ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday December 25, 2024 14:51 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

ดัชนีราคาส่งออก เดือนพฤศจิกายน 2567 เท่ากับ 110.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.1 (YoY)อย่างไรก็ตาม ความต้องการของตลาดในหลายกลุ่มสินค้ายังขยายตัวต่อเนื่อง ส่งผลให้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.6 ได้แก็ ยางพารา ได้รับปัจจัยหนุนจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นของตลาดทั้งในประเทศและต็งประเทศ และผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็ง และแห้ง ยังคงขยายตัวดี เนื่องจากคุณภาพเป็นที่ยอมรับของตลาด โดยเฉพาะความต้องการบริโภคผลไม้เมืองร้อนของชาวจีนยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต็อเนื่อง หมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.4 ได้แก็ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ตามแนวโน้มความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในตลาดโลกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ส็วนบุคคล และสมาร์ทโฟน รวมถึงความต้องการใช้แผ็นวงจรพิมพ์สำหรับรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ทองคำ แม้ราคาจะมีความผันผวน แต็ความต้องการถือครองทองคำในฐานะสินทรัพย์ปลอดภัยยังเพิ่มขึ้น และเครื่องใช้ไฟฟ้า ตามการขยายตัวของเมืองและที่อยูอาศัยทั่วโลก ทำให้ความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 1.0 ได้แก็ อาหารสัตว์เลี้ยงตามความต้องการของตลาดอาหารสัตว์เลี้ยงที่ขยายตัวต็อเนื่อง และอาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ตามพฤติกรรมผู้บริโภคที่ให้ความสำคัญกับความสะดวกสบาย ราคาย็อมเยา และใส็ใจต็อสุขภาพ ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 5.3 โดยเฉพาะน้ำมันสำเร็จรูป ตามทิศทางราคาน้ำมันตลาดโลกที่ลดลง เนื่องจากอุปสงค์น้ำมันยังคงอ็อนแอจากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มฟื้นตัวช้า

ดัชนีราคานำเข้า เดือนพฤศจิกายน 2567เท่ากับ 112.5เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวร้อยละ 1.4 (YoY)โดยหมวดสินค้าที่ส่งผลให้ดัชนีราคานำเข้าปรับสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 7.6 ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เครื่องประดับอัญมณี และผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ ตามความต้องการสินค้าเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค และรองรับการขยายตัวของภาคการท็องเที่ยว หมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 3.9 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตามการเติบโตอย็งรวดเร็วของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI)และความต้องการสินค้าที่ประมวลผลขั้นสูง สำหรับเครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการสินค้าเพื่อใช้ในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 3.7 ได้แก็ ทองคำ ราคายังทรงตัวสูงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก็อน ตามความต้องการสำรองทองคำของธนาคารกลางในหลายประเทศทั่วโลก อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสินแร็โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ ตามความต้องการสินค้าเพื่อนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเพิ่มขึ้น และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 0.7 โดยเฉพาะส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ ตามความต้องการอุปกรณ์และชิ้นส็วนเพื่อใช้ในการผลิตรถยนต์ภายในประเทศ และส็งออก ขณะที่หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงต่อเนื่อง ที่ร้อยละ 9.4 ได้แก็ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป ตามทิศทางอุปสงค์น้ำมันโลกยังอยูในระดับต่ำ โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีนที่ยังส็งสัญญาณชะลอตัว

แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก และดัชนีราคานำเข้า เดือนธันวาคม 2567 คาดว็จะขยายตัวต็อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ฐานราคาปี 2566อยูในระดับต่ำกว็ปี 25672) ราคาสินค้าเกษตรบางรายการยังทรงตัวในระดับสูงจากสภาพภูมิอากาศแปรปรวน และ 3) สถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ยืดเยื้อ อาจส็งผลต็อราคาพลังงานและวัตถุดิบ รวมถึงค็ระวางเรือที่ยังทรงตัวในระดับสูง อย็งไรก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก็ 1) ความไม็แน็นอนของเศรษฐกิจโลกและประเทศคูค้าที่ชะลอตัวกว็ที่คาด 2) ความเสี่ยงจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีแนวโน้มยืดเยื้ออาจส็งผลกระทบต็อการค้าโลก และการค้าระหว็งประเทศของไทย 3) ความไม็แน็นอนจากนโยบายการค้าของผู้นำสหรัฐฯ คนใหม็ ซึ่งอาจส็งผลกระทบต็อเศรษฐกิจโลก รวมถึงการส็งออกของไทย และ 4) ความผันผวนของค็เงินบาทอัตราการค้า (Term of Trade)เดือนพฤศจิกายน 2567

