แท็ก
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการคลัง
สำนักงบประมาณ
ประกันสุขภาพ
คณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีพิจารณาตามที่กระทรวงสาธารณสุขรายงานผลการประชุมร่วมกับกระทรวงการคลัง และสำนักงบประมาณ เกี่ยวกับความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เกี่ยวกับ "การจัดสรรงบประมาณในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" แล้วมีมติรับทราบความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ และรับทราบความเห็น ผลการพิจารณา และผลการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2520 และเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติแล้ว สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะได้รายงานผลการพิจารณาหรือผลการดำเนินการของคณะรัฐมนตรีต่อสภาที่ปรึกษาฯ และเปิดเผยให้สาธารณชนทราบตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไป
กระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า ได้ประชุมร่วมกับกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และสำนักงบประมาณเกี่ยวกับความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ แล้ว สรุปได้ดังนี้
ข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.รัฐบาลควรกำหนดนโยบายและหลักการที่ชัดเจน 1.การจัดสรรงบประมาณในระบบหลักประกันสุขภาพ
ในการจัดสรรงบประมาณของระบบหลักประกัน ถ้วนหน้าเป็นการจัดสรรงบประมาณในรูปเหมาจ่าย
สุขภาพถ้วนหน้า การจัดสรรงบประมาณของระบบ รายหัว (capition) ซึ่งได้ศึกษาต้นทุนต่อหน่วย
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นยุทธศาสตร์สำคัญ ค่าใช้จ่ายรายหัวไว้และใช้เป็นข้อมูลในการจัดตั้ง
ในการผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ งบประมาณ โดยในการจัดสรรให้หน่วยบริการจะใช้
บรรลุเจตนารมณ์ตามมาตรา 52 ของรัฐธรรมนูญ ตามจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน
แห่งราชอาณาจักรไทย
2.รัฐบาลควรให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของ 2.การจัดสรรงบประมาณของระบบหลักประกันสุขภาพ
ทุกภาค ส่วนในสังคมในการจัดสรรงบประมาณของ ถ้วนหน้า ดำเนินการโดยคณะกรรมการหลักประกัน
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และมีความโปร่งใส สุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีผู้แทนในแต่ละองค์กรทั้งภาครัฐ
สามารถตรวจสอบได้ และเอกชนอยู่ด้วย และในระดับจังหวัดดำเนินการ
โดยคณะอนุกรรมการบริหารหลักประกันสุขภาพระดับ
จังหวัด โดยจะมีผู้แทนจากองค์กรภาครัฐ เอกชน และ
ประชาชนร่วมอยู่ด้วย
3.รัฐบาลควรผลักดันให้กระทรวงสาธารณสุข 3.ในปีงบประมรณ 2545 กระทรวงสาธารณสุขได้นำ
นำหลักการการจัดสรรงบประมาณ รวมเงินเดือนใน หลักการจัดสรรงบประมาณในระบบหลักประกันสุขภาพ
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยการจัดสรร ถ้วนหน้า โดยจัดสรรตามจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน
งบประมาณรวมเงินเดือนในระดับจังหวัด หักเงินเดือนในระดับจังหวัด ซึ่งทำให้จังหวัดประสบปัญหา
(การยึดรายหัวประชากรเป็นตัวตั้ง) เพื่อให้เกิด ด้านการเงิน โดยมีจังหวัดที่ติดลบไม่ได้งบดำเนินการ
ความเป็นธรรมในการกระจายทรัพยากรทั้งงบประมาณ จำนวน 7 จังหวัด จังหวัดที่ได้รับงบประมาณน้อยมาก
และบุคลากรซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญในการปฏิรูประบบ ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการ 13 จังหวัด สถานบริการ
การเงินการคลังด้านสุขภาพ และก่อให้เกิดการกระจาย ประสบปัญหาทางด้านการเงิน จำนวน 138 แห่ง
บริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานไปสู่ประชาชนในระดับ จึงต้องใช้งบกองทุนสำรองเพื่อความมั่นคง
ล่างมากยิ่งขึ้น (Contingency Fund) มาช่วยเหลือ ดังนั้นในปี
งบประมาณ 2546 กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ปรับรูป
แบบการจัดสรรเงินโดยจัดสรรตามจำนวนประชากรที่ขึ้น
ทะเบียนหักเงินเดือนในระดับประเทศ เพื่อให้เกิดการ เกื้อกูลกันในระบบ ให้โรงพยาบาลทุกขนาดอยู่ได้
และในปีงบประมาณ 2547 กระทรวงสาธารณสุข
ได้จัดสรรเงินงบประมาณโดยใช้หลักการคำนวณงบ ดำเนินการต่อหัวเป็นรายโรงพยาบาล แล้วนำมาหา
