สถิติอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือนมิถุนายน 2565 เท่ากับ 107.58(ปีฐาน 2562 =100)
เมื่อเทียบกับการเปลี่ยนแปลงร้อยละ9.0 109.0 108.0 1. เดือนมิถุนายน2564 (YoY)สูงขึ้น8.0
107.0 2. เดือนพฤษภาคม 2565 (MoM) สูงขึ้น0.90 7.0 106.0 6.0 105.0 5.0
103.0 3. ไตรมาสที่ 2 ปี 2565 4.0
102.0 สูงขึ้น3.0 101.0 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (YoY) 2.0 100.0 99.0 1.0
98.0 0.0 97.0 -1.0 96.0 4. ไตรมาสที่ 2 ปี 2565
สูงขึ้น2.39 95.0 -2.0
94.0 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ)-3.0
93.0 -4.0 92.0 -5.0
ม.ค. 62 มี.ค. 62 พ.ค.62 ก.ค.62 ก.ย.62 พ.ย.62 ม.ค. 63 มี.ค. 63 พ.ค.63 ก.ค.63 ก.ย.63 พ.ย.63 ม.ค. 64 มี.ค. 64 พ.ค. 64 ก.ค. 64 ก.ย. 64 พ.ย. 64 ม.ค. 65 มี.ค. 65 พ.ค. 65 Highlights อัตราเงินเฟ้อเดือนมิถุนายน 2565 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนดัชนีเงินเฟ้อทั่วไปเงินเฟ้อฟื้นฐานสูงขึ้นร้อยละ 7.66 (YoY)(เดือนพฤษภาคม 2565 สูงขึ้นร้อยละ 7.10) โดยมีปัจจัยสำคัญ107.58 7.66%2.51%จากราคาสินค้าในกลุ่มพลังงาน (น้ำมันเชื้อเพลิง ค่ากระแสไฟฟ้า และก๊าซหุงต้ม) ที่ยังคงเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับการสูงขึ้นของราคาค่าโดยสารสาธารณะ อาทิ ค่าโดยสารอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาเดือนมิถุนายน2565 จักรยานยนต์รับจ้าง ค่าโดยสารเรือ และค่ารถรับส่งนักเรียน เนื่องจากต้นทุนพลังงานที่สูงขึ้นส่งผ่านไปยังราคาสินค้าและบริการ อย่างไรก็ตาม สินค้าสำคัญที่ราคาลดลง ได้แก่ ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว ผลไม้สด อาทิ เงาะ มังคุด ลองกอง และทุเรียน และเมื่อรวมทุกรายการ7.66
เทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อสูงขึ้นร้อยละ 0.90 (MoM) ซึ่งเป็นการสูงขึ้นในอัตราอาหารและเครื่องดื่มไม่มี.6.42 ที่ชะลอตัวลง (เดือนพฤษภาคม 2565 สูงขึ้นร้อยละ 1.40) เนื่องจากสินค้าสำคัญหลายรายการราคาลดลง อาทิ ไข่ไก่ ผลไม้สด ผงซักฟอก สบู่ และโฟมล้างหน้า เป็นต้นและเมื่อหัก-อาหารสด5.87 อาหารสดและพลังงานออกแล้ว เงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 2.51 และเฉลี่ย 6 เดือน(ม.ค.-มิ.ย.) 2565 เงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 5.61 (AoA)และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้นหมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่.8.49
ร้อยละ 1.85 (AoA)เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า0.10 ทั้งนี้ เงินเฟ้อรายไตรมาส ไตรมาสที่ 2 ปี 2565 สูงขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.46(YoY)และสูงขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ร้อยละ 2.39(QoQ)เคหสถาน6.79
1. เทียบกับเดือนมิถุนายน 2564 สูงขึ้นร้อยละ 7.66(YoY)โดยมีการเปลี่ยนแปลง การตรวจรักษาและ.0.94
ของราคาสินค้าและบริการ ดังนี้พาหนะการขนส่งและ.14.75
39.97 *หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 8.49 โดยมีสาเหตุหลักจากการ-พลังงานสูงขึ้นของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อยละ 14.75 จากการสูงขึ้นของราคาการบันเทิง การอ่าน การ.0.11
และรองเท้าร้อยละ 0.10 จากการสูงขึ้นของราคาเสื้อยกทรง และเครื่องแบบนักเรียนมัธยมยาสูบและเครื่องดื่มมี.2.25 ชายและหญิง หมวดเคหสถานร้อยละ 6.79 จากการสูงขึ้นของราคาค่ากระแสไฟฟ้าค่าน้ำประปา และก๊าซหุงต้ม หมวดการตรวจรักษา และบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.94 ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 2.51 จากการสูงขึ้นของราคาแชมพู ยาสีฟัน และสบู่ถูตัว หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯร้อยละ 0.11 จากการสูงขึ้นของราคาเครื่องถวายพระและอาหารสัตว์เลี้ยง และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ร้อยละ 2.25 จากการสูงขึ้นของราคาบุหรี่ เบียร์ และสุรา แนวโน้มเงินเฟ้อปี 2565
