คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมชลประทาน รายงานสรุปสถานการณ์น้ำในภาคใต้ ณ วันที่ 8 มกราคม 2550 ดังนี้
1. สภาพฝน
เมื่อเวลา 04.00 น. วันที่ 6 มกราคม 2550 พายุดีเปรสชั่นในทะเลจีนใต้ตอนล่าง มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 650 กิโลเมตรทางตะวันออกของจังหวัดนราธิวาส หรือ ที่ละติจูด 6.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 108.0 องศาตะวันออก พายุนี้จะเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเข้าใกล้ประเทศมาเลเซีย และภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย และในวันที่ 7 มกราคม 2550 ได้สลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ ทำให้มีปริมาณฝนตกหนักถึงหนักมาก ดังนี้
วันที่ 6 มกราคม 2550
- จังหวัดนครศรีธรรมราช ต.ปากพูน อ.เมือง 37.1 ม.ม. อ.หัวไทร 60.5 ม.ม.
- จังหวัดพัทลุง อ.เมืองพัทลุง 40.0 ม.ม. อ.ป่าบอน 58.0 ม.ม.
- จังหวัดสงขลา ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ 42.8 ม.ม. ต.บ่อยาง อ.เมือง 57.0 ม.ม. อ.สทิงพระ 40.0 ม.ม. อ.นาทวี 50.3 ม.ม. อ.คลองหอยโข่ง 68.0 ม.ม. อ.บางกล่ำ 53.0 ม.ม.
- จังหวัดปัตตานี อ.เมือง 38.4 ม.ม. อ.ปานาเระ 53.0 ม.ม. อ.มายอ 64.8 ม.ม. อ.ไม้แก่น 68.2 ม.ม.
- จังหวัดยะลา อ.บันนังสตา 64.9 ม.ม. อ.เมือง 49.4 ม.ม
- จังหวัดนราธิวาส อ.เมือง 70.4 ม.ม. อ.ระแงะ 90.8 ม.ม. อ.สุไหงโก-ลก 154.5 ม.ม. อ.คีรีสาคร 105.7 ม.ม. อ.เจาะไอร้อง 140.0 ม.ม. อ.จะแนะ 60.7 ม.ม.
วันที่ 7 มกราคม 2550
- จังหวัดนครศรีธรรมราช อ.เมือง 90.6 ม.ม. อ.หัวไทร 67.0 ม.ม. อ.ปากพนัง 55.0 ม.ม. อ.ท่าศาลา 62.5 ม.ม. อ.สิชล 130.5 ม.ม. อ.ร่อนพิบูลย์ 80.5 ม.ม. อ.เชียรใหญ่ 70.0 ม.ม. อ.พรหมศรี 64.8 ม.ม.
- จังหวัดพัทลุง อ.เมือง 84.9 ม.ม. อ.ควนขนุน 70.0 ม.ม. อ.ปากพยูน 125.4 ม.ม. อ.กงหรา 118.0 ม.ม. อ.ป่าบอน 139.2 ม.ม. อ.บางแก้ว 110.0 ม.ม.
- จังหวัดสงขลา ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ 130.4 ม.ม. อ.สะเดา 163.0 ม.ม. อ.เมือง 182.0 ม.ม. อ.รัตภูมิ 167.0 ม.ม. อ.สทิงพระ 88.8 ม.ม. อ.นาทวี 80.9 ม.ม. อ.สะบ้าย้อย 123.0 ม.ม. อ.นาหม่อม 76.4 ม.ม. อ.ควนเนียง 105.0 ม.ม. อ.บางกล่ำ 150.0 ม.ม.
- จังหวัดปัตตานี อ.หนองจิก 117.9 ม.ม. อ.ยะรัง 93.5 ม.ม. อ.โคกโพธิ์ 80.2 ม.ม. อ.ยะหริ่ง 93.5 ม.ม. กิ่ง อ.กะพ้อ 125.0 ม.ม. อ.แม่ลาน 85.0 ม.ม.
- จังหวัดยะลา อ.เมือง 112.6 ม.ม. อ.ยะหา 133.3 ม.ม. อ.บันนังสตา 112.5 ม.ม. อ.ธารโต 103.3 ม.ม. จังหวัดนราธิวาส อ.สุไหงปาดี 92.7 ม.ม. อ.รือเสาะ 86.2 ม.ม. อ.แว้ง 129.5 ม.ม. อ.จะแนะ 72.0 ม.ม. อ.คีรีสาคร 179.6 ม.ม.
2. สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
ณ วันที่ 8 มกราคม 2550 อ่างเก็บน้ำรัชชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีปริมาตรน้ำในอ่าง 4,767 ล้าน ลบ.ม. (85 %ของความจุอ่าง) มีปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 5.47 ล้าน ลบ.ม. และอ่างเก็บน้ำบางลาง จังหวัดยะลา มีปริมาตรน้ำในอ่าง 1,053 ล้าน ลบ.ม. (75 %ของความจุอ่าง) มีปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 92 ล้าน ลบ.ม.
