Highlights
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเดือนมิถุนายน 2567 เท่ากับ 113.3 เมื่อเทียบกับเดือนมิถุนายน
2566 (YoY) สูงขึ้นร้อยละ 0.3 มีสาเหตุจากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต
หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดสุขภัณฑ์ หมวดวัสดุฉาบผิว และหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้
เนื่องจากการปรับขึ้นของราคาน้ามันดีเซลที่ส่งผลต่อต้นทุนการขนส่ง และปัจจัยบวกจากการเร่ง
ใช้เงินงบประมาณ ปี 2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ ท้าให้มีความต้องการเพิ่มขึ้น ขณะที่
ดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กลดลง ทั้งนี้ ยังคงเป็นผลกระทบจากปัญหาวิกฤต
อสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้นตัว ท้าให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกินสูงกดดันให้ราคาเหล็กในตลาดโลก
(เอเชีย จีน) และในประเทศลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า รวมทั้งหมวดซีเมนต์ หมวดกระเบื้อง
และหมวดสุขภัณฑ์ ลดลงจากการแข่งขันสูง และตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ และ
หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ตามการลดลงของวัสดุธรรมชาติ (หิน ดิน ทราย)
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า (MoM) ดัชนีราคาสูงขึ้นร้อยละ 0.3 จากการสูงขึ้นของดัชนีราคา
หมวดส้าคัญ ๆ ได้แก่ หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดอุปกรณ์
ไฟฟ้าและประปา หมวดซีเมนต์ และหมวดสุขภัณฑ์ โดยมีปัจจัยจากการเร่งด้าเนินการโครงการ
ก่อสร้างของภาครัฐ ท้าให้มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น รวมทั้งต้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น ขณะที่ดัชนีราคา
หมวดกระเบื้อง หมวดวัสดุฉาบผิว และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลง.
หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้สูงขึ้นร้อยละ 5.0 จากการสูงขึ้นของไม้พื้น ไม้โครงคร่าว ไม้แบบ
เสาเข็มไม้และบานประตูเนื่องจากต้นทุนสูงขึ้นทั้งค่าด้าเนินการและการขนส่ง
?หมวดซีเมนต์ ลดลงร้อยละ 0.5 จากการลดลงของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซีเมนต์ผสม
และปูนฉาบส้าเร็จรูป เนื่องจากมีการแข่งขันสูง และต้นทุนพลังงาน (ถ่านหิน) ลดลง
?หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต สูงขึ้นร้อยละ 1.2 จากการสูงขึ้นของเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
รางน้าคอนกรีต ซีทไพล์คอนกรีต และท่อระบายน้าคอนกรีต เนื่องจากต้นทุนค่าขนส่งที่สูงขึ้น
?หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ลดลงร้อยละ 0.8 จากการลดลงของเหล็กเส้นกลมผิวเรียบ
เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย ชีทไพล์เหล็ก และท่อเหล็กกลวงสี่เหลี่ยมจัตุรัส จากปัญหาวิกฤต
อสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้นตัวท้าให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกินสูงกดดันให้ราคาเหล็กใน
ตลาดโลก (เอเชีย จีน) และในประเทศลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า
?หมวดกระเบื้อง ลดลงร้อยละ 0.8 จากการลดลงของกระเบื้องเคลือบปูพื้น กระเบื้องเคลือบบุผนัง
และกระเบื้องยาง.PVC ปูพื้น เนื่องจากความต้องการใช้ลดลงตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดวัสดุฉาบผิว สูงขึ้นร้อยละ 1.4 จากการสูงขึ้นของสีทาถนนชนิดสะท้อนแสง
จากความต้องใช้ในการก่อสร้างด้านสาธารณูปโภคโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ
ในโครงการต่อเนื่อง
?หมวดสุขภัณฑ์ ลดลงร้อยละ 3.7 จากการลดลงของโถส้วมชักโครก ราวจับสแตนเลส ฝักบัวอาบน้า
สายน้าดี และสายฉีดช้าระ เนื่องจากความต้องการใช้ที่ลดลงตามการชะลอตัวของ
ภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 2.7 จากการสูงขึ้นของท่อ PVC สายไฟฟ้า VCT
สายส่งก้าลังไฟฟ้า NYY และเครื่องตัดไฟอัตโนมัติ เนื่องจากต้นทุนราคาวัตถุดิบ (ทองแดง
เม็ดพลาสติก) ปรับสูงขึ้น รวมทั้งมีความต้องการใช้ในการก่อสร้างด้านสาธารณูปโภคและ
โครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐและรัฐวิสาหกิจในโครงการต่อเนื่อง
?หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 0.8 จากการลดลงของวัสดุธรรมชาติ (หิน ดิน ทราย)
และหน้าต่าง UPVC จากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของผู้ประกอบการ
ส นักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.)
