แท็ก
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงมหาดไทย
โรงแรมคอนราด
คณะรัฐมนตรี
ภาคเหนือ
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงมหาดไทย โดยสำนักเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สรุป
สถานการณ์ภัยแล้งตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงวันที่ 9 เมษายน 2550 และสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
(ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม — 9 เมษายน 2550) ดังนี้
1. สถานการณ์ภัยแล้ง (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 9 เมษายน 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัย รวม 59 จังหวัด 537 อำเภอ 57 กิ่งฯ 3,206 ตำบล 24,483 หมู่บ้าน (คิดเป็นร้อยละ 37.86 ของหมู่บ้าน
67,673 หมู่บ้านใน 59 จังหวัด และคิดเป็นร้อยละ 33.24 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย ราษฎรประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ กิ่ง ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 17 155 10 889 6,093 กำแพงเพชร สุโขทัย ลำปาง แพร่ ตาก เพชรบูรณ์ น่าน 494,026 1,717,302
ลำพูน พิจิตร เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ พิษณุโลก
พะเยา แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ และอุทัยธานี
2 ตะวัน 19 241 38 1,655 14,718 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น หนองคาย มุกดาหาร ยโสธร ชัยภูมิ 1,247,692 5,253,517
ออกเฉียงเหนือ อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู บุรีรัมย์ สกลนคร นครพนม
อุดรธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี มหาสารคาม
เลย สุรินทร์ และร้อยเอ็ด
3 กลาง 6 34 1 167 1,103 สุพรรณบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ 109,550 409,554
กาญจนบุรี และชัยนาท
4 ตะวันออก 8 48 6 211 1,152 จันทบุรี สระแก้ว ตราด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก
ระยอง และปราจีนบุรี 92,513 338,361
5 ใต้ 9 59 2 284 1,417 ตรัง ระนอง นครศรีธรรมราช ชุมพร ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี
สตูล สงขลา และพัทลุง 72,203 251,470
รวมทั้งประเทศ 59 537 57 3,206 24,483 2,015,984 7,970,204
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ที่ ภาค จำนวน 19 มี.ค. 2550 26 มี.ค. 2550 2 เม.ย. 2550 9 เม.ย. 2550
หมู่บ้าน หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม
ทั้งหมด - ลด - ลด - ลด - ลด
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,576 17,686 1,772 16,194 -1,492 15,004 -1,190 14,718 -286
2 เหนือ 16,306 5,280 488 5,188 -92 5,963 775 6,093 130
3 ตะวันออก 4,816 1,233 331 1,233 0 1,383 150 1,152 -231
4 ใต้ 8,588 1,590 955 1,621 31 1,532 -89 1,417 -115
5 กลาง 11,377 931 45 1,185 254 1,246 61 1,103 -143
รวม 73,663 26,720 3,591 25,421 -1,299 25,128 -293 24,483 -645
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2550 (รวม 61 จังหวัด 543 อำเภอ 53 กิ่งฯ 3,233
ตำบล 25,128 หมู่บ้าน) ปรากฏว่ามีจำนวนจังหวัดลดลง 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสระบุรี และมีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้ง
มีจำนวนลดลง รวม 645 หมู่บ้าน
ในห้วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนพัดเข้ามาปะทะกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมพื้นที่ตอนบน ทำให้เกิดพายุฤดูร้อน
มีฝนฟ้าคะนอง ประกอบกับการทำฝนหลวงของสำนักฝนหลวงและการบินเกษตรประสบผลสำเร็จ ทำให้มีฝนตกกระจายทั่วไปในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ทำให้สถานการณ์ภัยแล้งในบางพื้นที่คลี่คลายลงไป
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2549 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ที่ ภาค ข้อมูลปี 2550 ข้อมูลปี 2549 เปรียบเทียบข้อมูลภัยแล้ง
(ณ วันที่ 9 เม.ย. 2550) (ณ วันที่ 9 เมษายน 2549) ปี 2550 กับปี 2549
หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวนหมู่บ้าน คิดเป็น
ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน + เพิ่ม - ลด ร้อยละ
ทั้งประเทศ) ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 14,718 45.18 20,545 63.07 -5,827 -28.36
2 เหนือ 6,093 37.37 6,954 42.65 -861 -12.38
3 ตะวันออก 1,152 23.92 1,333 27.68 -181 -13.58
4 ใต้ 1,417 16.50 373 4.34 1,044 279.89
5 กลาง 1,103 9.69 1,342 11.80 -239 -17.81
รวม 24,483 33.24 30,547 41.47 -6,064 -19.85
เปรียบเทียบหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเมื่อปี 2549 ในช่วงเวลาเดียวกัน (วันที่ 9 เม.ย. 2549) รวม 61 จังหวัด 484 อำเภอ 46
กิ่งฯ 3,336 ตำบล 30,547 หมู่บ้าน (ร้อยละ 41.47 ของหมู่บ้านทั้งหมด) โดยปี 2550 (รวม 59 จังหวัด 537 อำเภอ 57 กิ่งฯ
3,206 ตำบล 24,483 หมู่บ้าน) มีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่า 6,064 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 19.85
1.2 ราษฎรเดือดร้อน จำนวน 2,015,984 ครัวเรือน 7,970,204 คน (คิดเป็นร้อยละ 14.93 ของครัวเรือนทั้งหมด
13,498,782 ครัวเรือน ใน 59 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
1.3 พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ จำนวน 123,201 ไร่ (จำนวน 15 จังหวัด)
1.4 การให้ความช่วยเหลือ
1.4.1 การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร
(1) การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 1,676 เครื่อง แยกเป็น
- จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ 856 เครื่อง
- กรมชลประทาน ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 820 เครื่อง แยกเป็น
เพื่อการเพาะปลูก 767 เครื่อง เพื่อการอุปโภคบริโภค 53 เครื่อง
(2) จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการดังนี้
- จัดทำทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ (ชั่วคราว) 12,782 แห่ง - ขุดลอกแหล่งน้ำ 3,516 แห่ง
1.4.2 การปรับปรุง ซ่อมและทำความสะอาดภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
ถังเก็บน้ำ คสล. 1,041 แห่ง ถังปูนฉาบ 509 แห่ง ถังไฟเบอร์ 912 แห่ง โอ่งซีเมนต์ 9,920 แห่ง
เป่าล้างบ่อบาดาล 1,747 แห่ง หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 986 แห่ง หอถังระบบประปาภูเขา 999 แห่ง
การสร้างภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้ ถังเก็บน้ำ คสล. 147 แห่ง ถังปูนฉาบ 171 แห่ง ถังเหล็ก 165 แห่ง
ถังไฟเบอร์ 159 แห่ง โอ่งซีเมนต์ 1,149 แห่ง หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 177 แห่ง หอถังระบบประปาภูเขา 10 แห่ง บ่อน้ำตื้น 127 แห่ง
1.4.3 การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภคของจังหวัดที่ประสบภัย
ใช้รถบรรทุกน้ำ 1,891 คัน แจกจ่ายน้ำ 66,308 เที่ยว จำนวน 569,311,710 ลิตร
1.4.4 งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว จำนวน 529,111,778 บาท แยกเป็น
(1) งบทดรองราชการของจังหวัด (งบ 50 ล้านบาท) 476,044,569 บาท
(2) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 38,955,158 บาท
(3) งบอื่นๆ 14,112,051 บาท
2. สรุปสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม - 9 เมษายน 2550)
2.1 สาเหตุการเกิด ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550 เป็นต้นมา ได้เกิดสถานการณ์มลพิษ หมอกควันปกคลุมในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือ
ตอนบนใน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา ตาก น่าน และแม่ฮ่องสอน โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมมลพิษได้ดำเนินการตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชน ซึ่งพบว่ามีค่าสูงเกินค่ามาตรฐาน (120 ไมโครกรัม/ลบ.ม.) และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเกินค่ามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โดยในวันที่
14 มีนาคม 2550 ที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ (โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย) จังหวัดเชียงใหม่ วัดได้สูงสุดที่ 382.7 ไมโครกรัม/ลบ.ม.