อัตราการค้าของไทย ในเดือนพฤศจิกายน 2567 เท่ากับ 98.3 (เดือนตุลาคม 2567 เท็กับ 98.1) เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงต่ำกว่า 100เป็นเดือนที่ 35ติดต่อกัน สะท้อนถึงไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว่างประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว่าราคาส่งออก เป็นผลจากราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออกสำหรับแนวโน้มอัตราการค้า เดือนธันวาคม 2567 คาดว็จะอยูในระดับต่ำกว็ 100 ต็อเนื่อง ตามทิศทางราคาน้ำมันนำเข้าที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง

1. เทียบกับเดือนตุลาคม 2567 (MoM)ลดลงร้อยละ 0.4โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวลดลงเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม ลดลงร้อยละ 1.5 ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวลดลงเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม ลดลงร้อยละ 1.5

3. เฉลี่ย มกราคม -พฤศจิกายน ปี 2567 เทียบกับปี 2566 (AoA)สูงขึ้นร้อยละ 1.4โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 5.5 ได้แก็ ยางพารา จากปัญหาอุปทานตึงตัว โดยคาดว็ไทยซึ่งผลิตยางพาราประมาณ 1 ใน 3 ของโลก จะมีผลผลิตลดลงร้อยละ 10-15 ในปี 2567 ข้าว เนื่องจากผู้นำเข้าข้าวสำคัญ อาทิ อินโดนีเซีย และสหรัฐฯ ยังคงมีความต้องการนำเข้าข้าวเพื่อรองรับการบริโภคช็วงปลายปีสำหรับเทศกาลคริสต์มาสและปีใหม็ และผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นในต็งประเทศ โดยเฉพาะจีน หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 1.6 ได้แก็ น้ำตาลทราย เนื่องจากความกังวลด้านอุปทาน จากภัยแล้งที่ยาวนาน และฝนที่ตกหนักในพื้นที่5.5 ตอนกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งเป็นภูมิภาคหลักในการผลิตน้ำตาล อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ตามอุปสงค์โลกที่ปรับตัวดีขึ้น จากการฟื้นตัวของการบริโภคภาคเอกชน และอาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว ตามความต้องการอาหารที่มีวัตถุดิบคุณภาพสูง อาทิ โปรตีนจากไก็ วัว และปลา และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.0 ได้แก็ ทองคำตามความต้องการสำรองทองคำที่เพิ่มขึ้นของธนาคารกลางในหลายประเทศรถยนต์ ตามความต้องการรถยนต์จากต็งประเทศที่ยังขยายตัวดี เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศและส็วนประกอบ ตามความต้องการติดตั้งระบบปรับอากาศในภาคส็วนที่อยูอาศัย และอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นและเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ตามความต้องการใช้แผ็นวงจรพิมพ์สำหรับรถยนต์ไฟฟ้าที่ขยายตัวต็อเนื่อง และการพัฒนาระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติในรถยนต์ไฟฟ้าในระดับ FullDrivingAutomation ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวลดลง คือ หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 2.4 ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ ตามฐานราคาที่สูงในปี 2566 และความต้องการใช้น้ำมันที่ยังอยูในระดับต่ำ4. แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก เดือนธันวาคม2567 แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก เดือนธันวาคม 2567 คาดว่าจะขยายตัวเล็กน้อย ตามความกังวลด้านต้นทุนพลังงานจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว็งรัสเซียและยูเครน และอิสราเอล-ปาเลสไตน์-ฮิซบอลเลาะห์-อิหร็น ประกอบกับสหรัฐฯ ภายใต้การนำของว็ที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ อาจปรับขึ้นภาษีนำเข้าจากจีน ซึ่งจะทำให้ผู้ประกอบการในสหรัฐฯ หันมานำเข้าสินค้าจากตลาดอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะอาเซียน อย็งไรก็ตาม ความเสี่ยงจาก (1) การฟื้นตัวที่ช้าของเศรษฐกิจโลกและประเทศคูค้า (2) ความกังวลสงครามรัสเซีย-ยูเครนทวีความรุนแรง หลังจากสหรัฐฯ อนุมัติให้ยูเครนใช้ขีปนาวุธที่จัดหาให้ เพื่อโจมตีรัสเซีย ขณะที่รัสเซียใช้ขีปนาวุธแบบใหม็ที่มีความเร็วเหนือเสียงโจมตียูเครนเป็นครั้งแรก อาจทำให้บรรยากาศการค้า-การลงทุนของโลกชะงัก จากปัญหาเงินเฟ้อในภูมิภาคยุโรปที่สูงขึ้น ทำให้กำลังซื้อถดถอย(3) เงินบาทมีแนวโน้มผันผวนสูงในช็วงที่เหลือของปี 2567โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากความไม็แน็นอนของการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ (4)อินเดีย ซึ่งเป็นผู้ส็งออกข้าวอันดับ 1ของโลก อนุมัติให้ส็งออกข้าวขาวที่ไม็ใช็พันธุ์บาสมาติอีกครั้ง อาจส็งผลให้มีอุปทานข้าวโลกส็วนเกิน และกดดันให้ราคาข้าวลดลง และ (5)ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตลาดส็งออกอันดับ 3 ของไทย อาจเผชิญภาวะการบริโภคภาคเอกชนถดถอย สะท้อนจากจำนวนบริษัทที่ยื่นล้มละลายในญี่ปุ่น ปี 2567มีแนวโน้มทะลุ 10,000ราย ซึ่งจะเป็นตัวเลขสูงสุดนับตั้งแต็ปี 2556หรือในรอบ 11ปี ปัจจัยดังกล็วอาจทำให้ดัชนีราคาส็งออกขยายตัวต่ำกว็ที่คาดการณ์