1
2. เทียบกับเดือนพฤษภาคม 2567 (MoM) ดัชนีราคาสูงขึ้นร้อยละ 0.3 โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า ดังนี้
(%) MoM
?หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ สูงขึ้นร้อยละ 5.0 จากการสูงขึ้นของไม้พื้น ไม้ฝา ไม้แบบ
ไม้โครงคร่าว และเสาเข็มไม้ เนื่องจากต้นทุนสูงขึ้นทั้งค่าด้าเนินการและการขนส่ง
?หมวดซีเมนต์ ลดลงร้อยละ 0.3 จากการลดลงของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ปูนซีเมนต์ผสม
และปูนฉาบส้าเร็จรูป เนื่องจากการแข่งขันสูง และราคาพลังงาน (ถ่านหิน) ลดลง
?หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต สูงขึ้นร้อยละ 0.9 จากการสูงขึ้นของเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
ท่อระบายน้าคอนกรีต และรางน้าคอนกรีต ตามการสูงขึ้นราคาวัตถุดิบ (หิน ทราย) และ
ค่าขนส่ง รวมทั้งความต้องการใช้ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น
?หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ลดลงร้อยละ 2.8 จากการลดลงของเหล็กเส้นกลมผิวเรียบ
เหล็กเส้นผิวข้ออ้อย เหล็กรางน้า ท่อสแตนเลส และลวดเหล็กเสริมคอนกรีตอัดแรง จากปัญหา
วิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้นตัวท้าให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกินสูงกดดันให้ราคาเหล็กใน
ตลาดโลก (เอเชีย จีน) และในประเทศลดลง
?หมวดกระเบื้อง ลดลงร้อยละ 0.1 จากการลดลงของกระเบื้องยาง PVC ปูพื้น และกระเบื้องลอนคู่
เนื่องจากความต้องการใช้ลดลงตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดวัสดุฉาบผิว สูงขึ้นร้อยละ 1.7 จากการสูงขึ้นของสีทาถนนชนิดสะท้อนแสง สีน้าอะครีลิค
ทาภายใน และภายนอก ตามการสูงขึ้นของราคาวัตถุดิบเคมีภัณฑ์ (ผงสี กาว)
?หมวดสุขภัณฑ์ ลดลงร้อยละ 3.2 จากการลดลงของโถส้วมชักโครก ราวจับสแตนเลส และ
ฝักบัวอาบน้า เนื่องจากความต้องการใช้ลดลงตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 1.1 จากการสูงขึ้นของสายเคเบิล THW
สายส่งก้าลังไฟ NYY สายไฟฟ้า VCT และท่อ PVC เนื่องจากต้นทุนวัตถุดิบ (ทองแดง
เม็ดพลาสติก) สูงขึ้น รวมทั้งมีความต้องการใช้ในการก่อสร้างด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น
?หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 3.0 จากการลดลงของยางมะตอย เนื่องจากต้นทุน
ด้านพลังงาน (ถ่านหิน) ปรับลดลง และหน้าต่าง UPVC จากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของ
ผู้ประกอบการ?หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ดัชนีราคาไม่เปลี่ยนแปลง
?หมวดซีเมนต์ สูงขึ้นร้อยละ 0.1 จากการสูงขึ้นของปูนซีเมนต์ผสม เนื่องจากความต้องการใช้
ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น
?หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต สูงขึ้นร้อยละ 0.5 จากการสูงขึ้นของเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง และ
ชีทไพล์คอนกรีต ตามการสูงขึ้นของต้นทุนวัตถุดิบ (ซีเมนต์ เหล็ก) และค่าขนส่ง รวมทั้ง
ความต้องการใช้ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น
?หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก สูงขึ้นร้อยละ 0.4 จากการสูงขึ้นของเหล็กเส้นกลมผิวเรียบ
เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย เหล็กตัวซี และท่อเหล็กกลวงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เนื่องจากมีความต้องการใช้
ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น
?หมวดกระเบื้อง ลดลงร้อยละ 0.1 จากการลดลงของกระเบื้องคอนกรีตมุงหลังคา กระเบื้องเคลือบปูพื้น
และกระเบื้องเคลือบบุผนัง เนื่องจากความต้องการใช้ลดลงตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดวัสดุฉาบผิว ลดลงร้อยละ 0.1 จากการลดลงของสีน้าอะคริลิค ทาภายนอก เนื่องจาก