ในขณะที่กลุ่มการสื่อสาร ลดลงร้อยละ -0.08 *หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 6.42 โดยมีปัจจัยสำคัญจากการสูงขึ้นของกลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำร้อยละ 12.98 จากการสูงขึ้นของราคาเนื้อสุกร ไก่สด และปลาทู กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมร้อยละ 5.38 จากการสูงขึ้นของราคาไข่ไก่ นมผง และนมสด กลุ่มผักสดร้อยละ 1.53 จากการสูงขึ้นของราคาพริกสด ต้นหอม และผักบุ้ง กลุ่มเครื่องประกอบอาหารร้อยละ 11.48 จากการสูงขึ้นของราคาน้ำมันพืช ซีอิ๊ว และน้ำพริกแกง กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 2.55 จากการสูงขึ้นของราคากาแฟ/ชา (ร้อน/เย็น) กาแฟผงสำเร็จรูป และ น้ำปั่นผลไม้/ผัก กลุ่มอาหารบริโภคในบ้านร้อยละ 7.28 จากการสูงขึ้นของราคากับข้าวสำเร็จรูป ข้าวแกง/ข้าวกล่อง และผัดซีอิ๊ว/ราดหน้าและกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้านร้อยละ 6.54 จากการสูงขึ้นของราคาอาหารเช้า อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) และอาหารเย็น (อาหารตามสั่ง) ในขณะที่มีสินค้าราคาลดลง ได้แก่กลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งร้อยละ -2.73 จากการลดลงของราคาข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว และแป้งข้าวเจ้า และกลุ่มผลไม้สดร้อยละ -2.53 จากการลดลงของราคาเงาะ มังคุด และทุเรียน
โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการ ดังนี้หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 1.11 ตามการสูงขึ้นของสินค้าและบริการในหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร(น้ำมันเชื้อเพลิง) ร้อยละ 2.44 หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า(เครื่องแบบนักเรียนอนุบาลและเสื้อเชิ้ตสตรี) ร้อยละ 0.04 หมวดเคหสถาน(ก๊าซหุงต้มและน้ำยาปรับผ้านุ่ม)ร้อยละ 0.14 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล(แชมพู ค่าแต่งผมชายและผลิตภัณฑ์ป้องกันและบำรุงผิว) ร้อยละ 0.06 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯ(ค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษาทุกระดับชั้น) ร้อยละ 0.74 หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์(เบียร์ ไวน์ และสุรา) ร้อยละ 0.04 และค่าโดยสารสาธารณะ (ค่ารถรับส่งนักเรียนและค่าโดยสารรถเมล์เล็ก/รถสองแถว) ร้อยละ 1.08ในขณะที่กลุ่มการสื่อสาร ราคาโดยเฉลี่ยไม่เปลี่ยนแปลง หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 0.58 ตามการสูงขึ้นของกลุ่มข้าวแป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง(ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว และขนมอบ) ร้อยละ 0.54 กลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ(เนื้อสุกร ไก่สด และปลาทู) ร้อยละ 1.87 กลุ่มผักสด(พริกสด ต้นหอม และมะเขือ)ร้อยละ 2.40 กลุ่มเครื่องประกอบอาหาร(น้ำมันพืช น้ำพริกแกง และกะทิสำเร็จรูป) ร้อยละ 1.12กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์(กาแฟผงสำเร็จรูป น้ำผลไม้ และเครื่องดื่มบำรุงกำลัง) ร้อยละ 0.20 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้าน(กับข้าวสำเร็จรูป ข้าวแกง/ข้าวกล่อง และก๋วยเตี๋ยว) ร้อยละ 0.48 และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้าน(อาหารเช้าและอาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง)) ร้อยละ 0.25ในขณะที่กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นม(ไข่ไก่ ไข่เป็ด และนมถั่วเหลือง) ลดลงร้อยละ -1.88 และกลุ่มผลไม้สด(เงาะ ทุเรียน และมังคุด) ลดลงร้อยละ -3.51