1. เทียบกับเดือนตุลาคม 2567 (MoM) ลดลงร้อยละ 0.5โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วยหมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 2.0 ได้แก็น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลางมีแนวโน้มผ็อนคลายลง ประกอบกับความกังวลด้านอัตราเงินเฟ้อสหรัฐฯ ที่ยังอยูในระดับสูง และปริมาณน้ำมันดิบคงคลังของสหรัฐฯ ที่ปรับเพิ่มขึ้น รวมถึงความต้องการใช้น้ำมันโลกยังคงถูกกดดันจากเศรษฐกิจจีนที่ยังไม็ฟื้นตัว ส็งผลให้ราคาน้ำมันปรับตัวลดลงสำหรับก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียมราคาลดลง เนื่องจากสภาพอากาศที่อบอุนกว็ปกติ ส็งผลให้ปริมาณสำรองก๊าซเพียงพอสำหรับใช้ในช็วงฤดูหนาว และถ็นหินราคาลดลง เนื่องจากข้อจำกัดด้านมลพิษ หลายประเทศจึงให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม และหันมาสนับสนุนการใช้พลังงานไฟฟ้าทดแทน หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 0.8 ได้แก็ ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก และส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์ และรถจักรยานเนื่องจากเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวช้า ประกอบกับสถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล็อยสินเชื่อ และหนี้ครัวเรือนยังอยูในระดับสูง ส็งผลให้กำลังซื้อชะลอตัว และหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป ลดลงร้อยละ 0.7 ได้แก็ ทองคำ เนื่องจากสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค็สุดในรอบ 1 ปี ประกอบกับธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด)ปรับลดอัตราดอกเบี้ยช้าลงกว็ที่คาดการณ์ ส็งผลให้ความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยลดลงและปุ์ย เนื่องจากมีปริมาณสต๊อกเพียงพอต็อการเพาะปลูก ประกอบกับราคาปุ์ยตลาดโลกปรับตัวลดลงสำหรับเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เป็นผลจากการลงทุนและการใช้จ็ยภาครัฐในโครงการต็ง ๆ ภายในประเทศชะลอตัว ประกอบกับปริมาณการผลิตเหล็กโลกเพิ่มขึ้น รวมถึงจีนประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจและธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังไม็ฟื้นตัว ส็งผลให้ราคาเหล็กปรับตัวลดลง ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วยหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 0.5 ได้แก็เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด และผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ ตามความต้องการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม โดยเฉพาะยารักษาโรค เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุ ประกอบกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใส็ใจสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงการเพิ่มขึ้นของโรคไม็ติดต็อเรื้อรัง (NCDs)ส็งผลให้ความต้องการใช้ยาในการรักษาโรคเพิ่มขึ้นและหมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 0.3 ได้แก็เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบตามความต้องการสินค้าเพื่อการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมและภาคการผลิตเพิ่มขึ้น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตามวัฏจักรขาขึ้นของคอมพิวเตอร์และHardDiskDriveที่ฟื้นตัวประกอบกับความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในกลุมชิ้นส็วนอิเล็กทรอนิกส์และกลุมไฟฟ้ากำลัง (PowerElectronics)ในตลาดโลกที่ขยายตัวต็อเนื่อง สำหรับเครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์การทดสอบ ราคาสูงขึ้น เนื่องจากความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมทางการแพทย์ในการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องมากขึ้น ประกอบกับการใช้เทคโนโลยี AIและระบบคลาวด์ในเครื่องมือแพทย์เพื่อช็วยเสริมความทันสมัยและเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น2. เทียบกับเดือนพฤศจิกายน 2566 (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 1.4โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วยหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 7.6 ได้แก็เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องประดับอัญมณี เครื่องใช้และเครื่องตกแต็งภายในบ้านเรือน และผัก ผลไม้ และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ตามความต้องการอุปโภคบริโภคที่มีอย็งต็อเนื่อง สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เนื่องจากความต้องการดูแลสุขภาพเชิงป้องกันมีแนวโน้มสูงขึ้น รวมถึงการท็องเที่ยวเชิงการแพทย์ (MedicalTourism)ในประเทศเพิ่มขึ้น ส็งผลให้ความต้องการใช้ยาในประเทศเพิ่มขึ้นตาม หมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 3.9 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส็วนประกอบ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ตามความต้องการใช้เซมิคอนดักเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับ AIและหน็วยความจำแบนด์วิดท์สูง หรือ High-BandwidthMemory(HBM)ที่เพิ่มขึ้นอย็งต็อเนื่อง เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นในภาคอุตสาหกรรมและภาคการผลิต สำหรับเครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การทดสอบ เนื่องจากอัตราการเจ็บป่วย และจำนวนผู้สูงอายุที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส็งผลให้ความต้องการอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับสุขอนามัย และการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นต็อเนื่องหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 3.7 โดยเฉพาะทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น และอุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสินแร็โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์

และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 0.7 ได้แก็ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ และส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์ และรถจักรยาน ตามความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง คือ หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 9.4 ได้แก็ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป ตามความต้องการใช้ที่มีแนวโน้มปรับลดลง จากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ประกอบกับเงินดอลลาร์สหรัฐที่แข็งค็ขึ้นส็งผลให้ราคาน้ำมันปรับตัวลดลง

3. เฉลี่ย มกราคม -พฤศจิกายน ปี 2567 เทียบกับปี 2566 (AoA)สูงขึ้นร้อยละ 1.0โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ4.1 ได้แก็เครื่องประดับอัญมณี เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ เครื่องใช้และเครื่องตกแต็งภายในบ้านเรือน เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ และกาแฟ ชา เครื่องเทศ ตามความต้องการสินค้าอุปโภคบริโภคที่เพิ่มขึ้นสำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เนื่องจากการเข้าสูสังคมผู้สูงอายุ ทำให้ความต้องการดูแลสุขภาพเชิงป้องกันมีแนวโน้มสูงขึ้น ส็งผลให้ความต้องการอุปกรณ์ทางการแพทย์สำหรับการวินิจฉัยและรักษาโรคเพิ่มขึ้น หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 3.2 ได้แก็ ทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น และอุปกรณ์ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้า ตามความต้องการใช้แผ็นวงจรพิมพ์สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า รวมถึงแผ็นวงจรพิมพ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 1.3 ได้แก็เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตามความต้องการใช้คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ต็อพ็วง และผลิตภัณฑ์ HardDiskDriveมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประกอบกับการเปิดตัวสมาร์ทโฟนที่รองรับการใช้ AIมากขึ้น เป็นปัจจัยหนุนให้เกิดความต้องการเปลี่ยนสมาร์ทโฟนใหม็เพิ่มขึ้น และเครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การทดสอบ เนื่องจากการเติบโตของเทคโนโลยีทางการแพทย์และนวัตกรรมต็ง ๆ ส็งผลให้ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 5.2 โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม และถ็นหิน ราคาลดลงเนื่องจากปริมาณการสำรองก๊าซและถ็นหินในปัจจุบันยังอยูในระดับสูง สำหรับน้ำมันดิบ เป็นผลจากความต้องการใช้มีแนวโน้มปรับลดลงตามเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวช้า และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ0.6 โดยเฉพาะรถยนต์นั่ง ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ เป็นผลจากความเข้มงวดในการปล็อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน เนื่องจากหนี้ครัวเรือนที่อยูในระดับสูง ส็งผลให้ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจซื้อ4. แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า เดือนธันวาคม 2567 แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า เดือนธันวาคม 2567 คาดว่าจะขยายตัว ผลจากราคาวัตถุดิบนำเข้าจากต็งประเทศที่อาจปรับตัวสูงขึ้น จากการที่รัสเซียยุติข้อตกลงส็งออกธัญพืชยูเครนผ็นทะเลดำ สงครามรัสเซีย-ยูเครนที่มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น สถานการณ์ความตึงเครียดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ซึ่งเป็นแหล็งผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (ชิป) ที่สำคัญของโลก จากการที่จีนส็งเรือรบ และเรือยามฝั่งเข้าประจำการในน็นน้ำใกล้เกาะไต้หวัน หมูเกาะทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ อาจส็งผลให้อุปทานชิปโลกตึงตัว ทำให้วัตถุดิบของสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี อาทิ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ มีราคาสูงขึ้น เนื่องจากชิปเป็นส็วนประกอบสำคัญในการผลิตสินค้ากลุมดังกล็ว ประกอบกับรัฐบาลชุดใหม็ของสหรัฐฯ อาจเพิ่มมาตรการใช้จ็ยภาครัฐ และปรับเพิ่มภาษีนำเข้า ซึ่งจะทำให้อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น ส็งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ชะลอการปรับลดอัตราดอกเบี้ย จนเงินบาทอ็อนค็ นำมาสูภาวะราคาสินค้านำเข้าแพงขึ้น อย็งไรก็ตาม (1) ทิศทางเศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไม็แน็นอน จากเศรษฐกิจจีนที่ฟื้นตัวช้า(2) จากการที่สหรัฐฯ เพิ่มภาษีนำเข้ากับสินค้าจีน จะทำให้ผู้ส็งออกจีนระบายสินค้ามายังตลาดอาเซียนมากขึ้น เพื่อรักษาอัตราการใช้กำลังการผลิตในประเทศ จนนำมาสูปัญหาสินค้าจีนทะลักเข้าไทย และอาจทำให้ผู้ผลิตในบางกลุมธุรกิจสามารถนำเข้าวัตถุดิบในราคาที่ลดลง และ (3) ความขัดแย้งระหว็งรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ รวมถึงสถานการณ์ความไม็สงบระหว็งอิสราเอลปาเลสไตน์ และพันธมิตรของอิหร็น อาจนำไปสูการชะลอตัวของเศรษฐกิจและการค้าโลก ซึ่งปัจจัยเหล็นี้อาจส็งผลให้ดัชนีราคานำเข้าขยายตัวต่ำกว็ที่คาดการณ์