ค่าเฉลี่ยงบดำเนินการของแต่ละกลุ่มโรงพยาบาล
งบดำเนินการนี้ได้หักเงินเดือนบุคลากรระดับ
ประเทศแล้ว ซึ่งถ้าหากจะใช้แนวทางการจัดสรร
งบประมาณตามที่สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติเสนอให้จัดสรรงบประมาณโดยรวมเงินเดือน
ในระดับจังหวัดเพื่อให้เกิดการปฏิรูประบบการเงิน
การคลังด้านสุขภาพ จะต้องใช้ระยะเวลา 5-10 ปี
ซึ่งในระหว่างนั้นจะต้องใช้เงินสนับสนุนเพิ่มเติม
ปีละ 3,000 - 5,000 ล้านบาท
4. รัฐบาลควรหามาตรการที่ชัดเจนในการลด 4. ได้มีการพัฒนาคุณภาพระบบบริการด้านสาธารณสุข
ผลกระทบต่าง ๆ และพัฒนาคุณภาพระบบบริการ อย่างต่อเนื่อง มีการเตรียมการในการบริหารจัดการ
ด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะมาตรการการบริหาร กองทุนสำรองเพื่อความมั่นคง จัดส่งทีมวิเคราะห์และ
จัดการกองทุนสำรองเพื่อความมั่นคงอย่างมี ตรวจสอบ สถานการณ์ทางการเงินของหน่วยบริการ
ประสิทธิภาพ มาตรการจัดระบบโครงสร้างการ เพื่อให้ความช่วย เหลือโรงพยาบาลที่อยู่ในภาวะวิกฤต
บริการด้านสาธารณสุขของประเทศที่ชัดเจน ได้อย่างทันทีและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โดยการแบ่งระดับการบริการด้านปฐมภูมิ ทุติยภูมิ กำลังดำเนินการจัดทำหลักเกณฑ์กำหนดบริการ
และตติยภูมิให้ชัด ไม่ซ้ำซ้อน แต่มีระบบการส่งต่อ ของสถานบริการระดับ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ
ที่มีประสิทธิภาพ และต้องจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ ขึ้นใหม่ เพื่อแทนเกณฑ์เดิมซึ่งเมื่อผ่านความเห็นชอบ
อย่างเหมาะสมต่อการพัฒนาคุณภาพการบริการทั้ง 3 ระดับ ของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติแล้ว
จะได้ประกาศใช้เป็นเกณฑ์ระดับประเทศสำหรับ
โรงพยาบาลทุกสังกัดต่อไป
5. รัฐบาลควรให้ความสำคัญในขั้นการดำเนินงาน 6. กระทรวงสาธารณสุขมีเป้าหมายที่จะให้คนไทยทุกคน
ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อให้ประชาชน ได้รับการคุ้มครองการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็น
ในระดับล่างเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง อันจะทำให้การ และมีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
จัดสรรงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัดเกิดประโยชน์สูงสุด แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 โดยมีแนวทางใน
การดำเนินงานให้สถานบริการทุกแห่งเร่งรัดให้มีการขึ้น ทะเบียนเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับความคุ้มครอง
ด้านสุขภาพ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 27 เมษายน 2547--จบ--
-กภ-
กระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า ได้ประชุมร่วมกับกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และสำนักงบประมาณเกี่ยวกับความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ แล้ว สรุปได้ดังนี้
ข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.รัฐบาลควรกำหนดนโยบายและหลักการที่ชัดเจน 1.การจัดสรรงบประมาณในระบบหลักประกันสุขภาพ
ในการจัดสรรงบประมาณของระบบหลักประกัน ถ้วนหน้าเป็นการจัดสรรงบประมาณในรูปเหมาจ่าย
สุขภาพถ้วนหน้า การจัดสรรงบประมาณของระบบ รายหัว (capition) ซึ่งได้ศึกษาต้นทุนต่อหน่วย
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นยุทธศาสตร์สำคัญ ค่าใช้จ่ายรายหัวไว้และใช้เป็นข้อมูลในการจัดตั้ง
ในการผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ งบประมาณ โดยในการจัดสรรให้หน่วยบริการจะใช้
บรรลุเจตนารมณ์ตามมาตรา 52 ของรัฐธรรมนูญ ตามจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน
แห่งราชอาณาจักรไทย
2.รัฐบาลควรให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของ 2.การจัดสรรงบประมาณของระบบหลักประกันสุขภาพ
ทุกภาค ส่วนในสังคมในการจัดสรรงบประมาณของ ถ้วนหน้า ดำเนินการโดยคณะกรรมการหลักประกัน
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และมีความโปร่งใส สุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีผู้แทนในแต่ละองค์กรทั้งภาครัฐ
สามารถตรวจสอบได้ และเอกชนอยู่ด้วย และในระดับจังหวัดดำเนินการ
โดยคณะอนุกรรมการบริหารหลักประกันสุขภาพระดับ
จังหวัด โดยจะมีผู้แทนจากองค์กรภาครัฐ เอกชน และ
ประชาชนร่วมอยู่ด้วย
3.รัฐบาลควรผลักดันให้กระทรวงสาธารณสุข 3.ในปีงบประมรณ 2545 กระทรวงสาธารณสุขได้นำ
นำหลักการการจัดสรรงบประมาณ รวมเงินเดือนใน หลักการจัดสรรงบประมาณในระบบหลักประกันสุขภาพ
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยการจัดสรร ถ้วนหน้า โดยจัดสรรตามจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน
งบประมาณรวมเงินเดือนในระดับจังหวัด หักเงินเดือนในระดับจังหวัด ซึ่งทำให้จังหวัดประสบปัญหา
(การยึดรายหัวประชากรเป็นตัวตั้ง) เพื่อให้เกิด ด้านการเงิน โดยมีจังหวัดที่ติดลบไม่ได้งบดำเนินการ
ความเป็นธรรมในการกระจายทรัพยากรทั้งงบประมาณ จำนวน 7 จังหวัด จังหวัดที่ได้รับงบประมาณน้อยมาก
และบุคลากรซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญในการปฏิรูประบบ ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการ 13 จังหวัด สถานบริการ
การเงินการคลังด้านสุขภาพ และก่อให้เกิดการกระจาย ประสบปัญหาทางด้านการเงิน จำนวน 138 แห่ง
บริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานไปสู่ประชาชนในระดับ จึงต้องใช้งบกองทุนสำรองเพื่อความมั่นคง
ล่างมากยิ่งขึ้น (Contingency Fund) มาช่วยเหลือ ดังนั้นในปี
งบประมาณ 2546 กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ปรับรูป
แบบการจัดสรรเงินโดยจัดสรรตามจำนวนประชากรที่ขึ้น
ทะเบียนหักเงินเดือนในระดับประเทศ เพื่อให้เกิดการ เกื้อกูลกันในระบบ ให้โรงพยาบาลทุกขนาดอยู่ได้
และในปีงบประมาณ 2547 กระทรวงสาธารณสุข
ได้จัดสรรเงินงบประมาณโดยใช้หลักการคำนวณงบ ดำเนินการต่อหัวเป็นรายโรงพยาบาล แล้วนำมาหา
ค่าเฉลี่ยงบดำเนินการของแต่ละกลุ่มโรงพยาบาล
งบดำเนินการนี้ได้หักเงินเดือนบุคลากรระดับ
ประเทศแล้ว ซึ่งถ้าหากจะใช้แนวทางการจัดสรร
งบประมาณตามที่สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติเสนอให้จัดสรรงบประมาณโดยรวมเงินเดือน
ในระดับจังหวัดเพื่อให้เกิดการปฏิรูประบบการเงิน
การคลังด้านสุขภาพ จะต้องใช้ระยะเวลา 5-10 ปี
ซึ่งในระหว่างนั้นจะต้องใช้เงินสนับสนุนเพิ่มเติม
ปีละ 3,000 - 5,000 ล้านบาท
4. รัฐบาลควรหามาตรการที่ชัดเจนในการลด 4. ได้มีการพัฒนาคุณภาพระบบบริการด้านสาธารณสุข
ผลกระทบต่าง ๆ และพัฒนาคุณภาพระบบบริการ อย่างต่อเนื่อง มีการเตรียมการในการบริหารจัดการ
ด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะมาตรการการบริหาร กองทุนสำรองเพื่อความมั่นคง จัดส่งทีมวิเคราะห์และ
จัดการกองทุนสำรองเพื่อความมั่นคงอย่างมี ตรวจสอบ สถานการณ์ทางการเงินของหน่วยบริการ
ประสิทธิภาพ มาตรการจัดระบบโครงสร้างการ เพื่อให้ความช่วย เหลือโรงพยาบาลที่อยู่ในภาวะวิกฤต
บริการด้านสาธารณสุขของประเทศที่ชัดเจน ได้อย่างทันทีและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โดยการแบ่งระดับการบริการด้านปฐมภูมิ ทุติยภูมิ กำลังดำเนินการจัดทำหลักเกณฑ์กำหนดบริการ
และตติยภูมิให้ชัด ไม่ซ้ำซ้อน แต่มีระบบการส่งต่อ ของสถานบริการระดับ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ
ที่มีประสิทธิภาพ และต้องจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ ขึ้นใหม่ เพื่อแทนเกณฑ์เดิมซึ่งเมื่อผ่านความเห็นชอบ
อย่างเหมาะสมต่อการพัฒนาคุณภาพการบริการทั้ง 3 ระดับ ของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติแล้ว
จะได้ประกาศใช้เป็นเกณฑ์ระดับประเทศสำหรับ
โรงพยาบาลทุกสังกัดต่อไป
5. รัฐบาลควรให้ความสำคัญในขั้นการดำเนินงาน 6. กระทรวงสาธารณสุขมีเป้าหมายที่จะให้คนไทยทุกคน
ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อให้ประชาชน ได้รับการคุ้มครองการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็น
ในระดับล่างเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง อันจะทำให้การ และมีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
จัดสรรงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัดเกิดประโยชน์สูงสุด แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 โดยมีแนวทางใน
การดำเนินงานให้สถานบริการทุกแห่งเร่งรัดให้มีการขึ้น ทะเบียนเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับความคุ้มครอง
ด้านสุขภาพ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 27 เมษายน 2547--จบ--
-กภ-