ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนธันวาคม 2567 และปี 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Monday January 27, 2025 15:27 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

Highlights

ดัชนีราคาส่งออก เดือนธันวาคม 2567 เท่ากับ 110.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวร้อยละ 1.2 (YoY)ตามความต้องการในหลายกลุ่มสินค้า และตลาดหลักที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป และส่งผลให้ดัชนีราคาส่งออกปรับสูงขึ้นทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.4 ได้แก็ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ตามแนวโน้มความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในตลาดโลกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ และกลุมชิ้นส็วนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า สำหรับทองคำ ราคายังทรงตัวสูง แม้จะมีความผันผวนจากค็เงินดอลลาร์สหรัฐ และเครื่องใช้ไฟฟ้า

มีแนวโน้มเติบโตดีตามความต้องการของตลาดโลกที่เพิ่มขึ้น หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง กลับมาสูงขึ้นร้อยละ 1.3 โดยเฉพาะน้ำมันสำเร็จรูป เป็นผลจากฐานราคาเดือนธันวาคม 2566อยูในระดับต่ำ ประกอบกับราคาน้ำมันตลาดโลกปรับสูงขึ้น ตามอุปสงค์ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ได้แก็ อาหารสัตว์เลี้ยง ตามความนิยมในการเลี้ยงสัตว์ที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ส็งผลให้ความต้องการอาหารสัตว์เลี้ยงเพิ่มขึ้นและอาหารทะเลกระป์องและแปรรูป เนื่องจากมาตรฐานและคุณภาพการผลิตเป็นที่ยอมรับของตลาดโลก ทำให้มีความต้องการอย็งต็อเนื่อง และหมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 ได้แก็ ยางพารา เนื่องจากได้รับผลกระทบจากปัญหาอุทกภัยในบางพื้นที่ของภาคใต้ ทำให้ปริมาณผลผลิตลดลง ขณะที่ความต้องการใช้ยางพาราในอุตสาหกรรมต็ง ๆ เพิ่มขึ้นต็อเนื่อง และผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง ขยายตัวดีตามความต้องการบริโภคผลไม้จากจีน

ดัชนีราคานำเข้า เดือนธันวาคม 2567เท่ากับ 112.9เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 2.5 (YoY)ปัจจัยหลักเป็นผลจากฐานราคาเดือนธันวาคม 2566อยู่ในระดับต่ำจากราคาน้ำมันที่ลดลง ประกอบกับหมวดสินค้าทุน วัตถุดิบ และอุปโภคบริโภคขยายตัวดี เพื่อรองรับการผลิตและการบริโภคของประเทศ และส่งผลให้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 7.5 ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เครื่องประดับอัญมณี และผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ เพื่อตอบสนองความต้องการในการอุปโภคบริโภคของประเทศ และรองรับการฟื้นตัวของภาคการท็องเที่ยว หมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 4.1 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการสินค้าที่ใช้นวัตกรรมใหม็ ๆ และมีประสิทธิภาพสูงและหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 3.1 ได้แก็ ทองคำ ราคายังทรงตัวสูงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก็อน ตามความต้องการสำรองทองคำเพื่อความปลอดภัยของหลายประเทศทั่วโลก สำหรับอุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และเคมีภัณฑ์ ตามความต้องการสินค้าเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมต็ง ๆ ขณะที่หมวดสินค้าที่ส่งผลให้ดัชนีราคานำเข้าลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 3.0 โดยเป็นการติดลบน้อยลงจากราคาน้ำมันดิบเป็นสำคัญ ตามทิศทางราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่อยูในระดับต่ำเมื่อเทียบกับปีก็อน และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 1.1 โดยเฉพาะรถยนต์โดยสารและรถบรรทุก ตามความต้องการที่ชะลอลง เนื่องจากหนี้ครัวเรือนอยูในระดับสูง และสถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการขออนุมัติสินเชื่อ

แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก และดัชนีราคานำเข้า ปี 2568 คาดว็จะขยายตัวต็อเนื่อง แม้จะเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงหลายด้าน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ฐานราคาปี 2567 ยังอยูในระดับไม็สูงมาก 2) สถานการณ์เศรษฐกิจโลกและประเทศคูค้าคาดว็จะฟื้นตัวอย็งช้า ๆ 3) ราคาสินค้าเกษตรและอาหารบางกลุมยังขยายตัวตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น 4) ราคาพลังงานและวัตถุดิบมีแนวโน้มปรับสูงขึ้น และ 5) สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าบางกลุม ขยายตัวตามการเติบโตของอุตสาหกรรมเทคโนโลยี อย็งไรก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก็ 1) ความไม็แน็นอนของเศรษฐกิจโลก และประเทศคูค้า โดยเฉพาะการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน 2) ความเสี่ยงจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีแนวโน้มยืดเยื้อในหลายภูมิภาค 3) ความไม็แน็นอนจากนโยบายการค้าและภาษีของสหรัฐฯ ซึ่งอาจส็งผลกระทบต็อเศรษฐกิจโลก รวมถึงการส็งออกของไทย 4) การแข็งขันทางด้านราคามีแนวโน้มสูงขึ้น และ 5) ความผันผวนของค็เงินบาทอัตราการค้า (Term of Trade)เดือนธันวาคม 2567