3. เฉลี่ย 6 เดือน (ม.ค. -มิ.ย.) ปี 2565 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 5.61(AoA) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 6.16 โดยมีปัจจัยหลักจากการสูงขึ้นของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อยละ 11.49 ตามการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 32.05 เป็นสำคัญ หมวดเคหสถาน(ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าน้ำประปา และแก๊สหุงต้ม) ร้อยละ 4.37 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล(แชมพู ค่าแต่งผมชาย และยาแก้ปวดและลดไข้) ร้อยละ 0.70 หมวดยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์(บุหรี่ เบียร์ และสุรา) ร้อยละ 2.05 และค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 1.21 ในขณะที่มีสินค้าและบริการราคาลดลง ได้แก่ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า(กางเกงขายาวบุรุษ เสื้อยืดสตรีและบุรุษ) ร้อยละ -0.12 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯ(ค่าธรรมเนียมการศึกษาและอาหารสัตว์) ร้อยละ -0.65และกลุ่มการสื่อสาร ร้อยละ -0.08 หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 4.81 จากการสูงขึ้นของสินค้าในกลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ(เนื้อสุกร ปลาทู และไก่สด)ร้อยละ 9.16 กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นม(ไข่ไก่ ไข่เป็ด และนมสด) ร้อยละ 6.21 กลุ่มผักสด(กะหล่ำปลี ผักคะน้า และมะนาว) ร้อยละ 3.59 กลุ่มเครื่องประกอบอาหาร(น้ำมันพืช ซีอิ๊ว และกะปิ) ร้อยละ 9.00 กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์(กาแฟ/ชา (ร้อน/เย็น) น้ำปั่นผลไม้/ผัก และกาแฟผงสำเร็จรูป) ร้อยละ 1.55 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้าน(กับข้าวสำเร็จรูป ก๋วยเตี๋ยว และข้าวแกง/ข้าวกล่อง)ร้อยละ 5.69 และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้าน(อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) อาหารเช้า และอาหารเย็น (อาหารตามสั่ง)) ร้อยละ 5.26 สำหรับสินค้าที่ราคาลดลงได้แก่ กลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง (ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว และแป้งข้าวเจ้า) ร้อยละ -4.04 และกลุ่มผลไม้สด(ส้มเขียวหวาน เงาะ และกล้วยน้ำว้า) ร้อยละ -2.16
4. ไตรมาสที่ 2 ปี 2565 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 6.46(YoY) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 5.81 หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 6.92 จากการสูงขึ้นของสินค้าหมวดพาหนะการขนส่งและการสื่อสารร้อยละ 12.89ตามการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 35.12และ 1.73 ตามลำดับ หมวดเคหสถานร้อยละ 4.76หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.96และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 2.22 ในขณะที่หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯลดลงร้อยละ -0.45 หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าลดลงร้อยละ -0.05 และการสื่อสาร ลดลงร้อยละ -0.08 หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 5.81 ตามการสูงขึ้นของสินค้าในกลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่และสัตว์น้ำร้อยละ 10.09 กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมร้อยละ 8.19 กลุ่มผักสดร้อยละ 2.07 กลุ่มเครื่องประกอบอาหารร้อยละ 10.34กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 2.18 กลุ่มอาหารบริโภค-ในบ้านและกลุ่มอาหารบริโภค-นอกบ้านสูงขึ้นร้อยละ 6.90 และ 6.36 ตามลำดับ สำหรับสินค้าที่ราคาลดลง ได้แก่ กลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งร้อยละ -3.06และกลุ่มผลไม้สดร้อยละ -0.72