3. สภาพน้ำท่า
ลุ่มน้ำปะเหลียน ระดับน้ำที่ ต.ปะเหลียน อ.ปะเหลียน จ.ตรัง(สถานี X.139) วัดได้ 24.71 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 26.80 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำตรัง ระดับน้ำที่บ้านท่าประดู่ อ.ห้วยยอด จ.ตรัง (สถานี X.56) วัดได้ 7.28 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 15.40 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำนาท่อม ระดับน้ำที่ บ้านลำ กิ่ง อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง(สถานี X.170) วัดได้ 21.72 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 27.00 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำอู่ตะเภา ระดับน้ำที่ บ้านคลองแงะ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา (สถานี X.173) วัดได้ 13.50 ม.แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 15.00 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำละงู ระดับน้ำที่บ้านท่าเคียน อ.ละงู จ.สตูล(สถานี X.150) วัดได้ 5.77 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 12.20 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำโก-ลก ระดับน้ำที่สถานี X.119A บ้านปาเสมัส อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส วัดได้ 4.94 ม.แนวโน้มเพิ่มขึ้น (ระดับเฝ้าระวัง 6.20 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
อนึ่ง ตามที่ได้เกิดน้ำท่วมในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างฝั่งตะวันตก ปัจจุบันสภาพน้ำท่วมส่วนใหญ่ได้เข้าสู่สภาวะปกติแล้ว ยังคงมีน้ำท่วมขังเฉพาะในพื้นที่ลุ่มต่ำมาก ซึ่งเป็นพื้นที่น้ำท่วมขังที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ได้แก่
จังหวัดสุพรรณบุรี 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง บริเวณ ตำบลท่าระหัด โคกโคเฒ่า อำเภอบางปลาม้า บริเวณ ตำบลโคกคราม จระเข้ใหญ่ วัดโบสถ์ วัดดาว บางใหญ่ วังน้ำเย็น บ้านแหลม กฤษณา อำเภอสองพี่น้อง บริเวณ ตำบลบางตาเถร บางเลน บางตะเคียน บ้านกุ่ม ต้นตาล มีระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 0.40-0.80 เมตร
จังหวัดนครปฐม 1 อำเภอ คือ อำเภอบางเลน บริเวณตำบลไผ่หูช้าง หินมูล ไทรงาม บางไทรป่า และบางปลา มีระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 0.70 เมตร
กรมชลประทานได้ร่วมกับหน่วยทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารสูงสุด เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหา ดังนี้
1) หน่วยทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารสูงสุด ขุดลอกและกำจัดวัชพืชในเขตอำเภอบางปลาม้า และอำเภอสองพี่น้อง ได้แก่ บริเวณบ่อยืมตามแนวคันกั้นน้ำแม่น้ำสุพรรณ ประตูระบายน้ำบางแม่หม้าย ถึงประตูระบายน้ำสองพี่น้อง ,คลองเภาทะลาย , คลองธรรมชาติสายต่างๆในเขตตำบลตะค่า ตำบลองครักษ์ และตำบลกฤษณา ตามลำดับ
2) หน่วยงานปกครองของอำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง ดำเนินการสนับสนุนน้ำมันเชื้อเพลิงแก่เครื่องสูบน้ำของราษฎร เพื่อสูบน้ำออกจากพื้นที่น้ำท่วมขังในแหล่งชุมชน และพื้นที่การเกษตร และเร่งระบายน้ำลงตามประตูระบายน้ำต่างๆลงแม่น้ำท่าจีนให้รวดเร็วยิ่งขึ้น
3) กรมชลประทานติดตั้งเครื่องสูบน้ำ ขนาด 12 นิ้ว จำนวน 6 เครื่อง (อยู่ระหว่างติดตั้งเพิ่มอีก 18 เครื่อง) และเครื่องผลักดันน้ำ จำนวน 4 เครื่อง (อยู่ระหว่างติดตั้งอีก 12 เครื่อง) เพื่อเร่งระบายน้ำจากพื้นที่น้ำท่วมลงแม่น้ำท่าจีนให้เร็วที่สุด พื้นที่น้ำท่วมขังบริเวณนี้ ในปีที่เกิดอุทกภัย ตามปกติ ระดับน้ำจะลดลงเข้าสู่สภาวะปกติในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ สำหรับในปีนี้ กรมชลประทานจะเร่งระบายน้ำให้เข้าสู่สภาวะปกติภายในเดือนมกราคม 2550
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 9 มกราคม 2550--จบ--
1. สภาพฝน
เมื่อเวลา 04.00 น. วันที่ 6 มกราคม 2550 พายุดีเปรสชั่นในทะเลจีนใต้ตอนล่าง มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 650 กิโลเมตรทางตะวันออกของจังหวัดนราธิวาส หรือ ที่ละติจูด 6.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 108.0 องศาตะวันออก พายุนี้จะเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเข้าใกล้ประเทศมาเลเซีย และภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย และในวันที่ 7 มกราคม 2550 ได้สลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ ทำให้มีปริมาณฝนตกหนักถึงหนักมาก ดังนี้
วันที่ 6 มกราคม 2550
- จังหวัดนครศรีธรรมราช ต.ปากพูน อ.เมือง 37.1 ม.ม. อ.หัวไทร 60.5 ม.ม.