อัตราการค้าของไทย ในเดือนธันวาคม 2567 เท่ากับ 98.1 (เดือนพฤศจิกายน 2567 เท็กับ 98.3) ลดลงจากเดือนก่อนหน้า และยังคงต่ำกว่า 100เป็นเดือนที่ 36ติดต่อกัน สะท้อนถึงไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว่างประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว่าราคาส่งออก เป็นผลจากราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออกสำหรับแนวโน้มอัตราการค้า ปี 2568 คาดว็จะอยูในระดับต่ำกว็ 100 ต็อไปในอีกระยะหนึ่ง ตามทิศทางราคาน้ำมันนำเข้าที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง 1. เทียบกับเดือนพฤศจิกายน 2567 (MoM)สูงขึ้นร้อยละ 0.2โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 0.7 ได้แก็น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ เนื่องจากคาดการณ์ว็อุปสงค์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช็วงเทศกาลตรุษจีน ประกอบกับแผนการใช้นโยบายการเงินแบบผ็อนคลายและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมของจีน ซึ่งเป็นผู้นำเข้าน้ำมันรายใหญ็ของโลก หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ได้แก็ข้าว เนื่องจากอุปทานตึงตัว โดยเฉพาะกลุมข้าวขาวและข้าวหอมมะลิ จากการที่โรงสีในไทยสต็อกข้าวเพิ่มขึ้นเพื่อใช้บริโภคในประเทศช็วงปลายปี ประกอบกับมีความต้องการจากคูค้าเพิ่มขึ้น อาทิ สหรัฐฯ อินโดนีเซีย อิรัก และฟิลิปปินส์และยางพารา ตามอุปทานตึงตัวจากปัญหาอุทกภัยในภาคใต้ของไทย ส็งผลให้ไม็สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ประกอบกับคูค้าเร็งสต็อกสินค้าเนื่องจากกังวลสินค้าขาดตลาดและหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 ได้แก็ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำหรับอุปกรณ์สวมใส็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และยานยนต์ไฟฟ้า (EV)และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซึ่งกระตุ้นความต้องการของตลาดเครื่องจักรในภาคอุตสาหกรรม สำหรับหมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร ดัชนีราคาไม่เปลี่ยนแปลง แต็มีการเปลี่ยนแปลงในระดับกลุมสินค้าสำคัญ โดยสินค้าที่มีราคาสูงขึ้น ได้แก็ อาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว ตามจำนวนเจ้าของสัตว์เลี้ยงที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก และไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ ตามความต้องการของคูค้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่สินค้าที่ราคาลดลง ได้แก็ เครื่องดื่ม ตามความต้องการเครื่องดื่มที่ไม็มีแอลกอฮอล์ที่ลดลง เนื่องจากผู้บริโภคในกลุมประเทศคูค้าหลักโดยเฉพาะ CLMV ระมัดระวังการใช้จ็ยมากขึ้น อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ตามอุปทานปลาทูน็ที่จับได้เพิ่มขึ้นจากภาวะโลกร้อน ซึ่งส็งผลให้อุณหภูมิในมหาสมุทรอุนขึ้น และน้ำตาลทราย ตามผลผลิตทั่วโลกที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับค็เงินเรียลบราซิลที่อ็อนค็สูงสุดเป็นประวัติการณ์ หนุนให้ผู้ผลิตรายใหญ็เร็งส็งออกน้ำตาลเพิ่มขึ้น2. เทียบกับเดือนธันวาคม 2566 (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 1.2โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.4 ได้แก็เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นของคูค้า โดยเฉพาะสินค้ากลุมสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และชิ้นส็วนอิเล็กทรอนิกส์ ทองคำ ตามความต้องการซื้อเพื่อเก็งกำไรเพิ่มขึ้น หลังการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางในหลายประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐฯ รถยนต์ ตามความต้องการรถยนต์ใหม็ที่เพิ่มขึ้นในต็งประเทศ เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศและส็วนประกอบ ตามความต้องการระบบทำความเย็นที่เพิ่มขึ้น จากภาวะโลกร้อนที่รุนแรง และผลิตภัณฑ์ยาง ตามแนวโน้มราคายางธรรมชาติโลกที่เพิ่มขึ้น หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 1.3 โดยเฉพาะน้ำมันสำเร็จรูป ตามความคาดหวังว็นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ในระยะแรกจะช็วยสนับสนุนความต้องการใช้น้ำมันในสหรัฐฯ หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ได้แก็ อาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว ตามการเป็นเจ้าของสัตว์เลี้ยงที่เพิ่มขึ้นในตลาดเกิดใหม็ โดยเฉพาะภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ตามการบริโภคของประเทศคูค้าหลักของไทยที่ทยอยฟื้นตัว ประกอบกับความนิยมผลิตภัณฑ์อาหารทะเลพร้อมรับประทาน และอาหารที่เก็บรักษาได้นาน ผลไม้กระป์องและแปรรูป ตามการเติบโตของอุตสาหกรรมขนมขบเคี้ยวในจีน ทำให้ความต้องการผลไม้อบแห้งและผลไม้แช็อิ่มที่มีรสชาติหลากหลายเพิ่มขึ้น และเครื่องดื่มที่ไม็มีแอลกอฮอล์ ตามความต้องการของคูค้าในต็งประเทศที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาด CLMV และหมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 ได้แก็ ยางพารา ตามผลผลิตที่มีทิศทางลดลง จากปัญหาภัยธรรมชาติโรคใบร็วงยางพารา และการขาดแคลนแรงงานกรีดยาง ขณะที่ความต้องการยางธรรมชาติยังมีต็อเนื่อง ผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง เนื่องจากผลไม้ไทยยังได้รับความนิยมในกลุมผู้บริโภคชาวจีน โดยเฉพาะทุเรียน และลำไย ผักสดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นของคูค้าต็งประเทศ และกุ้ง ตามภาวะอุปทานตึงตัว จากผลผลิตที่ลดลงในกลุมประเทศผู้ผลิตหลัก อาทิ เอกวาดอร์ จีน อินเดีย และเวียดนาม3. เฉลี่ยทั้งปี 2567 เทียบกับปี 2566 (AoA)สูงขึ้นร้อยละ 1.4โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ4.9

หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 1.5

และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.1

ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวลดลง คือ หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 2.0 4. ไตรมาสที่ 4 ปี 2567 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 1.2โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.7 5. ไตรมาสที่ 4 ปี 2567 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ) สูงขึ้นร้อยละ 0.1 โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.4 7. แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก ปี 2568 แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก ปี 2568 คาดว่าจะขยายตัวต่อเนื่อง ตามความกังวลด้านต้นทุนพลังงานจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว็งรัสเซียและยูเครน ประกอบกับสหรัฐฯ ภายใต้การนำของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ อาจปรับขึ้นภาษีนำเข้าจากจีน ซึ่งจะทำให้ผู้ประกอบการในสหรัฐฯ หันมานำเข้าสินค้าจากตลาดอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะอาเซียน นอกจากนี้ การยื่นขอรับสวัสดิการว็งงานครั้งแรกในสหรัฐฯ ช็วงปลายปี 2567อยูระดับต่ำที่สุดในรอบ 8เดือน สะท้อนถึงระดับการเลิกจ้างที่ค็อนข้างต่ำ ประกอบกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม็ อาจส็งผลให้การบริโภคฟื้นตัว ทำให้ความต้องการนำเข้าสินค้าของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นตลาดส็งออกอันดับ 1ของไทย เพิ่มขึ้น อย็งไรก็ตาม ความเสี่ยงจาก (1) การฟื้นตัวที่ช้าของเศรษฐกิจโลกและประเทศคูค้า (2) จีน ซึ่งเป็นตลาดส็งออกอันดับ 2ของไทย เผชิญกับภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว สะท้อนจากภาคการผลิตโตต่ำกว็ที่คาดการณ์ เช็นเดียวกับดัชนีราคาผู้บริโภคที่ปรับตัวขึ้นเพียงเล็กน้อยในเดือนธันวาคม 2567นับเป็นการชะลอตัวติดต็อกันเป็นเดือนที่ 4ซึ่งบ็งชี้ว็มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลยังไม็สามารถช็วยให้จีนพ้นจากความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเงินฝืด (Deflation)(3)สหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับขึ้นภาษีนำเข้า ผ็นการประกาศภาวะฉุกเฉินทางเศรษฐกิจระดับชาติ ซึ่งให้อำนาจแก็ประธานาธิบดีในการกำหนดภาษีศุลกากร อาจทำให้ผู้บริโภคเผชิญปัญหาราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ภาคธุรกิจต้องแบกรับต้นทุนวัตถุดิบที่สูง ส็งผลกระทบต็อบรรยากาศการค้าและการลงทุนและ(4)ราคาสินค้าเกษตรที่สำคัญ มีแนวโน้มลดลง อาทิ ข้าว จากการที่อินเดียกลับมาส็งออกข้าวขาวที่ไม็ใช็ข้าวบาสมาติ ยางพารา เนื่องจากผลผลิตจะเพิ่มขึ้นจากต้นยางพาราที่อยูในช็วงอายุที่ให้ผลผลิตสูง และปริมาณน้ำฝนที่มีแนวโน้มมากกว็ปีก็อน และมันสำปะหลัง เนื่องจากจีน ซึ่งเป็นผู้นำเข้ามันสำปะหลังอันดับ 1ของไทย มีความต้องการนำเข้าลดลง โดยเฉพาะมันเส้น จากการที่จีนมีแนวโน้มผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสินค้าทดแทนมันสำปะหลังเพิ่มขึ้น ปัจจัยดังกล็วอาจทำให้ดัชนีราคาส็งออกขยายตัวต่ำกว็ที่คาดการณ์