2.2 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ณ เวลา 15.00 น. (วันที่ 9 เม.ย. 2550) ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
(ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ)
สถานี 27 28 29 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9
มี.ค. มี.ค. มี.ค. มี.ค. มี.ค. เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย
จ.เชียงใหม่ ศูนย์ราชการรวมฯอ.แม่ริม - 139 123 102 98 109 89 137 143 95 90 109 114 87
ร.ร.ยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง 124 128 123 99 94 103 90 143 156 102 104 - 149 93
จ.ลำปาง ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง อ.เมือง 97 97 103 74 70 58 58 81 98 78 69 72 75 50
สนง.การประปาฯ อ.แม่เมาะ 104 109 94 - - 77 65 84 91 66 57 70 72 51
จ.เชียงราย ร.ร.สามัคคีวิทยาคม อ.เมือง 141 162 139 119 120 175 123 173 174 127 101 108 156 104
จ.แม่ฮ่องสอน ทสจ.แม่ฮ่องสอน อ.เมือง 155 172 245 258 148 157 169 271 280 347 289 212 222 187
หมายเหตุ 1. ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง เท่ากับ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
2. ค่า PM10 สูงสุดเมื่อวันที่ 14 มี.ค.2550 วัดได้ 383 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมืองฯ
จ.เชียงใหม่
สรุป ปริมาณฝุ่นละอองเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในจังหวัดลำปางเข้าสู่ภาวะปกติ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน ยังสูงเกิน
ค่ามาตรฐานและอยู่ในระดับที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
2.3 ข้อมูลจำนวน Hot spot ระหว่างวันที่ 1 - 8 เม.ย. 2550 ที่แปลผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-12 ของสำนักจัดการ
คุณภาพอากาศและเสีย กรมควบคุมมลพิษ และดาวเทียม TERRAและ AQUA ของกรมอุทยานฯ พบว่า
วัน/เดือน/ปี ประเทศไทยเกิด ภาคเหนือเกิด จังหวัดที่เกิด
Hot spot(จุด) Hot spot(จุด)
1 เม.ย.50 145 22 เชียงใหม่ 8 แม่ฮ่องสอน 7 นครสวรรค์ 2 น่าน 2 ตาก 1 ลำปาง 1 เลย 1
2 เม.ย.50 260 52 น่าน 19 เชียงราย 8 พะเยา 8 แม่ฮ่องสอน 4 ลำปาง 3 เลย 3
เชียงใหม่ 3 พิษณุโลก 2 มุกดาหาร 2
3 เม.ย.50 222 49 น่าน 17 เพชรบูรณ์ 6 แม่ฮ่องสอน 5 ตาก 5 เชียงใหม่ 4 พะเยา 4
พิษณุโลก 4 แพร่ 2 เชียงราย 1 ลำปาง 1
4 เม.ย.50 75 15 แม่ฮ่องสอน 5 เชียงราย 4 น่าน 2 เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ แพร่และอุตรดิตถ์
จังหวัดละ 1
5 เม.ย.50 103 4 น่าน พะเยา เพชรบูรณ์ และแม่ฮ่องสอน จังหวัดละ 1
6 เม.ย.50 19 6 เชียงใหม่ 2 พะเยา 2 เพชรบูรณ์ และแม่ฮ่องสอน จังหวัดละ 1
7—8 เม.ย.50 ไม่มีรายงานสถานการณ์หมอกควัน
สรุปภาพรวมข้อมูลการเกิดจุดไฟไหม้ (Hot spot) รายวัน (ระหว่างวันที่ 1— 8 เม.ย. 2550) ของจังหวัดในภาคเหนือ 17 จังหวัด
และผลการดำเนินการ สรุปได้ดังนี้
วัน/เดือน/ปี จำนวนจังหวัดที่ จำนวนจุดที่เกิดไฟไหม้ (Hot spot/จุด) ผลการดำเนินการ
รายงานว่ามีจุดไฟไหม้ ไฟป่า เผาเศษพืช/ เผาใบไม้/ขยะ รวม ดับได้ คงเหลือ
1 เม.ย.50 4 27 0 3 30 30 0
2 เม.ย.50 7 11 0 6 17 17 0
3 เม.ย.50 4 81 0 0 81 81 0
4 เม.ย.50 7 57 0 2 59 59 0
5 เม.ย.50 1 4 0 3 7 7 0
6 เม.ย.50 4 5 0 13 18 18 0
7 เม.ย.50 3 12 0 2 14 14 0
8 เม.ย.50 2 6 0 0 6 6 0
รวม 17 จังหวัด 606 33 155 794 794 0
2.4 มาตรการแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันในภาคเหนือ “7 วันปลอดควันวันสงกรานต์”
คณะกรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขปัญหาหมอกควันภาคเหนือ ได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2550 ณ ห้องประชุม
ศาลากลางจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ปลัดกระทรวง-