- จังหวัดพัทลุง อ.เมืองพัทลุง 40.0 ม.ม. อ.ป่าบอน 58.0 ม.ม.
- จังหวัดสงขลา ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ 42.8 ม.ม. ต.บ่อยาง อ.เมือง 57.0 ม.ม. อ.สทิงพระ 40.0 ม.ม. อ.นาทวี 50.3 ม.ม. อ.คลองหอยโข่ง 68.0 ม.ม. อ.บางกล่ำ 53.0 ม.ม.
- จังหวัดปัตตานี อ.เมือง 38.4 ม.ม. อ.ปานาเระ 53.0 ม.ม. อ.มายอ 64.8 ม.ม. อ.ไม้แก่น 68.2 ม.ม.
- จังหวัดยะลา อ.บันนังสตา 64.9 ม.ม. อ.เมือง 49.4 ม.ม
- จังหวัดนราธิวาส อ.เมือง 70.4 ม.ม. อ.ระแงะ 90.8 ม.ม. อ.สุไหงโก-ลก 154.5 ม.ม. อ.คีรีสาคร 105.7 ม.ม. อ.เจาะไอร้อง 140.0 ม.ม. อ.จะแนะ 60.7 ม.ม.
วันที่ 7 มกราคม 2550
- จังหวัดนครศรีธรรมราช อ.เมือง 90.6 ม.ม. อ.หัวไทร 67.0 ม.ม. อ.ปากพนัง 55.0 ม.ม. อ.ท่าศาลา 62.5 ม.ม. อ.สิชล 130.5 ม.ม. อ.ร่อนพิบูลย์ 80.5 ม.ม. อ.เชียรใหญ่ 70.0 ม.ม. อ.พรหมศรี 64.8 ม.ม.
- จังหวัดพัทลุง อ.เมือง 84.9 ม.ม. อ.ควนขนุน 70.0 ม.ม. อ.ปากพยูน 125.4 ม.ม. อ.กงหรา 118.0 ม.ม. อ.ป่าบอน 139.2 ม.ม. อ.บางแก้ว 110.0 ม.ม.
- จังหวัดสงขลา ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ 130.4 ม.ม. อ.สะเดา 163.0 ม.ม. อ.เมือง 182.0 ม.ม. อ.รัตภูมิ 167.0 ม.ม. อ.สทิงพระ 88.8 ม.ม. อ.นาทวี 80.9 ม.ม. อ.สะบ้าย้อย 123.0 ม.ม. อ.นาหม่อม 76.4 ม.ม. อ.ควนเนียง 105.0 ม.ม. อ.บางกล่ำ 150.0 ม.ม.
- จังหวัดปัตตานี อ.หนองจิก 117.9 ม.ม. อ.ยะรัง 93.5 ม.ม. อ.โคกโพธิ์ 80.2 ม.ม. อ.ยะหริ่ง 93.5 ม.ม. กิ่ง อ.กะพ้อ 125.0 ม.ม. อ.แม่ลาน 85.0 ม.ม.
- จังหวัดยะลา อ.เมือง 112.6 ม.ม. อ.ยะหา 133.3 ม.ม. อ.บันนังสตา 112.5 ม.ม. อ.ธารโต 103.3 ม.ม. จังหวัดนราธิวาส อ.สุไหงปาดี 92.7 ม.ม. อ.รือเสาะ 86.2 ม.ม. อ.แว้ง 129.5 ม.ม. อ.จะแนะ 72.0 ม.ม. อ.คีรีสาคร 179.6 ม.ม.
2. สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
ณ วันที่ 8 มกราคม 2550 อ่างเก็บน้ำรัชชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีปริมาตรน้ำในอ่าง 4,767 ล้าน ลบ.ม. (85 %ของความจุอ่าง) มีปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 5.47 ล้าน ลบ.ม. และอ่างเก็บน้ำบางลาง จังหวัดยะลา มีปริมาตรน้ำในอ่าง 1,053 ล้าน ลบ.ม. (75 %ของความจุอ่าง) มีปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 92 ล้าน ลบ.ม.