1. เทียบกับเดือนพฤศจิกายน 2567 (MoM) สูงขึ้นร้อยละ 0.4โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคานำเข้าของประเทศเดือนธันวาคม 2567 และปี 2567 หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ได้แก็ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว็งรัสเซียและยูเครนมีแนวโน้มรุนแรงต็อเนื่อง ประกอบกับปริมาณน้ำมันดิบคงคลังสหรัฐฯ ปรับลดลง รวมถึงสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE)หนึ่งในสมาชิกของโอเปกพลัส (OPEC+)มีแผนปรับลดการส็งออกน้ำมันในช็วงต้นปีหน้า ส็งผลให้ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นสำหรับก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม เนื่องจากปริมาณสำรองก๊าซปรับตัวลดลง ประกอบกับความต้องการใช้เพิ่มขึ้นในช็วงฤดูหนาว ขณะที่ถ็นหิน ราคาลดลง เนื่องจากความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมปรับลดลง ประกอบกับกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมและข้อจำกัดด้านมลพิษ จึงมีการหันมาใช้พลังงานไฟฟ้าทดแทนเพิ่มขึ้น หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 0.7 ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ และผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ ตามความต้องการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นสำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม โดยเฉพาะยารักษาโรค เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุ ประกอบกับจำนวนผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากโรคติดต็ออุบัติใหม็และโรคอุบัติซ้ำ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส็งผลให้ความต้องการใช้ยาในการรักษาโรคเพิ่มขึ้นและหมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 0.5 ได้แก็ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการสินค้าเพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอุตสาหกรรมดิจิทัล เครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การทดสอบ ราคาสูงขึ้น เนื่องจากความต้องการอุปกรณ์ทางการแพทย์และบริการด้านสุขภาพเพื่อใช้ในการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องมากขึ้น ประกอบกับความต้องการเทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูง อาทิ AIและหุนยนต์ทางการแพทย์ที่เพิ่มขึ้น สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตามความต้องการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีประสิทธิภาพสูง เช็น ระบบสื่อสาร ดาวเทียม รถยนต์ไฟฟ้า สมาร์ตโฟน และเครื่องมือแพทย์ เป็นต้นขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 0.5 ได้แก็ ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก และส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์ และรถจักรยาน เนื่องจากเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวช้า ประกอบกับการแข็งขันด้านราคาโดยเฉพาะกลุมรถยนต์ไฟฟ้า (BEV)รวมถึงสถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล็อยสินเชื่อ และหนี้ครัวเรือนยังอยูในระดับสูง ส็งผลให้กำลังซื้อชะลอตัวและหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป ลดลงร้อยละ 0.1 ได้แก็ อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้า เป็นผลจากการนำเข้าในสกุลเงินอื่น ๆ ที่อ็อนค็เมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ส็งผลให้ราคาลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยน ทองคำ ราคาลดลง เนื่องจากสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค็เมื่อเทียบกับสกุลเงินอื่น ๆ ประกอบกับธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด)ชะลอการปรับลดอัตราดอกเบี้ย ส็งผลให้ความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยลดลงสำหรับเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ และสินแร็โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เป็นไปตามทิศทางราคาตลาดโลกที่ลดลง2. เทียบกับเดือนธันวาคม 2566 (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 2.5โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 7.5 ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องประดับอัญมณี ผัก ผลไม้ และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ และเสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ ตามความต้องการอุปโภคบริโภคที่มีอย็งต็อเนื่อง สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม โดยเฉพาะยารักษาโรค เนื่องจากความต้องการดูแลสุขภาพเชิงป้องกันมีแนวโน้มสูงขึ้น ประกอบกับการท็องเที่ยวเชิงการแพทย์ (MedicalTourism)ในประเทศเพิ่มขึ้น รวมถึงต้นทุนวัตถุดิบยานำเข้ามีแนวโน้มสูงขึ้นต็อเนื่อง หมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 4.1 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ตามความต้องการใช้เซิร์ฟเวอร์ปัญญาประดิษฐ์ (AI)และแอปพลิเคชันบนระบบ Cloudที่เพิ่มขึ้นอย็งต็อเนื่อง เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคการผลิต และภาคบริการ สำหรับเครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การทดสอบ เนื่องจากอัตราการเจ็บป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส็งผลให้ความต้องการอุปกรณ์ทางการแพทย์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอุปกรณ์ทางการแพทย์ชนิดใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง อาทิ เข็มฉีดยา ถุงมือยางทางการแพทย์ เป็นต้น และหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 3.1 โดยเฉพาะทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น และอุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้าตามความต้องการชิ้นส็วนอิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง (PowerElectronics)ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 3.0 ได้แก็ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป ตามความต้องการใช้ที่มีแนวโน้มปรับลดลง จากเศรษฐกิจโลกที่ยังไม็ฟื้นตัวเต็มที่ ประกอบกับเงินดอลลาร์สหรัฐที่แข็งค็ขึ้น ส็งผลให้ราคาน้ำมันปรับตัวลดลง สำหรับก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม และถ็นหิน เนื่องจากปริมาณการสำรองก๊าซและถ็นหินยังอยูในระดับสูงเมื่อเทียบกับปีก็อนหน้า และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 1.1 ได้แก็ รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ และส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์ และรถจักรยาน เนื่องจากความเข้มงวดในการปล็อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน และหนี้ครัวเรือนยังอยูในระดับสูง ส็งผลให้คำสั่งซื้อชะลอตัว3. เฉลี่ยทั้งปี 2567 เทียบกับปี 2566 (AoA)สูงขึ้นร้อยละ 1.1โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้5. ไตรมาสที่ 4ปี 2567 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ) สูงขึ้นร้อยละ 0.1โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 2.2 ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด และผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ ตามความต้องการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เนื่องจากผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากโรคติดต็อที่ต้องเฝ้าระวัง และโรคไม็ติดต็อเรื้อรัง (NCDs)ส็งผลให้ความต้องการใช้ยาในการรักษาโรคเพิ่มขึ้น หมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 1.5 ได้แก็ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการลงทุนที่เพิ่มขึ้นทั้งในภาคการผลิต ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตามความต้องการอุปกรณ์แบบพกพา และคอมพิวเตอร์รุนใหม็ ๆ ที่สามารถตอบสนองต็อความต้องการของผู้ใช้งาน เนื่องจากเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เข้ามามีบทบาทในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น รวมถึงสมาร์ตโฟนที่รองรับการใช้ AIมากขึ้น สำหรับเครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการทดสอบ ตามความต้องการอุปกรณ์การแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับสุขอนามัยและการดูแลสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับแนวโน้มเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ IoT5GAIและ MachineLearningส็งผลให้ความต้องการใช้ในการพัฒนาเครื่องมือแพทย์เพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 0.5 ได้แก็ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท็งและทองคำ โดยเฉพาะทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น สำหรับปุ์ยตามความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำให้เกษตรกรมีแนวโน้มขยายพื้นที่เพาะปลูก ส็งผลให้ความต้องการใช้ปุ์ยเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 4.0 ได้แก็ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป ตามความต้องการใช้ที่ปรับตัวลดลง จากภาวะเศรษฐกิจโลกยังไม็ฟื้นตัวเต็มที่ และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 0.1 ได้แก็ รถยนต์โดยสารและรถบรรทุกเนื่องจากสถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล็อยสินเชื่อ รวมถึงหนี้ครัวเรือนยังอยูในระดับสูง ส็งผลให้กำลังซื้อชะลอลง 6. ภาพรวมดัชนีราคานำเข้า ปี 2567 ภาพรวมดัชนีราคานำเข้า ปี 2567 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 1.1 จากปี 2566 ที่หดตัวเฉลี่ยร้อยละ 0.9 เป็นการกลับมาขยายตัวอีกครั้งนับตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2567เป็นต้นมา ปัจจัยหลักเป็นผลจากฐานราคาในช่วงครึ่งหลังของปี 2566อยู่ในระดับต่ำ ประกอบกับราคาน้ำมันดิบปรับสูงขึ้นชั่วคราวในช่วงครึ่งแรกของปี 2567 เมื่อเทียบกับปีก่อน เป็นผลจากความกังวลอุปทานตึงตัว เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลางที่ยืดเยื้อ รวมถึงความต้องการสินค้าวัตถุดิบและสินค้าอุปโภคบริโภคขยายตัวดี ส่งผลให้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าทุน ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ตามความต้องการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม็ในการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มขึ้น เครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การทดสอบ เนื่องจากการเติบโตของเทคโนโลยีทางการแพทย์และนวัตกรรมต็ง ๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์ทางการแพทย์ขั้นสูง อาทิ เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT)เครื่องเอกซเรย์ทั่วไป และเครื่องอัลตราซาวด์เป็นต้น ส็งผลให้ความต้องการใช้เพิ่มขึ้นและเครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ เนื่องจากความต้องการสินค้าเพื่อใช้ในการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมและภาคอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป ได้แก็ ทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้า ตามความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมแผงวงจรพิมพ์ (PrintedCircuitBoard)ซึ่งเป็นส็วนประกอบที่สำคัญของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อาทิ ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทาน ไดโอด และเซมิคอนดักเตอร์ เป็นต้นและเคมีภัณฑ์ ตามความต้องการสินค้าเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตและส็งออก หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องประดับอัญมณี และผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผักและผลไม้ ตามความต้องการนำเข้าเพื่อใช้อุปโภคบริโภคอย็งต็อเนื่องผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชภัณฑ์ ตามการขยายตัวของภาคการท็องเที่ยวโดยเฉพาะพื้นที่ท็องเที่ยว ส็งผลให้ความต้องการใช้ยาเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ได้แก็ ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม และถ็นหิน เนื่องจากปริมาณการสำรองก๊าซและถ็นหินในปัจจุบันยังอยูในระดับสูงและน้ำมันดิบ ตามทิศทางราคาตลาดโลกที่ลดลง และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ได้แก็ รถยนต์นั่ง ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ ตามความต้องการที่ชะลอลง เนื่องจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูง และความเข้มงวดในการขออนุมัติสินเชื่อจากสถาบันการเงิน รวมถึงมีการปรับเปลี่ยนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้าทำให้มีการลดการใช้ชิ้นส็วนและอุปกรณ์ในเครื่องยนต์สันดาปภายในเพิ่มขึ้น7. แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า ปี 2568 แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า ปี 2568 คาดว่าจะขยายตัว ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนธันวาคม 2567 และปี 2567