มหาดไทย อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง นักวิชาการ ภาคประชาสังคม ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น
เพื่อติดตามสภาพปัญหาหมอกควันในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และรับฟังข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเครือข่ายภาค
ประชาชน เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการลดหมอกควันในช่วงเทศกาลสงกรานต์ โดยที่ประชุมเห็นชอบในการกำหนดมาตรการ “7 วัน
ปลอดควันวันสงกรานต์” ในระหว่างวันที่ 11-17 เมษายน 2550 โดยให้จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน ดำเนินการ ดังนี้
1) มาตรการ ประกอบด้วย 5 มาตรการหลัก ได้แก่ มาตรการด้านการป้องปรามและเฝ้าระวัง มาตรการด้านการควบคุม
มาตรการด้านการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ มาตรการด้านการปฏิบัติการดับไฟ มาตรการด้านการรายงานและประเมินผล
2) แผนการดำเนินการ ประกอบด้วย 3 แผนงาน ได้แก่ การจัดตั้งศูนย์อำนวยการแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดและอำเภอ
การจัดชุดปฏิบัติการป้องปราม/ควบคุม และการปฏิบัติการดับไฟ การสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3) การปฏิบัติตามมาตรการ/แผนการดำเนินการ ประกอบด้วยบทบาทของภาครัฐ และบทบาทของภาคเอกชน โดยส่งเสริม
ให้ภาคประชาชนเป็นแกนหลักในการแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ชุมชน หมู่บ้าน
4) ให้จังหวัดเร่งดำเนินการตามมาตรการดังกล่าว โดยจัดประชุมชี้แจงนายอำเภอ ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง ผู้นำชุมชน
ผู้นำท้องถิ่น และเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อให้มีการปฏิบัติอย่างจริงจัง
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 10 เมษายน 2550--จบ--
สถานการณ์ภัยแล้งตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงวันที่ 9 เมษายน 2550 และสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
(ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม — 9 เมษายน 2550) ดังนี้
1. สถานการณ์ภัยแล้ง (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 9 เมษายน 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัย รวม 59 จังหวัด 537 อำเภอ 57 กิ่งฯ 3,206 ตำบล 24,483 หมู่บ้าน (คิดเป็นร้อยละ 37.86 ของหมู่บ้าน
67,673 หมู่บ้านใน 59 จังหวัด และคิดเป็นร้อยละ 33.24 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย ราษฎรประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ กิ่ง ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 17 155 10 889 6,093 กำแพงเพชร สุโขทัย ลำปาง แพร่ ตาก เพชรบูรณ์ น่าน 494,026 1,717,302
ลำพูน พิจิตร เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ พิษณุโลก
พะเยา แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ และอุทัยธานี
2 ตะวัน 19 241 38 1,655 14,718 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น หนองคาย มุกดาหาร ยโสธร ชัยภูมิ 1,247,692 5,253,517
ออกเฉียงเหนือ อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู บุรีรัมย์ สกลนคร นครพนม
อุดรธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี มหาสารคาม
เลย สุรินทร์ และร้อยเอ็ด
3 กลาง 6 34 1 167 1,103 สุพรรณบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ 109,550 409,554
กาญจนบุรี และชัยนาท
4 ตะวันออก 8 48 6 211 1,152 จันทบุรี สระแก้ว ตราด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก
ระยอง และปราจีนบุรี 92,513 338,361
5 ใต้ 9 59 2 284 1,417 ตรัง ระนอง นครศรีธรรมราช ชุมพร ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี
สตูล สงขลา และพัทลุง 72,203 251,470
รวมทั้งประเทศ 59 537 57 3,206 24,483 2,015,984 7,970,204
