แท็ก
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงมหาดไทย
สุขภัณฑ์กะรัต
บางกอกแร้นช์
โรงแรมคอนราด
คณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงมหาดไทย โดยสำนักเลขาธิการป้องกันฝ่ายพลเรือน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รายงาน
สรุปสถานการณ์ภัยแล้งตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงวันที่ 12 มีนาคม 2550 ดังนี้
1.สถานการณ์ภัยแล้ง(ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 12 มีนาคม 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัย รวม 52 จังหวัด 454 อำเภอ 48 กิ่งฯ 2,994 ตำบล 23,129 หมู่บ้าน (คิดเป็นร้อยละ 38.63 ของหมู่บ้าน
59,875 หมู่บ้าน ใน 52 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง และคิดเป็นร้อยละ 31.40 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย ราษฎรประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ กิ่ง ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 16 121 12 712 4,792 กำแพงเพชร สุโขทัย ลำปาง แพร่ 395,093 1,349,978
ตาก เพชรบูรณ์ น่าน ลำพูน พิจิตร
เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์
พิษณุโลก พะเยา แม่ฮ่องสอน
และนครสวรรค์
2 ตะวัน 19 249 30 1,885 15,914 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น หนองคาย มุกดาหาร 1,454,616 5,964,516
ออกเฉียงเหนือ ยโสธร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู
บุรีรัมย์ สกลนคร นครพนม อุดรธานี
ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี
มหาสารคาม เลย สุรินทร์ และร้อยเอ็ด
3 กลาง 6 32 1 126 886 สุพรรณบุรี อ่างทอง ราชบุรี 70,749 282,885
ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ และกาญจนบุรี
4 ตะวันออก 6 32 5 163 902 จันทบุรี สระแก้ว ตราด ฉะเชิงเทรา 88,824 281,377
ชลบุรี นครนายก
5 ใต้ 5 20 0 108 635 ตรัง ระนอง นครศรีธรรมราช ชุมพร 31,292 107,595
และภูเก็ต
รวมทั้งประเทศ 52 454 48 2,994 23,129 2,040,574 7,986,351
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้ง ณ ปัจจุบัน (วันที่ 12 มีนาคม 2550) เปรียบเทียบกับจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด
จำนวนหมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ
ที่ ภาค จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ประสบภัยแล้งปัจจุบัน (ของหมู่บ้าน
(ณ 12 มี.ค. 2550) ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,576 15,914 48.85
2 เหนือ 16,306 4,792 29.39
3 ตะวันออก 4,816 902 18.73
4 กลาง 11,377 886 7.79
5 ใต้ 8,588 635 7.39
รวม 73,663 23,129 31.40
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2550 (รวม 46 จังหวัด 372 อำเภอ 38 กิ่งฯ
2,348 ตำบล 17,688 หมู่บ้าน) ปรากฏว่ามีจังหวัดประสบภัยแล้งเพิ่มขึ้น จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ เลย สุรินทร์
ร้อยเอ็ด นครนายก และภูเก็ต และจำนวนหมู่บ้านที่เพิ่มขึ้นของจังหวัดที่ประสบภัยแล้ง รวม 5,441 หมู่บ้าน
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2549 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ข้อมูลปี 2550 ข้อมูลปี 2549 เปรียบเทียบข้อมูลภัยแล้ง
(ณ วันที่ 12 มี.ค. 2550) (ณ วันที่ 12 มี.ค. 2550) ปี 2550 กับปี 2549
ที่ ภาค หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวนหมู่บ้าน คิดเป็น
ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน + เพิ่ม- ลด ร้อยละ
ทั้งประเทศ) ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 15,914 48.85 18,567 57.00 -2,653 -14.29
2 เหนือ 4,792 29.39 4,423 27.12 369 8.34
3 ตะวันออก 902 18.73 903 18.75 -1 -0.11
4 กลาง 886 7.79 836 7.35 50 5.98
5 ใต้ 635 7.39 205 2.39 430 209.75
รวม 23,129 31.40 24,934 33.85 -1,805 -7.24
เปรียบเทียบหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเมื่อปี 2549 ในช่วงเวลาเดียวกัน (วันที่ 12 มี.ค. 2549) รวม 54 จังหวัด 403 อำเภอ
43 กิ่งฯ 2,915 ตำบล 24,934 หมู่บ้าน (ร้อยละ 33.85 ของหมู่บ้านทั้งหมด) โดยปี 2550 (รวม 52 จังหวัด 454 อำเภอ 48 กิ่งฯ
2,994 ตำบล 23,129 หมู่บ้าน) มีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่า 1,805 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.24
1.2 ราษฎรเดือดร้อน จำนวน 2,040,574 ครัวเรือน 7,986,351 คน (คิดเป็นร้อยละ 16.64 ของครัวเรือนทั้งหมด
12,266,622 ครัวเรือน ใน 52 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
1.3 พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ จำนวน 713,756 ไร่
2. การให้ความช่วยเหลือ
2.1 การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร
(1) การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 1,243 เครื่อง แยกเป็น
- จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 499 เครื่อง
- กรมชลประทาน ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 744 เครื่อง แยกเป็น
เพื่อการเพาะปลูก 697 เครื่อง เพื่อการอุปโภคบริโภค 47 เครื่อง
(2) จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการดังนี้
- จัดทำทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ (ชั่วคราว) 8,658 แห่ง
- ขุดลอกแหล่งน้ำ 967 แห่ง
2.2 การปรับปรุง ซ่อมและทำความสะอาดภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 1,041 แห่ง - ถังปูนฉาบ 509 แห่ง
- ถังไฟเบอร์ 912 แห่ง - โอ่งซีเมนต์ 9,920 แห่ง
- เป่าล้างบ่อบาดาล 1,747 แห่ง - หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 986 แห่ง
- หอถังระบบประปาภูเขา 999 แห่ง
การสร้างภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 147 แห่ง - ถังปูนฉาบ 171 แห่ง
- ถังเหล็ก 165 แห่ง - ถังไฟเบอร์ 159 แห่ง
- โอ่งซีเมนต์ 1,149 แห่ง - หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 177 แห่ง
- หอถังระบบประปาภูเขา 10 แห่ง - บ่อน้ำตื้น 127 แห่ง
2.3 การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภคของจังหวัดที่ประสบภัย
ใช้รถบรรทุกน้ำ 858 คัน แจกจ่ายน้ำ 26,414 เที่ยว จำนวน 205,008,165 ลิตร
2.4 งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว จำนวน 327,559,377 บาท แยกเป็น
(1) งบทดรองราชการของจังหวัด (งบ 50 ล้านบาท) 269,834,023 บาท
(2) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 54,257,926 บาท
(3) งบอื่นๆ 3,467,428 บาท
3. การสนับสนุนน้ำประปาช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยแล้ง
3.1 การประปาส่วนภูมิภาคได้ดำเนินการแจกจ่ายน้ำประปาให้แก่รถยนต์บรรทุกน้ำของทางราชการโดยไม่คิดมูลค่า (จ่ายน้ำฟรี)
เพื่อนำไปช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ประสบภัยแล้งไปแล้ว จำนวน 94,024,000 ลิตร คิดเป็นเงิน 1,104,782 บาท สำหรับการประปาที่มี
ปัญหาขาดแคลนน้ำดิบของการประปาส่วนภูมิภาค มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ การประปาปากท่อ จังหวัดราชบุรี และการประปาบำเหน็จณรงค์
จังหวัดชัยภูมิ แก้ไขปัญหาโดยจ่ายน้ำเป็นช่วงเวลาและใช้รถบรรทุกน้ำแจกจ่ายให้ประชาชน
3.2 กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้จัดตั้งจุดจ่ายน้ำเพื่อแจกจ่ายน้ำให้แก่ประชาชนผู้ประสบภัยแล้งในพื้นที่ประสบภัยแล้งทั่วประเทศ
จำนวน 2,000 จุด เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนผู้ประสบภัยแล้ง
4. การปฏิบัติการฝนหลวง ของสำนักฝนหลวงและการบินเกษตร (ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ — 8 มีนาคม 2550)
สำนักฝนหลวงและการบินการเกษตรได้ขึ้นบินปฏิบัติการฝนหลวง รวม 135 เที่ยวบินชั่วโมงบิน รวม 184.55 ชั่วโมง มีฝนตก
33 วัน ในพื้นที่ 22 จังหวัด ดังนี้
ที่ หน่วยปฏิบัติการ จำนวน จำนวน จังหวัดที่มีฝนตก ปริมาณน้ำฝน
ฝนหลวง(จังหวัด) เที่ยวบิน วันฝนตก (จังหวัด) (มม.)