ความต้องการใช้ลดลงตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดสุขภัณฑ์ สูงขึ้นร้อยละ 0.5 จากการสูงขึ้นของโถส้วมชักโครก และราวจับสแตนเลส
ตามการสูงขึ้นของราคาวัตถุดิบ (แร่ยิปซั่ม เหล็ก)
?หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 1.1 จากการสูงขึ้นของถังดักไขมัน ถังเก็บน้าไฟเบอร์กลาส
และถังบ้าบัดน้าเสียระบบไม่อัดอากาศ ตามการสูงขึ้นของราคาวัตถุดิบ (เม็ดพลาสติก ไส้กรอง)
และค่าขนส่ง
?หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 0.3 จากการลดลงของยางมะตอย เนื่องจากต้นทุน
ด้านพลังงาน (ถ่านหิน) ปรับลดลง ประตู PVC และหน้าต่าง UPVC ลดลงจากการส่งเสริมการขาย
ของผู้ประกอบการ4. ไตรมาสที่ 2 ปี 2567 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (YoY) ลดลงร้อยละ 0.4 โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า ดังนี้
-1.6
1.4
-3.8
0.9
-0.5
-2.0
0.9
-0.9
5.0
-0.4
หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ
หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา
หมวดสุขภัณฑ์
หมวดวัสดุฉาบผิว
หมวดกระเบื้อง
หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก
หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต
หมวดซีเมนต์
หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้
รวมทุกหมวด
(%) YoY
ส นักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.)
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ กองดัชนีเศรษฐกิจการค้า โทร 0 2507 5816
5. ไตรมาสที่ 2 ปี 2567 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ)สูงขึ้นร้อยละ 0.6 โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า ดังนี้
?หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ ดัชนีราคาไม่เปลี่ยนแปลง
?หมวดซีเมนต์ ลดลงร้อยละ 0.6 จากการลดลงของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซีเมนต์ผสม
และปูนฉาบส้าเร็จรูป เนื่องจากการแข่งขันสูง และผู้ประกอบการเร่งระบายสินค้า
?หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต สูงขึ้นร้อยละ 0.3 จากการสูงขึ้นของเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
ท่อระบายน้าคอนกรีต และคอนกรีตผสมเสร็จ เนื่องจากต้นทุนค่าขนส่งสูงขึ้น
?หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก สูงขึ้นร้อยละ 0.8 จากการสูงขึ้นของเหล็กเส้นกลมผิวเรียบ
เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย และท่อเหล็กกลวงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เนื่องจากความต้องการใช้ใน
โครงการก่อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น จากการเร่งด้าเนินการโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ
?หมวดกระเบื้อง ลดลงร้อยละ 0.1 จากการลดลงของกระเบื้องยาง PVC ปูพื้น
กระเบื้องเคลือบปูพื้น และกระเบื้องลอนคู่ ตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์
จากอัตราดอกเบี้ยที่สูง
?หมวดวัสดุฉาบผิว สูงขึ้นร้อยละ 1.1 จากการสูงขึ้นของสีทาถนน ชนิดสะท้อนแสง และ
น้ามันเคลือบแข็ง ตามการสูงขึ้นของต้นทุนวัตถุดิบ (ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผงสี)
?หมวดสุขภัณฑ์ ลดลงร้อยละ 0.3 จากการลดลงของโถส้วมชักโครก ตามการชะลอตัวของ
ภาคอสังหาริมทรัพย์จากอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้น
?หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 0.9 จากการสูงขึ้นของสายเคเบิล THW
สายส่งก้าลังไฟฟ้า NYY และสายไฟฟ้า VCT เนื่องจากราคาวัตถุดิบ (ทองแดง) สูงขึ้น รวมทั้ง