5. ไตรมาสที่ 2 ปี 2565 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า สูงขึ้นร้อยละ 2.39(QoQ) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 2.42 จากการสูงขึ้นของสินค้าหมวดพาหนะการขนส่งและการสื่อสารร้อยละ 5.12 ตามการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 12.38 และ 1.22 ตามลำดับ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าร้อยละ 0.08หมวดเคหสถานร้อยละ 0.75 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.52 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯร้อยละ 0.40 และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 0.33 ในขณะที่การสื่อสาร ราคาโดยเฉลี่ยไม่เปลี่ยนแปลงหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 2.35 ตามการสูงขึ้นของสินค้าในกลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งร้อยละ 0.80กลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่และสัตว์น้ำร้อยละ 1.62 กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมร้อยละ 3.85 กลุ่มผักสดร้อยละ 5.16 กลุ่มผลไม้สดร้อยละ 4.17 กลุ่มเครื่องประกอบอาหารร้อยละ 3.79 กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 1.20 กลุ่มอาหารบริโภค-ในบ้านและกลุ่มอาหารบริโภค-นอกบ้านสูงขึ้นร้อยละ 2.45 และ 2.13 ตามลำดับ
ดัชนีราคาผู้บริโภคจำแนกรายภาค พบว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคในทุกภาคเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนหน้าขยายตัวในอัตราที่เพิ่มขึ้นซึ่งอัตราเงินเฟ้อของภาคใต้ สูงกว่าภูมิภาคอื่น ๆ โดยสูงขึ้นร้อยละ 8.56 รองลงมาได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ และกรุงเทพฯ และปริมณฑล สูงขึ้นร้อยละ 7.847.72และ 7.27ตามลำดับ ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สูงขึ้นในอัตราที่ต่ำกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ที่ร้อยละ 7.25
เมื่อพิจารณาเป็นรายสินค้า พบว่า สินค้าสำคัญที่ราคาปรับตัวสูงขึ้นในทุกภาค ได้แก่ ค่ากระแสไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง กับข้าวสำเร็จรูป และเนื้อสุกร สำหรับสินค้าสำคัญที่ราคาลดลงในทุกภาคได้แก่ ข้าวสารเจ้า ผักสด อาทิ ขิง เงาะ ถั่วฝักยาว เป็นต้น
แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อไตรมาสที่ 3ปี 2565ยังมีแนวโน้มขยายตัวในระดับที่ใกล้เคียงกับไตรมาสที่ผ่านมา ปัจจัยหลักยังคงเป็นราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ที่ทรงตัวในระดับสูง จากอุปทานโลกที่ตึงตัว สถานการณ์ความขัดแย้งในยูเครน และมาตรการคว่ำบาตรที่ยังยืดเยื้อ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการ และต้นทุนการนำเข้าของไทยสูงขึ้น นอกจากนี้ อุปสงค์ในประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น จากการผ่อนคลายมาตรการป้องกันโควิด-19 การท่องเที่ยว และการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง จะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้อัตราเงินเฟ้อขยายตัว
อย่างไรก็ตาม มาตรการดูแลค่าครองชีพของกระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และดำเนินการในไตรมาสที่3 ของปีนี้ ทั้งการกำกับดูแล การตรึงราคาสินค้าที่จำเป็นและราคาพลังงาน รวมถึงปัจจัยเสี่ยงจากโควิด-19ที่จำนวนผู้ติดเชื้อรายวันเริ่มกลับมาสูงขึ้นจากสายพันธุ์ใหม่ อาจจะเป็นปัจจัยทอนที่ทำให้อัตราเงินเฟ้อชะลอตัว ซึ่งกระทรวงพาณิชย์จะติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อไป
ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์