(เที่ยว)
1 พิษณุโลก 5 1 1 จังหวัด ได้แก่ เพชรบูรณ์ 9.2
2 นครสวรรค์ 28 5 5 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท สุพรรณบุรี 0.1-3.5
นครสวรรค์ กรุงเทพฯ และอุทัยธานี
3 ระยอง 27 11 6 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี ตราด 0.1-40.0
จันทบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว
4 หัวหิน 65 3 2 จังหวัด ได้แก่ เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ 0.3-1.8
5 สุราษฎร์ธานี 10 13 8 จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ระนอง พังงา 0.1-51.8
นครศรีธรรมราช ภูเก็ต ตรัง กระบี่
และสตูล
รวม 135 33 22 จังหวัด
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 13 มีนาคม 2550--จบ--
สรุปสถานการณ์ภัยแล้งตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงวันที่ 12 มีนาคม 2550 ดังนี้
1.สถานการณ์ภัยแล้ง(ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 12 มีนาคม 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัย รวม 52 จังหวัด 454 อำเภอ 48 กิ่งฯ 2,994 ตำบล 23,129 หมู่บ้าน (คิดเป็นร้อยละ 38.63 ของหมู่บ้าน
59,875 หมู่บ้าน ใน 52 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง และคิดเป็นร้อยละ 31.40 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย ราษฎรประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ กิ่ง ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 16 121 12 712 4,792 กำแพงเพชร สุโขทัย ลำปาง แพร่ 395,093 1,349,978
ตาก เพชรบูรณ์ น่าน ลำพูน พิจิตร
เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์
พิษณุโลก พะเยา แม่ฮ่องสอน
และนครสวรรค์
2 ตะวัน 19 249 30 1,885 15,914 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น หนองคาย มุกดาหาร 1,454,616 5,964,516
ออกเฉียงเหนือ ยโสธร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู
บุรีรัมย์ สกลนคร นครพนม อุดรธานี
ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี
มหาสารคาม เลย สุรินทร์ และร้อยเอ็ด
3 กลาง 6 32 1 126 886 สุพรรณบุรี อ่างทอง ราชบุรี 70,749 282,885
ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ และกาญจนบุรี
4 ตะวันออก 6 32 5 163 902 จันทบุรี สระแก้ว ตราด ฉะเชิงเทรา 88,824 281,377
ชลบุรี นครนายก
5 ใต้ 5 20 0 108 635 ตรัง ระนอง นครศรีธรรมราช ชุมพร 31,292 107,595
และภูเก็ต
รวมทั้งประเทศ 52 454 48 2,994 23,129 2,040,574 7,986,351
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้ง ณ ปัจจุบัน (วันที่ 12 มีนาคม 2550) เปรียบเทียบกับจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด
จำนวนหมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ
ที่ ภาค จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ประสบภัยแล้งปัจจุบัน (ของหมู่บ้าน
(ณ 12 มี.ค. 2550) ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,576 15,914 48.85
2 เหนือ 16,306 4,792 29.39
3 ตะวันออก 4,816 902 18.73
4 กลาง 11,377 886 7.79
5 ใต้ 8,588 635 7.39
รวม 73,663 23,129 31.40
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2550 (รวม 46 จังหวัด 372 อำเภอ 38 กิ่งฯ
2,348 ตำบล 17,688 หมู่บ้าน) ปรากฏว่ามีจังหวัดประสบภัยแล้งเพิ่มขึ้น จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ เลย สุรินทร์
ร้อยเอ็ด นครนายก และภูเก็ต และจำนวนหมู่บ้านที่เพิ่มขึ้นของจังหวัดที่ประสบภัยแล้ง รวม 5,441 หมู่บ้าน
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2549 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ข้อมูลปี 2550 ข้อมูลปี 2549 เปรียบเทียบข้อมูลภัยแล้ง
(ณ วันที่ 12 มี.ค. 2550) (ณ วันที่ 12 มี.ค. 2550) ปี 2550 กับปี 2549
ที่ ภาค หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวนหมู่บ้าน คิดเป็น
ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน ประสบภัยแล้ง (ของหมู่บ้าน + เพิ่ม- ลด ร้อยละ
ทั้งประเทศ) ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 15,914 48.85 18,567 57.00 -2,653 -14.29
2 เหนือ 4,792 29.39 4,423 27.12 369 8.34
3 ตะวันออก 902 18.73 903 18.75 -1 -0.11
4 กลาง 886 7.79 836 7.35 50 5.98
5 ใต้ 635 7.39 205 2.39 430 209.75
รวม 23,129 31.40 24,934 33.85 -1,805 -7.24
เปรียบเทียบหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเมื่อปี 2549 ในช่วงเวลาเดียวกัน (วันที่ 12 มี.ค. 2549) รวม 54 จังหวัด 403 อำเภอ