อัตราการค้าของไทยในเดือนธันวาคม2567เท่ากับ98.1(เดือนพฤศจิกายน2567เท่ากับ98.3)ลดลงจากเดือนก่อนหน้าและยังคงต่ำกว่า100เป็นเดือนที่36ติดต่อกันสะท้อนถึงไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว่างประเทศเนื่องจากระดับราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก

อัตราการค้าของไทย ในเดือนธันวาคม 2567เท่ากับ 98.1 (เดือนพฤศจิกายน 2567 เท็กับ 98.3) ลดลงจากเดือนก่อนหน้า และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 36 ติดต่อกัน สะท้อนถึง ไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว็งประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว็ราคาส็งออก สาเหตุหลักเป็นผลจากราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออก

สำหรับกลุ่มสินค้าที่ราคาส่งออกยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคานำเข้า (ได้เปรียบในอัตราการค้า) ประกอบด้วย กลุมสินค้าที่ใช้วัตถุดิบขั้นกลางจากต็งประเทศในการผลิตเช็นเคมีภัณฑ์ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องจักรกลและส็วนประกอบ เม็ดพลาสติก เครื่องสำอาง สบู และผลิตภัณฑ์รักษาผิว และผลิตภัณฑ์ทำจากข้าวและแป้งและกลุมสินค้าขั้นกลางที่ใช้วัตถุดิบภายในประเทศในการผลิตเช็น ผลไม้ ผลไม้กระป์องและแปรรูป และของปรุงแต็งทำจากผลไม้ และผัก ผักกระป์องและแปรรูป และของปรุงแต็งทำจากผัก เป็นต้น

ขณะที่กลุ่มสินค้าที่ราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก (เสียเปรียบในอัตราการค้า) ได้แก็ น้ำมันดิบ ทองคำ นมและผลิตภัณฑ์นม น้ำมันสำเร็จรูปและทองแดงและผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ ยังมีสินค้าอื่น ๆ ที่ราคานำเข้าสูงกว็ราคาส็งออก อาทิ อัญมณีและเครื่องประดับ สิ่งทอและเสื้อผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า แผงวงจรไฟฟ้า และกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ เป็นต้น

แนวโน้มอัตราการค้า ปี 2568 คาดว็จะอยูในระดับต่ำกว็ 100 ต็อไปในอีกระยะหนึ่ง ตามทิศทางราคาน้ำมันนำเข้าที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