อัตราการค้าของไทยในเดือนพฤศจิกายน2567เท่ากับ98.3(เดือนตุลาคม2567เท่ากับ98.1)เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าแต่ยังคงต่ำกว่า100เป็นเดือนที่35ติดต่อกันสะท้อนถึงไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว่างประเทศเนื่องจากระดับราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก

อัตราการค้าของไทย เดือนพฤศจิกายน 2567 เท่ากับ 98.3 (เดือนตุลาคม 2567 เท็กับ 98.1) เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 35ติดต่อกัน สะท้อนถึง ไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว็งประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว็ราคาส็งออก สาเหตุหลักเป็นผลจากราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออก

สำหรับกลุ่มสินค้าที่ราคาส่งออกยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคานำเข้า (ได้เปรียบในอัตราการค้า) ประกอบด้วย กลุมสินค้าที่ใช้วัตถุดิบขั้นกลางจากต็งประเทศในการผลิตเช็นเคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องจักรกลและส็วนประกอบ เม็ดพลาสติก เครื่องสำอาง สบู และผลิตภัณฑ์รักษาผิว และผลิตภัณฑ์ทำจากข้าวและแป้งและกลุมสินค้าขั้นกลางที่ใช้วัตถุดิบภายในประเทศในการผลิตเช็น ผลไม้ ผลไม้กระป์องและแปรรูป และของปรุงแต็งทำจากผลไม้ ผัก ผักกระป์องและแปรรูป และของปรุงแต็งทำจากผัก เป็นต้น

ขณะที่กลุ่มสินค้าที่ราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก (เสียเปรียบในอัตราการค้า) ได้แก็ น้ำมันดิบ ทองคำ น้ำมันสำเร็จรูป ทองแดงและผลิตภัณฑ์ นมและผลิตภัณฑ์นม และเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ นอกจากนี้ ยังมีสินค้าอื่น ๆ ที่ราคานำเข้าสูงกว็ราคาส็งออก อาทิ อัญมณีและเครื่องประดับ สิ่งทอและเสื้อผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า แผงวงจรไฟฟ้า และกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ เป็นต้น

แนวโน้มอัตราการค้า เดือนธันวาคม 2567 คาดว็จะอยูในระดับต่ำกว็ 100ต็อเนื่อง ตามทิศทางราคาน้ำมันนำเข้าที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง

ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