุ่มอาหารบริโภคในดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน *0.23 บ้าน(กับข้าวสำเร็จรูป ก๋วยเตี๋ยว ข้าวแกง/ข้าวกล่อง) ร้อยละ 0.38 และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้าน(อาหารเช้า อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) อาหารเย็น(อาหารตามสั่ง)) ร้อยละ 0.53

กองดัชนีเศรษฐกิจการค้า สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า 4. ไตรมาสที่ 3 ปี 2564เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 0.70 (YoY) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ร้อยละ(YoY)

รวมทุกรายการ0.70 *หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 1.86 ตามการสูงขึ้นของหมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.40 หมวดพาหนะ การขนส่งอาหารและเครื่องดื่มไม่มี.-1.04

และการสื่อสาร ร้อยละ 9.45 จากการสูงขึ้นของค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ -อาหารสด-2.83 0.47 และน้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 30.19 และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มหมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร.1.86 มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 0.01 อย่างไรก็ตาม มีสินค้าและบริการที่ราคาลดลง ได้แก่ หมวดเคหสถานร้อยละ -4.00 หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าร้อยละ -0.25 เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า-0.25

หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯร้อยละ -0.62 และการสื่อสาร -4.00 เคหสถานร้อยละ -0.01 *หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ -1.04 ตามการลดลงการตรวจรักษาและบริการ.0.40

ของราคาสินค้าในกลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งร้อยละ -6.82กลุ่มเนื้อสัตว์ พาหนะการขนส่งและการ.9.45 เป็ดไก่ และสัตว์น้ำร้อยละ -0.94กลุ่มผักสดร้อยละ -7.73 กลุ่มผลไม้สด ร้อยละ -พลังงาน10.63 -1.52 และกลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ -0.31 อย่างไรก็ตาม มีสินค้าที่-0.62 ราคาสูงขึ้น ได้แก่ กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมร้อยละ 3.36กลุ่มเครื่องประกอบการบันเทิง การอ่าน การ.

อาหารร้อยละ 4.20 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้านและนอกบ้านร้อยละ 0.36 และ ยาสูบและเครื่องดื่มมี.0.01 0.27 ตามลำดับดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน *0.14 5. ไตรมาสที่ 3 ปี 2564เทียบกับไตรมาสก่อนหน้าสูงขึ้นร้อยละ 0.23(QoQ)โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ร้อยละ(QoQ)

รวมทุกรายการ0.23 *หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 0.52 ตามการสูงขึ้นของหมวดพาหนะการขนส่งและการสื่อสารร้อยละ 2.27 จากการสูงขึ้นของอาหารและเครื่องดื่มไม่มี.-0.19

ค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 0.11 น้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 6.17 หมวดการตรวจ-อาหารสดรักษาและบริการส่วนุคคลร้อยละ 0.26 และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มไม่มี-0.46 หมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อาหาร.0.52 แอลกอฮอล์ร้อยละ 0.01อย่างไรก็ตาม มีสินค้าและบริการที่ราคาลดลง ได้แก่ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า ร้อยละ -0.06 หมวดเคหสถานร้อยละ -0.89 เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า-0.06

และหมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯร้อยละ -0.56 สำหรับการสื่อสาร เคหสถาน-0.89 ราคาโดยเฉลี่ยไม่เปลี่ยนแปลง*หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ -0.19 ตามการลดลงการตรวจรักษาและบริการ.0.26

ของราคาสินค้าในกลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งร้อยละ -0.71 กลุ่มเนื้อสัตว์ พาหนะการขนส่งและการ.2.27 เป็ดไก่ และสัตว์น้ำร้อยละ -0.97กลุ่มผักสดร้อยละ -1.71 กลุ่มผลไม้สด ร้อยละ -2.17 -พลังงานและกลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ -0.14 อย่างไรก็ตาม มีสินค้าที่ราคา2.64

สูงขึ้น ได้แก่ กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมร้อยละ 4.54กลุ่มเครื่องประกอบการบันเทิง การอ่าน การ.-0.56