มีความต้องการใช้ในการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
? หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ สูงขึ้นร้อยละ 2.5 จากการสูงขึ้นของยางมะตอย ตามราคา
ปิโตรเลียม และอลูมิเนียมแผ่นเรียบ ตามราคาวัตถุดิบ (อลูมิเนียม)?หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ สูงขึ้นร้อยละ 5.0 จากการสูงขึ้นของไม้พื้น ไม้แบบ วงกบประตู
บานประตู และเสาเข็มไม้ เนื่องจากต้นทุนการผลิตและการขนส่งสูงขึ้น
?หมวดซีเมนต์ ลดลงร้อยละ 0.9 จากการลดลงของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซีเมนต์ผสม
และปูนฉาบส้าเร็จรูป เนื่องจากการแข่งขันสูง ประกอบกับผู้ประกอบการเร่งระบายสินค้า
?หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต สูงขึ้นร้อยละ 0.9 จากการสูงขึ้นของเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
ท่อระบายน้าคอนกรีต และคอนกรีตผสมเสร็จ เนื่องจากค่าขนส่งสูงขึ้น
?หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ลดลงร้อยละ 2.0 จากการลดลงของเหล็กเส้นกลมผิวเรียบ
เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย เหล็กตัวซี และท่อเหล็กเคลือบสังกะสี ตามการลดลงของราคาเหล็ก
ในตลาดโลก (เอเชีย และจีน)
?หมวดกระเบื้อง ลดลงร้อยละ 0.5 จากการลดลงของกระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องเคลือบปูพื้น
และกระเบื้องยาง PVC ปูพื้น เนื่องจากความต้องการใช้ลดลงตามการชะลอตัวของ
ภาคอสังหาริมทรัพย์
?หมวดวัสดุฉาบผิว สูงขึ้นร้อยละ 0.9 จากการสูงขึ้นของสีทาถนน ชนิดสะท้อนแสง
เนื่องจากความต้องการใช้ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น
?หมวดสุขภัณฑ์ ลดลงร้อยละ 3.8 จากการลดลงของโถส้วมชักโครก และ ราวจับสแตนเลส
ตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์จากอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้น
?หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 1.4 จากการสูงขึ้นของสายเคเบิล THW
สายส่งก้าลังไฟฟ้า NYY สายไฟฟ้า VCT และท่อ PVC จากความต้องการใช้ในการก่อสร้าง
ด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐและรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น
?หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 1.6 จากการลดลงของยางมะตอย ที่ลดลงจาก
ต้นทุนด้านพลังงาน (ถ่านหิน) ปรับลดลง
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างไตรมาสที่ 3 ปี 2567 มีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าและช่วงเดียวกันของปี 2566
โดยมีปัจจัยจากการเร่งด้าเนินการเบิกจ่ายงบประมาณประจ้าปี 2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ การทยอยปรับขึ้นของค่าแรงขั้นต้า
การปรับราคาน้ามันดีเซลภายในประเทศ ความผันผวนของราคาน้ามัน และราคาพลังงานในตลาดโลกจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์
สงครามการค้าระหว่างสหรัฐและจีน ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะกระทบต่อต้นทุนวัตถุดิบ และค่าขนส่งของสินค้าวัสดุก่อสร้าง รวมทั้งนโยบาย
การลดการใช้พลังงานในการผลิตเหล็กของจีน ท้าให้ราคาเหล็กในประเทศและในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ส่งผลให้ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง
ไตรมาสที่ 3 ปี 2567 มีแนวโน้มสูงขึ้น
อย่างไรก็ตาม อัตราดอกเบี้ย และหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ท้าให้มีการเข้มงวดการอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน ส่งผลให้
อุปสงค์ของภาคอสังหาริมทรัพย์ในปี 2567ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นปัจจัยลบที่ส่งผลให้ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างไม่เป็นไปตามที่คาดไว