คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) ตามที่คณะกรรมการภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพเสนอ และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องต่อไป และให้คณะกรรมการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพแห่งชาติ ประสานงานเพื่อขับเคลื่อน ผลักดันการดำเนินงาน ติดตาม กำกับ ประเมินผล แผนยุทธศาสตร์ชาติ และการดำเนินงานตามมติสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น รายงานผลการดำเนินการให้ คสช. ทราบต่อไป
เป้าหมาย / เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ 1. มีการใช้ปัญญา ความรู้ ความมี 1. มีการสร้างและจัดการความรู้เพื่อ เหตุผล ในการพัฒนาวิชาการและ พัฒนาระบบการแพทย์พื้นบ้าน องค์ความรู้จากฐานเดิมอย่าง การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทางเลือก ที่มีประสิทธิผล ปลอดภัย คุ้มค่า มีประสิทธิผลและปลอดภัย น่าเชื่อถือและคุ้มค่า 2. ชุมชนและชุมชนท้องถิ่น 2. มีระบบและกลไกที่เข้มแข็ง มีฐาน ตระหนักถึงคุณค่าและมีบทบาทใน วิชาการ เป็นอิสระ เป็นกลางในการ การส่งเสริม สนับสนุนการใช้ และ คัดกรอง ส่งเสริมและคุ้มครอง การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน ผู้บริโภคด้านการแพทย์ทางเลือก สุขภาพ การแพทย์พื้นบ้าน อื่นๆ ที่มีประสิทธิผล ประหยัด คุ้มค่า การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ และปลอดภัย เพื่อประโยชน์สูงสุดใน ทางเลือก เพื่อการดูแลสุขภาพของ การดูแลสุขภาพของประชาชน ชุมชนและชุมชนท้องถิ่นอย่าง 3. เพื่อให้ชุมชนและชุมชนท้องถิ่นมี เหมาะสม มีระบบสุขภาพชุมชน / ศักยภาพในการจัดการระบบสุขภาพ ระบบสุขภาพภาคประชาชน โดยใช้ ของชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพในการ 4. เพื่อให้ระบบบริการการแพทย์ ดูแลสุขภาพของชุมชน แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของ 3. ระบบบริการการแพทย์แผนไทย ประเทศมีมาตรฐาน ทั้งในด้านองค์ และการแพทย์ทางเลือกมีมาตรฐาน ความรู้ การบริการ กำลังคน ยาจาก ตั้งแต่ องค์ความรู้ สถานที่ บุคลากร สมุนไพร และฐานทรัพยากร เวชปฏิบัติ ระบบข้อมูล ระบบยา และ สมุนไพรและอาหาร อยู่ในสิทธิประโยชน์ของระบบ 5. มีแผนแม่บทการพัฒนากำลังคน หลักประกันสุขภาพทุกระบบ ตั้งแต่ การผลิต การพัฒนาองค์ 4. กำลังคนด้านการแพทย์พื้นบ้าน ความรู้อย่างต่อเนื่อง ความก้าวหน้า การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ และความมั่นคงทางวิชาชีพ ทางเลือก มีคุณภาพ จรรยาบรรณ 5. ระบบยาของประเทศมีความ 6. มีรายการยาจากสมุนไพรในบัญชี มั่นคงบนฐานของระบบยาจาก ยาหลักแห่งชาติ อย่างน้อยร้อยละ 10 สมุนไพร ของรายการยาทั้งหมด 6. ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย 7. มีระบบและกลไกที่เข้มแข็งใน ได้รับการคุ้มครองตั้งแต่ระดับ การคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์ ท้องถิ่น ประเทศและนานาชาติ แผนไทย ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และนานาชาติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์/มาตรการ 1. การสร้างและจัดการความรู้ ภูมิ 1.1 การขับเคลื่อนแผนแม่บทการวิจัย ปัญญาไท สุขภาพ วิถีไท ของประเทศ - การสร้างระบบและกลไกการวิจัย ระดับชาติ - การพัฒนางานวิจัย - การพัฒนานักวิจัยกลุ่มและเครือข่าย การวิจัย 1.2 การจัดทำระบบการบันทึกภูมิ ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพทั่วประเทศ 1.3 การจัดทำระบบข้อมูลดิจิทัลภูมิ ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของชุมชน ทั่วประเทศ 1.4 การพัฒนาระบบและกลไกทาง วิชาการที่เข้มแข็ง เป็นอิสระ เป็นกลาง ในการคัดกรอง ส่งเสริมและ 2. การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน 2.1 การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน และระบบบริการสาธารณสุข - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายหมอ พื้นบ้าน นักวิชาการ และภาคประชา สังคม - การเสริมสร้างความเข้มแข็งและการ มีส่วนร่วมของชุมชนและชุมชน ท้องถิ่น - การสนับสนุนและเสริมสร้างความ เข้มแข็งของเครือข่ายหมอพื้นบ้าน 2.2 การพัฒนาคุณภาพระบบบริการ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก - มาตรฐานการบริการ - การพัฒนาโรงพยาบาลการแพทย์ แผนไทยต้นแบบ 3. การพัฒนากำลังคน ด้าน 3.1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผน กำลังคนของประเทศ ไทย และการแพทย์ทางเลือก 3.2 