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ที่ ภาค จำนวน 19 มี.ค. 2550 26 มี.ค. 2550 2 เม.ย. 2550 9 เม.ย. 2550
หมู่บ้าน หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม
ทั้งหมด - ลด - ลด - ลด - ลด
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,576 17,686 1,772 16,194 -1,492 15,004 -1,190 14,718 -286
2 เหนือ 16,306 5,280 488 5,188 -92 5,963 775 6,093 130
3 ตะวันออก 4,816 1,233 331 1,233 0 1,383 150 1,152 -231
4 ใต้ 8,588 1,590 955 1,621 31 1,532 -89 1,417 -115
5 กลาง 11,377 931 45 1,185 254 1,246 61 1,103 -143
รวม 73,663 26,720 3,591 25,421 -1,299 25,128 -293 24,483 -645
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2550 (รวม 61 จังหวัด 543 อำเภอ 53 กิ่งฯ 3,233
ตำบล 25,128 หมู่บ้าน) ปรากฏว่ามีจำนวนจังหวัดลดลง 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสระบุรี และมีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้ง
มีจำนวนลดลง รวม 645 หมู่บ้าน
ในห้วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนพัดเข้ามาปะทะกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมพื้นที่ตอนบน ทำให้เกิดพายุฤดูร้อน
มีฝนฟ้าคะนอง ประกอบกับการทำฝนหลวงของสำนักฝนหลวงและการบินเกษตรประสบผลสำเร็จ ทำให้มีฝนตกกระจายทั่วไปในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ทำให้สถานการณ์ภัยแล้งในบางพื้นที่คลี่คลายลงไป
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2549 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ที่ ภาค ข้อมูลปี 2550 ข้อมูลปี 2549 เปรียบเทียบข้อมูลภัยแล้ง
(ณ วันที่ 9 เม.ย. 2550) (ณ วันที่ 9 เมษายน 2549) ปี 2550 กับปี 2549
หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวนหมู่บ้าน คิดเป็น
ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน + เพิ่ม - ลด ร้อยละ
ทั้งประเทศ) ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 14,718 45.18 20,545 63.07 -5,827 -28.36
2 เหนือ 6,093 37.37 6,954 42.65 -861 -12.38
3 ตะวันออก 1,152 23.92 1,333 27.68 -181 -13.58
4 ใต้ 1,417 16.50 373 4.34 1,044 279.89
5 กลาง 1,103 9.69 1,342 11.80 -239 -17.81
รวม 24,483 33.24 30,547 41.47 -6,064 -19.85
เปรียบเทียบหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเมื่อปี 2549 ในช่วงเวลาเดียวกัน (วันที่ 9 เม.ย. 2549) รวม 61 จังหวัด 484 อำเภอ 46
กิ่งฯ 3,336 ตำบล 30,547 หมู่บ้าน (ร้อยละ 41.47 ของหมู่บ้านทั้งหมด) โดยปี 2550 (รวม 59 จังหวัด 537 อำเภอ 57 กิ่งฯ
3,206 ตำบล 24,483 หมู่บ้าน) มีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่า 6,064 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 19.85
1.2 ราษฎรเดือดร้อน จำนวน 2,015,984 ครัวเรือน 7,970,204 คน (คิดเป็นร้อยละ 14.93 ของครัวเรือนทั้งหมด
13,498,782 ครัวเรือน ใน 59 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
1.3 พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ จำนวน 123,201 ไร่ (จำนวน 15 จังหวัด)
1.4 การให้ความช่วยเหลือ
1.4.1 การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร
(1) การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 1,676 เครื่อง แยกเป็น
- จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ 856 เครื่อง
- กรมชลประทาน ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 820 เครื่อง แยกเป็น
เพื่อการเพาะปลูก 767 เครื่อง เพื่อการอุปโภคบริโภค 53 เครื่อง
(2) จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการดังนี้
- จัดทำทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ (ชั่วคราว) 12,782 แห่ง - ขุดลอกแหล่งน้ำ 3,516 แห่ง
1.4.2 การปรับปรุง ซ่อมและทำความสะอาดภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