3. สภาพน้ำท่า
ลุ่มน้ำปะเหลียน ระดับน้ำที่ ต.ปะเหลียน อ.ปะเหลียน จ.ตรัง(สถานี X.139) วัดได้ 24.71 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 26.80 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำตรัง ระดับน้ำที่บ้านท่าประดู่ อ.ห้วยยอด จ.ตรัง (สถานี X.56) วัดได้ 7.28 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 15.40 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำนาท่อม ระดับน้ำที่ บ้านลำ กิ่ง อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง(สถานี X.170) วัดได้ 21.72 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 27.00 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำอู่ตะเภา ระดับน้ำที่ บ้านคลองแงะ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา (สถานี X.173) วัดได้ 13.50 ม.แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 15.00 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำละงู ระดับน้ำที่บ้านท่าเคียน อ.ละงู จ.สตูล(สถานี X.150) วัดได้ 5.77 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ระดับเฝ้าระวัง 12.20 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
ลุ่มน้ำโก-ลก ระดับน้ำที่สถานี X.119A บ้านปาเสมัส อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส วัดได้ 4.94 ม.แนวโน้มเพิ่มขึ้น (ระดับเฝ้าระวัง 6.20 ม.) ยังอยู่ในสภาวะปกติ
อนึ่ง ตามที่ได้เกิดน้ำท่วมในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างฝั่งตะวันตก ปัจจุบันสภาพน้ำท่วมส่วนใหญ่ได้เข้าสู่สภาวะปกติแล้ว ยังคงมีน้ำท่วมขังเฉพาะในพื้นที่ลุ่มต่ำมาก ซึ่งเป็นพื้นที่น้ำท่วมขังที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ได้แก่
จังหวัดสุพรรณบุรี 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง บริเวณ ตำบลท่าระหัด โคกโคเฒ่า อำเภอบางปลาม้า บริเวณ ตำบลโคกคราม จระเข้ใหญ่ วัดโบสถ์ วัดดาว บางใหญ่ วังน้ำเย็น บ้านแหลม กฤษณา อำเภอสองพี่น้อง บริเวณ ตำบลบางตาเถร บางเลน บางตะเคียน บ้านกุ่ม ต้นตาล มีระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 0.40-0.80 เมตร
จังหวัดนครปฐม 1 อำเภอ คือ อำเภอบางเลน บริเวณตำบลไผ่หูช้าง หินมูล ไทรงาม บางไทรป่า และบางปลา มีระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 0.70 เมตร
กรมชลประทานได้ร่วมกับหน่วยทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารสูงสุด เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหา ดังนี้
1) หน่วยทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารสูงสุด ขุดลอกและกำจัดวัชพืชในเขตอำเภอบางปลาม้า และอำเภอสองพี่น้อง ได้แก่ บริเวณบ่อยืมตามแนวคันกั้นน้ำแม่น้ำสุพรรณ ประตูระบายน้ำบางแม่หม้าย ถึงประตูระบายน้ำสองพี่น้อง ,คลองเภาทะลาย , คลองธรรมชาติสายต่างๆในเขตตำบลตะค่า ตำบลองครักษ์ และตำบลกฤษณา ตามลำดับ
2) หน่วยงานปกครองของอำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง ดำเนินการสนับสนุนน้ำมันเชื้อเพลิงแก่เครื่องสูบน้ำของราษฎร เพื่อสูบน้ำออกจากพื้นที่น้ำท่วมขังในแหล่งชุมชน และพื้นที่การเกษตร และเร่งระบายน้ำลงตามประตูระบายน้ำต่างๆลงแม่น้ำท่าจีนให้รวดเร็วยิ่งขึ้น
3) กรมชลประทานติดตั้งเครื่องสูบน้ำ ขนาด 12 นิ้ว จำนวน 6 เครื่อง (อยู่ระหว่างติดตั้งเพิ่มอีก 18 เครื่อง) และเครื่องผลักดันน้ำ จำนวน 4 เครื่อง (อยู่ระหว่างติดตั้งอีก 12 เครื่อง) เพื่อเร่งระบายน้ำจากพื้นที่น้ำท่วมลงแม่น้ำท่าจีนให้เร็วที่สุด พื้นที่น้ำท่วมขังบริเวณนี้ ในปีที่เกิดอุทกภัย ตามปกติ ระดับน้ำจะลดลงเข้าสู่สภาวะปกติในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ สำหรับในปีนี้ กรมชลประทานจะเร่งระบายน้ำให้เข้าสู่สภาวะปกติภายในเดือนมกราคม 2550
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 9 มกราคม 2550--จบ--