การมีแผนแม่บทการพัฒนา กำลังคนระดับชาติ 3.3 การพัฒนามาตรฐานการผลิต กำลังคน -การพัฒนาระบบการสืบทอดหมอ พื้นบ้าน - การพัฒนาระบบการเรียนการสอน ของการแพทย์แผนไทย - การจัดตั้งและพัฒนาเครือข่าย สถาบันอบรมการแพทย์แผนไทย - การพัฒนาระบบการเรียนการสอน ของการแพทย์แผนจีนและการแพทย์ ทางเลือกอื่นๆ - ส่งเสริมให้มีการบรรจุความรู้พื้นฐาน ด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ แผนไทย การแพทย์ทางเลือกเข้าใน หลักสูตรการเรียนการสอนการแพทย์ แผนปัจจุบันและสหวิชาชีพอื่น 3.4 การพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง มีระบบการศึกษาต่อเนื่อง 3.5 การกำหนดโครงสร้างและกรอบ อัตรากำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย 4. การพัฒนาระบบยาจากสมุนไพร 4.1 ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้าน และผลิตภัณฑ์สมุนไพร สมุนไพรของชุมชน - จัดทำแผนการอนุรักษ์สมุนไพรทั้ง ในธรรมชาติและในชุมชุน - ส่งเสริมชุมชนในการปลูกสมุนไพร และมีตลาดกลางสมุนไพร - การจัดการความรู้การใช้สมุนไพร ของชุมชน เชื่อมต่อกับระบบการ บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ของชุมชนทั่วประเทศ 4.2 ส่งเสริมความเข้มแข็งของระบบ ยาจากสมุนไพรในระบบบริการ สาธารณสุขของประเทศ - การเพิ่มรายการยาจากสมุนไพรใน บัญชียาหลักแห่งชาติ - การส่งเสริมการผลิตยาและจัดหายา จากสมุนไพรที่เหมาะสมและได้ มาตรฐานทั้งจากสถานบริการ สาธารณสุข (ภาครัฐ) และจากสถาน ประกอบการ (ภาคเอกชน) - การส่งเสริมระบบการกระจายยาจาก สมุนไพรในระดับจังหวัด โดยมี โรงพยาบาลชุมชนเป็นศูนย์กลาง - การส่งเสริมการใช้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยและประหยัด ทั้งในด้าน บุคลากรผู้สั่งยาและด้านผู้ใช้ยา 4.3 การพัฒนาศักยภาพ มาตรฐาน ของอุตสาหกรรมยาไทย - การสนับสนุนโรงงานผลิตยาไทยให้ ได้มาตรฐาน -ส่งเสริมระบบการผลิตยากลาง โดยการจัดตั้งโรงงานกลางสมุนไพร แห่งชาติที่ได้มาตรฐาน (GMP และ GLP) - การพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ ตั้งแต่ การเพาะปลูกที่ดีหรือแบบ เกษตรกรรมอินทรีย์ การเก็บเกี่ยวที่ดี การให้บริการตรวจวิเคราะห์ยาแผน ไทยและสมุนไพร 4.4 การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากสมุนไพร -ควรมีระบบและกลไกระดับชาติใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรอย่าง เป็นระบบและครบวงจร - ส่งเสริมการสื่อสารสาธารณะ การเผยแพร่ และ การสร้าง ทัศนคติที่ดีในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ จากสมุนไพร - การส่งเสริมศักยภาพและมาตรฐาน การผลิต 5. การพัฒนาระบบและกลไกการ 5.1 การจัดทำระบบข้อมูลดิจิทัลภูมิ คุ้มครองภูมิปัญญาไทย ปัญญาการแพทย์พื้นบ้านและ การแพทย์แผนไทยส่วนกลางของ ประเทศ ( TKDI ) 5.2 การจัดทำข้อตกลงกับสำนักงาน สิทธิบัตรระหว่างประเทศ 5.3 การสร้างบทบาทเชิงรุกของ ประเทศไทยในเวทีเจรจาระหว่าง ประเทศที่เกี่ยวกับการคุ้มครองภูมิ ปัญญาไทย - การศึกษาวิจัยและติดตามการเจรจา การคุ้มครองภูมิปัญญาไทยในเวที ระหว่างประเทศ - การพัฒนาศักยภาพของคณะเจรจา ไทยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง - การกำหนดแผนล่วงหน้า งบประมาณ ในการเข้าร่วมแต่ละปี 5.4 การส่งเสริมชุมชนท้องถิ่นในการ เฝ้าระวังและคุ้มครองภูมิปัญญาไทย 6. การสื่อสารสาธารณะด้าน 6.1 การเผยแพร่และสื่อสารเพื่อ การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผน ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ไทย และการแพทย์ทางเลือก - การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น -การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ 6.2 การเผยแพร่และสื่อสารเพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ - การจัดเวทีวิชาการและการจัดการ ความรู้ - การพัฒนาระบบการสื่อสารและ ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ 6.3 การเผยแพร่และสื่อสารเพื่อการ ดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน - การจัดการความรู้ด้วยกระบวนการมี ส่วนร่วม - การพัฒนาระบบการเรียนรู้ อิเล็กทรอนิกส์ - การเผยแพร่ทางสื่อสารมวลชนให้ สอดคล้องกับบริบททางด้านสังคม วัฒนธรรมอัตลักษณ์ และ ภาษา ท้องถิ่น 6.4 การเผยแพร่และสื่อสารสำหรับ เด็กและเยาวชน - การจัดกระบวนการเรียนรู้ใน หลักสูตรการเรียนของการศึกษา ระดับประถมและมัธยม - การเผยแพร่ทางสื่อสารมวลชน
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 20 พฤษภาคม 2555--จบ--