ถังเก็บน้ำ คสล. 1,041 แห่ง ถังปูนฉาบ 509 แห่ง ถังไฟเบอร์ 912 แห่ง โอ่งซีเมนต์ 9,920 แห่ง
เป่าล้างบ่อบาดาล 1,747 แห่ง หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 986 แห่ง หอถังระบบประปาภูเขา 999 แห่ง
การสร้างภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้ ถังเก็บน้ำ คสล. 147 แห่ง ถังปูนฉาบ 171 แห่ง ถังเหล็ก 165 แห่ง
ถังไฟเบอร์ 159 แห่ง โอ่งซีเมนต์ 1,149 แห่ง หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 177 แห่ง หอถังระบบประปาภูเขา 10 แห่ง บ่อน้ำตื้น 127 แห่ง
1.4.3 การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภคของจังหวัดที่ประสบภัย
ใช้รถบรรทุกน้ำ 1,891 คัน แจกจ่ายน้ำ 66,308 เที่ยว จำนวน 569,311,710 ลิตร
1.4.4 งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว จำนวน 529,111,778 บาท แยกเป็น
(1) งบทดรองราชการของจังหวัด (งบ 50 ล้านบาท) 476,044,569 บาท
(2) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 38,955,158 บาท
(3) งบอื่นๆ 14,112,051 บาท
2. สรุปสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม - 9 เมษายน 2550)
2.1 สาเหตุการเกิด ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550 เป็นต้นมา ได้เกิดสถานการณ์มลพิษ หมอกควันปกคลุมในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือ
ตอนบนใน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา ตาก น่าน และแม่ฮ่องสอน โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมมลพิษได้ดำเนินการตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชน ซึ่งพบว่ามีค่าสูงเกินค่ามาตรฐาน (120 ไมโครกรัม/ลบ.ม.) และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเกินค่ามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โดยในวันที่
14 มีนาคม 2550 ที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ (โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย) จังหวัดเชียงใหม่ วัดได้สูงสุดที่ 382.7 ไมโครกรัม/ลบ.ม.
2.2 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ณ เวลา 15.00 น. (วันที่ 9 เม.ย. 2550) ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
(ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ)
สถานี 27 28 29 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9
มี.ค. มี.ค. มี.ค. มี.ค. มี.ค. เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย เม.ย
จ.เชียงใหม่ ศูนย์ราชการรวมฯอ.แม่ริม - 139 123 102 98 109 89 137 143 95 90 109 114 87
ร.ร.ยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง 124 128 123 99 94 103 90 143 156 102 104 - 149 93
จ.ลำปาง ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง อ.เมือง 97 97 103 74 70 58 58 81 98 78 69 72 75 50
สนง.การประปาฯ อ.แม่เมาะ 104 109 94 - - 77 65 84 91 66 57 70 72 51
จ.เชียงราย ร.ร.สามัคคีวิทยาคม อ.เมือง 141 162 139 119 120 175 123 173 174 127 101 108 156 104
จ.แม่ฮ่องสอน ทสจ.แม่ฮ่องสอน อ.เมือง 155 172 245 258 148 157 169 271 280 347 289 212 222 187
หมายเหตุ 1. ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง เท่ากับ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
2. ค่า PM10 สูงสุดเมื่อวันที่ 14 มี.ค.2550 วัดได้ 383 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมืองฯ
จ.เชียงใหม่
สรุป ปริมาณฝุ่นละอองเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในจังหวัดลำปางเข้าสู่ภาวะปกติ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน ยังสูงเกิน
ค่ามาตรฐานและอยู่ในระดับที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
2.3 ข้อมูลจำนวน Hot spot ระหว่างวันที่ 1 - 8 เม.ย. 2550 ที่แปลผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-12 ของสำนักจัดการ
