ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนกรกฎาคม 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Friday August 25, 2023 13:27 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

Highlights

ดัชนีราคาส่งออก เดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 108.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัว ที่ร้อยละ 0.5 (YoY)จากเดือนมิถุนายน 2566 ที่หดตัวร้อยละ 0.4 ปัจจัยหลักเป็นผลจากความกังวลเกี่ยวกับอุปทานตึงตัว เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้ง (เอลนีโญ) ที่ส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรลดลง รัสเซียยุติข้อตกลงส่งออกธัญพืชยูเครนผ่านทะเลดำ และการปรับลดกำลังการผลิตของกลุ่มผู้ผลิตน้ำมัน ทำให้ราคาในหลายกลุ่มสินค้าขยายตัว ประกอบกับฐานราคาในเดือนกรกฎาคม 2565 ที่เริ่มชะลอลง ส่งผลให้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 4.5 ได้แก็ข้าว ผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็ง และแห้ง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง และข้าวโพด เนื่องจากผลกระทบจากภัยแล้ง ทำให้ปริมาณผลผลิตลดลง ขณะที่ความต้องการสินค้ายังขยายตัวต็อเนื่อง สำหรับไก็สดแช็เย็น แช็แข็ง และแปรรูป ราคาสูงขึ้นตามต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึ้น หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นในอัตราชะลอลง ที่ร้อยละ 2.1 ได้แก็อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป และผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่น ๆตามความต้องการสำรองอาหารของประเทศคูค้าเพิ่มขึ้น ขณะที่อาหารสัตว์เลี้ยง แม้ราคาจะชะลอลงตามเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว แต็คำสั่งซื้อยังมีอย็งต็อเนื่อง และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.8 ได้แก็ รถยนต์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส็วนประกอบ และแผงวงจรไฟฟ้า ตามความต้องการสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง สำหรับทองคำ ราคายังอยูในระดับสูงเมื่อเทียบกับช็วงก็อนหน้า ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ติดลบในอัตราที่น้อยลง อยู่ที่ร้อยละ 15.3 และลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ติดต่อกัน โดยเฉพาะน้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ ตามอุปทานน้ำมันในตลาดโลกที่ลดลงดัชนีราคานำเข้า เดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 109.9เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ติดต่อกัน ที่ร้อยละ 3.3(YoY) แต่หดตัวในอัตราที่น้อยลงจากเดือนมิถุนายน 2566 ที่ร้อยละ 5.2 ปัจจัยหลักเป็นผลจากราคาในหมวดสินค้าเชื้อเพลิง ติดลบในอัตราที่น้อยลง อยู่ที่ร้อยละ 21.2 ได้แก็ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป จากฐานราคาน้ำมันในเดือนกรกฎาคม 2565 ที่เริ่มชะลอลง บวกกับราคาน้ำมันตลาดโลกทยอยปรับตัวสูงขึ้นจากความกังวลเกี่ยวกับอุปทานตึงตัว หลังจากที่มีการปรับลดกำลังการผลิตของกลุมประเทศผู้ผลิตน้ำมัน ขณะที่ความต้องการใช้น้ำมันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าทุน ลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 87 เดือน ที่ร้อยละ 0.2 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ เครื่องจักรกลและส็วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และผลิตภัณฑ์ทำจากยาง ตามสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ทำให้ความต้องการสินค้าเพื่อการลงทุนลดลงอย่างไรก็ตาม หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้ายังคงปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 2.4 ได้แก็ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท็งและทองคำ อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้า และพืชและผลิตภัณฑ์จากพืช ตามความต้องการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อการผลิตและบริโภคเป็นสำคัญ หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 2.2 ได้แก็ ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์และรถจักรยาน และรถยนต์นั่ง จากฐานที่ต่ำในช็วงก็อนหน้า และอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ฟื้นตัวดีขึ้น และหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 1.4 ได้แก็ ผัก ผลไม้ และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ และเสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ ยังขยายตัวได้ดีตามความต้องการอุปโภคบริโภคที่มีอย็งต็อเนื่อง

แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก และดัชนีราคานำเข้า เดือนสิงหาคม 2566 คาดว็จะขยายตัวได้ต็อเนื่องอย็งค็อยเป็นค็อยไป ตามกระแสความมั่นคงทางด้านอาหารตลอดห็วงโซ็อุปทานทำให้ราคาสินค้าบางกลุมขยายตัวได้ดี ตลอดจนแนวโน้มราคาพลังงานโลกที่ปรับสูงขึ้น ตามการปรับลดกำลังการผลิตของประเทศผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ็ อย็งไรก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงที่คาดว็จะส็งผลกระทบให้ดัชนีราคาส็งออก -นำเข้า ปรับตัวลดลงยังคงมีอยู ได้แก็ 1) การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและประเทศคูค้าสำคัญ 2) ผลกระทบที่เกิดจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ 3) ประเทศคูค้าหลักยังคงดำเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวด 4) ราคาน้ำมันแม้จะมีทิศทางปรับสูงขึ้น แต็ยังคงต่ำกว็ปี 2565 5)ความผันผวนของค็เงินบาท และ 6) ปัญหาสถาบันการเงินภายในประเทศเศรษฐกิจหลักยังมีความไม็แน็นอนสูง และอาจส็งผลต็อกำลังซื้อของประเทศคูค้าอัตราการค้า (Term of Trade)เดือนกรกฎาคม 2566