43 กิ่งฯ 2,915 ตำบล 24,934 หมู่บ้าน (ร้อยละ 33.85 ของหมู่บ้านทั้งหมด) โดยปี 2550 (รวม 52 จังหวัด 454 อำเภอ 48 กิ่งฯ
2,994 ตำบล 23,129 หมู่บ้าน) มีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่า 1,805 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.24
1.2 ราษฎรเดือดร้อน จำนวน 2,040,574 ครัวเรือน 7,986,351 คน (คิดเป็นร้อยละ 16.64 ของครัวเรือนทั้งหมด
12,266,622 ครัวเรือน ใน 52 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
1.3 พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ จำนวน 713,756 ไร่
2. การให้ความช่วยเหลือ
2.1 การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร
(1) การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 1,243 เครื่อง แยกเป็น
- จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 499 เครื่อง
- กรมชลประทาน ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 744 เครื่อง แยกเป็น
เพื่อการเพาะปลูก 697 เครื่อง เพื่อการอุปโภคบริโภค 47 เครื่อง
(2) จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการดังนี้
- จัดทำทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ (ชั่วคราว) 8,658 แห่ง
- ขุดลอกแหล่งน้ำ 967 แห่ง
2.2 การปรับปรุง ซ่อมและทำความสะอาดภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 1,041 แห่ง - ถังปูนฉาบ 509 แห่ง
- ถังไฟเบอร์ 912 แห่ง - โอ่งซีเมนต์ 9,920 แห่ง
- เป่าล้างบ่อบาดาล 1,747 แห่ง - หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 986 แห่ง
- หอถังระบบประปาภูเขา 999 แห่ง
การสร้างภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 147 แห่ง - ถังปูนฉาบ 171 แห่ง
- ถังเหล็ก 165 แห่ง - ถังไฟเบอร์ 159 แห่ง
- โอ่งซีเมนต์ 1,149 แห่ง - หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 177 แห่ง
- หอถังระบบประปาภูเขา 10 แห่ง - บ่อน้ำตื้น 127 แห่ง
2.3 การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภคของจังหวัดที่ประสบภัย
ใช้รถบรรทุกน้ำ 858 คัน แจกจ่ายน้ำ 26,414 เที่ยว จำนวน 205,008,165 ลิตร
2.4 งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว จำนวน 327,559,377 บาท แยกเป็น
(1) งบทดรองราชการของจังหวัด (งบ 50 ล้านบาท) 269,834,023 บาท
(2) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 54,257,926 บาท
(3) งบอื่นๆ 3,467,428 บาท
3. การสนับสนุนน้ำประปาช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยแล้ง
3.1 การประปาส่วนภูมิภาคได้ดำเนินการแจกจ่ายน้ำประปาให้แก่รถยนต์บรรทุกน้ำของทางราชการโดยไม่คิดมูลค่า (จ่ายน้ำฟรี)
เพื่อนำไปช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ประสบภัยแล้งไปแล้ว จำนวน 94,024,000 ลิตร คิดเป็นเงิน 1,104,782 บาท สำหรับการประปาที่มี
ปัญหาขาดแคลนน้ำดิบของการประปาส่วนภูมิภาค มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ การประปาปากท่อ จังหวัดราชบุรี และการประปาบำเหน็จณรงค์
จังหวัดชัยภูมิ แก้ไขปัญหาโดยจ่ายน้ำเป็นช่วงเวลาและใช้รถบรรทุกน้ำแจกจ่ายให้ประชาชน
3.2 กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้จัดตั้งจุดจ่ายน้ำเพื่อแจกจ่ายน้ำให้แก่ประชาชนผู้ประสบภัยแล้งในพื้นที่ประสบภัยแล้งทั่วประเทศ
จำนวน 2,000 จุด เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนผู้ประสบภัยแล้ง
4. การปฏิบัติการฝนหลวง ของสำนักฝนหลวงและการบินเกษตร (ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ — 8 มีนาคม 2550)
สำนักฝนหลวงและการบินการเกษตรได้ขึ้นบินปฏิบัติการฝนหลวง รวม 135 เที่ยวบินชั่วโมงบิน รวม 184.55 ชั่วโมง มีฝนตก
33 วัน ในพื้นที่ 22 จังหวัด ดังนี้
ที่ หน่วยปฏิบัติการ จำนวน จำนวน จังหวัดที่มีฝนตก ปริมาณน้ำฝน
ฝนหลวง(จังหวัด) เที่ยวบิน วันฝนตก (จังหวัด) (มม.)
(เที่ยว)
1 พิษณุโลก 5 1 1 จังหวัด ได้แก่ เพชรบูรณ์ 9.2
2 นครสวรรค์ 28 5 5 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท สุพรรณบุรี 0.1-3.5
นครสวรรค์ กรุงเทพฯ และอุทัยธานี
3 ระยอง 27 11 6 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี ตราด 0.1-40.0
จันทบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว
4 หัวหิน 65 3 2 จังหวัด ได้แก่ เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ 0.3-1.8
5 สุราษฎร์ธานี 10 13 8 จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ระนอง พังงา 0.1-51.8
นครศรีธรรมราช ภูเก็ต ตรัง กระบี่
และสตูล
รวม 135 33 22 จังหวัด
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 13 มีนาคม 2550--จบ--