คุณภาพอากาศและเสีย กรมควบคุมมลพิษ และดาวเทียม TERRAและ AQUA ของกรมอุทยานฯ พบว่า
วัน/เดือน/ปี ประเทศไทยเกิด ภาคเหนือเกิด จังหวัดที่เกิด
Hot spot(จุด) Hot spot(จุด)
1 เม.ย.50 145 22 เชียงใหม่ 8 แม่ฮ่องสอน 7 นครสวรรค์ 2 น่าน 2 ตาก 1 ลำปาง 1 เลย 1
2 เม.ย.50 260 52 น่าน 19 เชียงราย 8 พะเยา 8 แม่ฮ่องสอน 4 ลำปาง 3 เลย 3
เชียงใหม่ 3 พิษณุโลก 2 มุกดาหาร 2
3 เม.ย.50 222 49 น่าน 17 เพชรบูรณ์ 6 แม่ฮ่องสอน 5 ตาก 5 เชียงใหม่ 4 พะเยา 4
พิษณุโลก 4 แพร่ 2 เชียงราย 1 ลำปาง 1
4 เม.ย.50 75 15 แม่ฮ่องสอน 5 เชียงราย 4 น่าน 2 เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ แพร่และอุตรดิตถ์
จังหวัดละ 1
5 เม.ย.50 103 4 น่าน พะเยา เพชรบูรณ์ และแม่ฮ่องสอน จังหวัดละ 1
6 เม.ย.50 19 6 เชียงใหม่ 2 พะเยา 2 เพชรบูรณ์ และแม่ฮ่องสอน จังหวัดละ 1
7—8 เม.ย.50 ไม่มีรายงานสถานการณ์หมอกควัน
สรุปภาพรวมข้อมูลการเกิดจุดไฟไหม้ (Hot spot) รายวัน (ระหว่างวันที่ 1— 8 เม.ย. 2550) ของจังหวัดในภาคเหนือ 17 จังหวัด
และผลการดำเนินการ สรุปได้ดังนี้
วัน/เดือน/ปี จำนวนจังหวัดที่ จำนวนจุดที่เกิดไฟไหม้ (Hot spot/จุด) ผลการดำเนินการ
รายงานว่ามีจุดไฟไหม้ ไฟป่า เผาเศษพืช/ เผาใบไม้/ขยะ รวม ดับได้ คงเหลือ
1 เม.ย.50 4 27 0 3 30 30 0
2 เม.ย.50 7 11 0 6 17 17 0
3 เม.ย.50 4 81 0 0 81 81 0
4 เม.ย.50 7 57 0 2 59 59 0
5 เม.ย.50 1 4 0 3 7 7 0
6 เม.ย.50 4 5 0 13 18 18 0
7 เม.ย.50 3 12 0 2 14 14 0
8 เม.ย.50 2 6 0 0 6 6 0
รวม 17 จังหวัด 606 33 155 794 794 0
2.4 มาตรการแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันในภาคเหนือ “7 วันปลอดควันวันสงกรานต์”
คณะกรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขปัญหาหมอกควันภาคเหนือ ได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2550 ณ ห้องประชุม
ศาลากลางจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ปลัดกระทรวง-
มหาดไทย อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง นักวิชาการ ภาคประชาสังคม ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น
เพื่อติดตามสภาพปัญหาหมอกควันในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และรับฟังข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเครือข่ายภาค
ประชาชน เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการลดหมอกควันในช่วงเทศกาลสงกรานต์ โดยที่ประชุมเห็นชอบในการกำหนดมาตรการ “7 วัน
ปลอดควันวันสงกรานต์” ในระหว่างวันที่ 11-17 เมษายน 2550 โดยให้จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน ดำเนินการ ดังนี้
1) มาตรการ ประกอบด้วย 5 มาตรการหลัก ได้แก่ มาตรการด้านการป้องปรามและเฝ้าระวัง มาตรการด้านการควบคุม
มาตรการด้านการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ มาตรการด้านการปฏิบัติการดับไฟ มาตรการด้านการรายงานและประเมินผล
2) แผนการดำเนินการ ประกอบด้วย 3 แผนงาน ได้แก่ การจัดตั้งศูนย์อำนวยการแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดและอำเภอ
การจัดชุดปฏิบัติการป้องปราม/ควบคุม และการปฏิบัติการดับไฟ การสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3) การปฏิบัติตามมาตรการ/แผนการดำเนินการ ประกอบด้วยบทบาทของภาครัฐ และบทบาทของภาคเอกชน โดยส่งเสริม
ให้ภาคประชาชนเป็นแกนหลักในการแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ชุมชน หมู่บ้าน
4) ให้จังหวัดเร่งดำเนินการตามมาตรการดังกล่าว โดยจัดประชุมชี้แจงนายอำเภอ ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง ผู้นำชุมชน
ผู้นำท้องถิ่น และเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อให้มีการปฏิบัติอย่างจริงจัง
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 10 เมษายน 2550--จบ--