อัตราการค้าของไทย ในเดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 99.0 (เดือนมิถุนายน 2566 เท็กับ 99.7) กลับมาลดลงอีกครั้ง หลังจากเดือนก่อนหน้ามีทิศทางปรับตัวดีขึ้น และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 19 ติดต่อกัน สะท้อนถึง ไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว็งประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว็ราคาส็งออก ส็งผลให้ราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออก ซึ่งหากราคาน้ำมันยังมีทิศทางปรับตัวสูงขึ้นต็อเนื่อง จะส็งผลให้แนวโน้มอัตราการค้า เดือนสิงหาคม 2566 คาดว็จะปรับตัวลดลง เนื่องจากราคานำเข้าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากกว็ราคาส็งออก

1. เทียบกับเดือนมิถุนายน 2566 (MoM)สูงขึ้นร้อยละ 0.3โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 5.4 จากน้ำมันสำเร็จรูป โดยเฉพาะน้ำมันดีเซล เนื่องจากตลาดกังวลเกี่ยวกับอุปทานตึงตัว นอกจากนี้ น้ำมันดิบ ราคาสูงขึ้นเนื่องจากซาอุดิอาระเบียซึ่งเป็นผู้ส็งออกน้ำมันรายใหญ็ของโลก ประกาศขยายเวลาในการปรับลดกำลังการผลิตน้ำมัน จำนวน 1 ล้านบาร์เรลต็อวัน จนถึงสิ้นเดือนกันยายน 2566 หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.3 ได้แก็ ข้าว สาเหตุจากการที่อินเดียซึ่งเป็นผู้ส็งออกข้าวรายใหญ็ที่สุดของโลก ได้สั่งยุติการส็งออกข้าวขาวที่ไม็ใช็พันธุ์บาสมาติ รวมถึงระดับสต็อกข้าวของประเทศผู้บริโภคข้าวรายใหญ็ลดลง อาทิ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ทำให้มีความต้องการข้าวจากไทยเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ราคาสูงขึ้นจากปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังออกสูตลาดน้อยลง จากปัญหาโรคระบาดและภัยธรรมชาติ และปลาสดแช็เย็น แช็แข็ง ราคาสูงตามต้นทุนการทำประมง ที่เผชิญกับราคาเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น รวมถึงปัญหาขาดแคลนแรงงาน และการลงทุนปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ IUUFishingของ EU และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 ได้แก็ เม็ดพลาสติก สูงขึ้นตามพลาสติกกลุม ABSที่มีการลดกำลังการผลิตทั้งในจีนและไต้หวันยานพาหนะ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตลอดจนเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ราคาสูงขึ้นตามความต้องการของประเทศคูค้า และเครื่องปรับอากาศและส็วนประกอบ ได้รับอานิสงส์จากสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าวทั่วภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นตลาดส็งออกสำคัญอันดับ 1 ของไทยในสินค้าประเภทนี้ ขณะที่หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร ลดลงร้อยละ 0.2 ได้แก็ อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ราคาชะลอลงเนื่องจากประเทศคูค้ามีแนวโน้มหันไปนำเข้าสินค้าราคาถูกกว็จากประเทศคูแข็ง ได้แก็ จีน เอกวาดอร์ และเวียดนาม ซึ่งได้เปรียบด้านสิทธิประโยชน์ทางภาษีกับหลายประเทศ และน้ำตาลทราย ราคาสูงขึ้นจากภาวะเอลนีโญที่จะรุนแรงขึ้นในช็วงครึ่งหลังปี 2566ถึงปี 2567และส็งผลกระทบต็อปริมาณผลผลิตที่ลดลง2.เทียบกับเดือนกรกฎาคม 2565 (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 0.5โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 4.5 ได้แก็ ข้าว สอดคล้องกับดัชนีราคาข้าวขององค์การอาหารและเกษตรแห็งสหประชาชาติ (FAO)เร็งสูงขึ้นร้อยละ 2.8 ในเดือนกรกฎาคม 2566 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต็เดือนกันยายน 2554 โดยมีสาเหตุจากการสูงขึ้นของราคาข้าวของประเทศผู้ส็งออกรายใหญ็ รวมถึงอุปสงค์ที่แข็งแกร็ง และอินเดียประกาศงดการส็งออกข้าวบางชนิด ผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง สูงขึ้นจากการส็งออกไปยังตลาดจีนที่กลับมาขยายตัวได้ดี และไก็สดแช็เย็น แช็แข็งและแปรรูป ราคาสูงขึ้นตามต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ จากสถานการณ์ความขัดแย้งในยูเครนที่ยังไม็คลี่คลาย อาทิ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลือง และธัญพืช หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 2.1 ได้แก็ อาหารทะเลกระป์องและแปรรูปตามคำสั่งซื้อที่มีอย็งต็อเนื่อง ประกอบกับราคาวัตถุดิบที่ใช้ในการทำบรรจุภัณฑ์ อาทิ ดีบุก ปรับตัวสูงขึ้น อาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว ตามคำสั่งซื้อของลูกค้ารายใหม็ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลี ราคาสูงขึ้นจากการที่รัสเซียยุติข้อตกลงส็งออกธัญพืชยูเครนผ็นทะเลดำ ซึ่งสิ้นสุดลงในวันที่ 17 กรกฎาคม 2566และน้ำตาลทราย จากสภาพอากาศแปรปรวน ส็งผลให้อุปทานโลกลดลง โดยเฉพาะผลผลิตในอินเดีย ไทย และจีน ซึ่งเป็น 1 ใน 5 ผู้ผลิตน้ำตาลทรายหลักของโลกและหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.8 ได้แก็ รถยนต์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ จากการฟื้นตัวของกำลังซื้อท็มกลางภาวะเงินเฟ้อที่ทยอยปรับลดลงในหลายประเทศ เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ที่ได้รับอานิสงส์จากอุณหภูมิสูงสุดเป็นประวัติการณ์ของเดือนกรกฎาคม 2566ในหลายพื้นที่ทั่วโลก และทองคำ ราคาสูงขึ้นจากการลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐ และเงินเหรียญสหรัฐที่อ็อนค็ลง ตามลำดับ ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง หดตัวร้อยละ 15.3 โดยเป็นการหดตัวในอัตราที่น้อยลง ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากอุปทานที่ตึงตัว จากการปรับลดกำลังการผลิตของกลุมผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ็3. เฉลี่ย7 เดือน(ม.ค. -ก.ค.) ปี 2566 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2565 (AoA)สูงขึ้นร้อยละ 1.0โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 3.7

หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 3.4 และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.1

ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 9.3 4. แนวโน้มดัชนีราคาส่งออกเดือนสิงหาคม 2566 แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก เดือนสิงหาคม 2566 คาดว่าจะทยอยปรับสูงขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป 1. เทียบกับเดือนมิถุนายน 2566 (MoM) สูงขึ้นร้อยละ 1.0โดยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 5.1

หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 5.1 รวมทุกรายการ1.0

RenewableEnergy)และหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 0.2 หมวดสินค้าเชื้อเพลิง5.1 หมวดสินค้าทุน-0.1 หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป0.2

ขณะที่หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค-0.1 ร้อยละ 0.2

หมวดสินค้าทุน ลดลงร้อยละ 0.1 -0.2

และหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค ลดลงร้อยละ 0.1 2. เทียบกับเดือนกรกฎาคม 2565 (YoY)ลดลงร้อยละ 3.3โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง หดตัวในอัตราที่น้อยลง ที่ร้อยละ21.2

และหมวดสินค้าทุน ลดลงร้อยละ 0.2

ขณะที่หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 2.4

หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 2.2

และหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 1.4 3. เฉลี่ย7 เดือน(ม.ค. -ก.ค.) ปี 2566 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2565 (AoA)ลดลงร้อยละ 1.0โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง คือหมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 12.3 ได้แก็น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป ตามความต้องการใช้ทั่วโลกที่ปรับตัวลดลง จากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม และถ็นหิน ตามความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ชะลอลง ประกอบกับปริมาณก๊าซธรรมชาติสำรองยังอยูในระดับสูงขณะที่หมวดสินค้าที่ส่งผลให้ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 2.7 ได้แก็ผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด และเครื่องใช้และเครื่องตกแต็งภายในบ้านเรือน ตามความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นอย็งต็อเนื่อง สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม ปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากต้นทุนและวัตถุดิบของผู้ผลิตยาในประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้น รวมถึงอัตรา1.1 การเจ็บป่วยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากโรคไม็ติดต็อเรื้อรัง หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 2.4 ได้แก็ อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะ2.4 แผงวงจรไฟฟ้า ได้รับปัจจัยหนุนจากปัญหาการขาดแคลนชิ้นส็วนเซมิคอนดักเตอร์ที่เริ่มคลี่คลาย ส็งผลดีต็ออุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท็ง2.7 และทองคำ โดยเฉพาะทองคำ ราคายังทรงตัวสูงเมื่อเทียบกับช็วงก็อนหน้า เนื่องจากความกังวลเรื่องนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ทำให้ความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช ตามความต้องการเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการบริโภคเพิ่มขึ้นสำหรับเคมีภัณฑ์ ตามทิศทางอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ขยายตัวดีขึ้น รวมถึงการฟื้นตัวของภาคการผลิตในอุตสาหกรรมต็ง ๆหมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 1.1 ได้แก็ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ เครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการทดสอบ และผลิตภัณฑ์โลหะราคายังปรับตัวสูงขึ้น ตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ภาคอสังหาริมทรัพย์ และการลงทุนเพิ่มขึ้น และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 0.3 ได้แก็รถยนต์นั่ง รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก และส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์และรถจักรยาน ราคาปรับตัวสูงขึ้น จากตลาดยานยนต์ทั่วโลกที่กำลังฟื้นตัว ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น รวมถึงแนวโน้มความต้องการรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ที่เพิ่มขึ้นจากโครงการก็อสร้าง6. แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า เดือนสิงหาคม2566 แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า เดือนสิงหาคม 2566 คาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง ปัจจัยหลักเป็นผลจากแนวโน้มราคาวัตถุดิบนำเข้าจากต็งประเทศที่อาจปรับตัวสูงขึ้น ภายหลังรัสเซียยุติข้อตกลงส็งออกธัญพืชยูเครนผ็นทะเลดำ และราคาพลังงานปรับตัวสูงขึ้นต็อเนื่อง อย็งไรก็ตาม ทิศทางเศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไม็แน็นอนจากผลกระทบของความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังไม็คลี่คลาย การดำเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวด ราคาน้ำมันมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น แต็ยังอยูในระดับต่ำกว็ปี 2565 และค็ระวางเรือที่ลดลง ทำให้ต้นทุนการขนส็งสินค้าระหว็งประเทศลดลง ล้วนเป็นปัจจัยที่อาจส็งผลให้ดัชนีราคานำเข้าปรับลดลงได้

อัตราการค้าของไทย ในเดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 99.0(เดือนมิถุนายน 2566 เท่ากับ 99.7) กลับมาลดลงอีกครั้ง หลังจากเดือนก่อนหน้ามีทิศทางปรับตัวดีขึ้น และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 19 ติดต่อกันสะท้อนถึงไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว่างประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก

อัตราการค้าของไทย ในเดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 99.0 (เดือนมิถุนายน 2566 เท็กับ 99.7) กลับมาลดลงอีกครั้ง หลังจากเดือนก่อนหน้ามีทิศทางปรับตัวดีขึ้น และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 19 ติดต่อกันสะท้อนถึง ไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว็งประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว็ราคาส็งออก ส็งผลให้ราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออก

สำหรับกลุ่มสินค้าที่ราคาส่งออกยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคานำเข้า (ได้เปรียบในอัตราการค้า) ประกอบด้วย กลุมสินค้าที่ใช้วัตถุดิบขั้นกลางจากต็งประเทศในการผลิตเช็น เคมีภัณฑ์ เครื่องสำอาง สบูและผลิตภัณฑ์รักษาผิวเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ผลิตภัณฑ์พลาสติก เม็ดพลาสติก และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ และกลุมสินค้าขั้นกลางที่ใช้วัตถุดิบภายในประเทศในการผลิตเช็น ผลไม้ ผลไม้กระป์องและแปรรูป และของปรุงแต็งทำจากผลไม้ ผัก ผักกระป์องและแปรรูป และของปรุงแต็งทำจากผัก และผลิตภัณฑ์ทำจากข้าวและแป้ง เป็นต้น

ขณะที่กลุ่มสินค้าที่ราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก (เสียเปรียบในอัตราการค้า) ได้แก็ น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ทองคำ ทองแดงและผลิตภัณฑ์ และนมและผลิตภัณฑ์นม นอกจากนี้ ยังมีสินค้าอื่น ๆ ที่ราคานำเข้าสูงกว็ราคาส็งออก อาทิ อัญมณีและเครื่องประดับ สิ่งทอและเสื้อผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า แผงวงจรไฟฟ้า และกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ เป็นต้น

          แนวโน้มอัตราการค้า เดือนสิงหาคม 2566 คาดว็จะปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันยังมีทิศทางปรับตัวสูงขึ้นต็อเนื่อง ซึ่งส็งผลให้ราคานำเข้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากกว็ราคาส็งออก         ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์

แท็ก ดัชนีราคา  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