อาหารร้อยละ 0.30 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้านและนอกบ้านร้อยละ0.13 และ ยาสูบและเครื่องดื่มมี.0.01 0.02 ตามลำดับดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน *0.02

ดัชนีราคาผู้บริโภคจำแนกรายภาค พบว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคปรับตัวสูงขึ้นในทุกภาค โดยภาคใต้ขยายตัวในอัตราสูงที่สุด ที่ร้อยละ 2.49 รองลงมา ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ และกรุงเทพฯ ปริมณฑล ร้อยละ 2.12 1.49 และ 1.38 ตามลำดับ สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขยายตัวน้อยที่สุด ร้อยละ 1.33

เมื่อพิจารณาเป็นรายหมวด พบว่า หมวดอาหารและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ ราคาสินค้าโดยเฉลี่ยของทุกภาคปรับตัวลดลงโดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงเป็นภาคที่มีอัตราการลดลงมากที่สุดอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสินค้าสำคัญที่มีอิทธิพลสูงในกลุ่ม อาทิ ผักสดและข้าวสารเหนียว ลดลงในอัตราที่สูงกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ในขณะที่หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นในทุกภูมิภาค โดยมีปัจจัยสำคัญจากมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ ในการลดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าน้ำประปา เพื่อลดภาระค่าครองชีพให้กับประชาชนเป็นครั้งที่ 3 ในรอบปีสิ้นสุดลง ประกอบกับราคาขายปลีกน้ำมันเชื้อเพลิงมีการปรับราคาสูงขึ้น

เมื่อพิจารณาเป็นรายสินค้า พบว่า สินค้าสำคัญที่ราคาปรับตัวสูงขึ้นในทุกภาค ได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันพืช ไข่ไก่ สำหรับสินค้าสำคัญที่ราคาลดลงในทุกภาค ได้แก่ ข้าวสารเจ้าข้าวสารเหนียว เนื้อสุกร ค่ากระแสไฟฟ้า เป็นต้น7. แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อทั่วไป ไตรมาสที่ 4 ปี 2564

เงินเฟ้อในไตรมาสสุดท้ายของปี หากไม่มีมาตรการลดค่าครองชีพของภาครัฐที่ส่งผลต่อราคาสินค้าและบริการอย่างมีนัยสำคัญเพิ่มเติมจะมีแนวโน้มขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสำคัญจาก 1) แนวโน้มราคาน้ำมันยังอยู่ในทิศทางที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น แต่ในอัตราเพิ่มที่น้อยกว่าช่วงที่ผ่านมา 2)แนวโน้มสถานการณ์โควิดเริ่มผ่อนคลายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มกลับมาดำเนินการได้ตามลำดับ และ3) แนวโน้มการอ่อนค่าของค่าเงินบาท ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตและขนส่ง อย่างไรก็ตาม สินค้าในหมวดอาหารสดบางชนิด โดยเฉพาะ ข้าว ผักสดและผลไม้สด ยังคงมีแนวโน้มต่ำกว่าปีก่อน และมีโอกาสผันผวนตามสภาพอากาศและภัยธรรมชาติ ขณะที่สถานการณ์โควิดยังคงเป็นความเสี่ยงที่เป็นตัวแปรสำคัญของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ต้องเฝ้าระวังและส่งผลต่อเงินเฟ้ออย่างมีนัยสำคัญ

ทั้งนี้ ในเดือนกันยายน 2564 กระทรวงพาณิชย์ ได้ปรับสมมุติฐานสำหรับคาดการณ์เงินเฟ้อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยคาดการณ์ว่าเงินเฟ้อเฉลี่ยทั้งปี 2564 จะอยู่ระหว่างร้อยละ 1.0 ฑ 0.2หรืออยู่ในช่วงร้อยละ 0.8 -1.2 กำหนดการแถลงข่าว "สถานการณ์ด้านราคาสินค้าและบริการ" ครั้งต่อไปในวันที่5 พฤศจิกายน 2564

ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์


แท็ก ดัชนีราคา  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