คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการเรื่องการเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 และให้ นายโภคิน พลกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ไปหารือกับรองนายกรัฐมนตรี นายจาตุรนต์ ฉายแสง พิจารณาการจัดสรรงบประมาณในแผนงานส่งเสริมและพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 16,001,006,800 บาท
สำนักงบประมาณรายงานสรุปผลการพิจารณาเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบ-ประมาณ พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2547 ดังนี้
1. การขอเพิ่มงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นภาครัฐ ที่ผ่านมาความเห็นชอบจากรัฐมนตรีเจ้าสังกัด มีจำนวนทั้งสิ้น 132,628.1 ล้านบาท
2. การพิจารณาการเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ยึดถือแนวทางตามนัยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2547 ที่กำหนดให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่น ภาครัฐ ขอเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายเฉพาะงาน/ โครงการ ที่มีความจำเป็นเร่งด่วนอย่างแท้จริงและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล โดยมีหลักเกณฑ์การใช้จ่ายในลักษณะดังต่อไปนี้
(1) เป็นไปตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ 5 ประการ คือ
2.1 ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ
2.2 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
2.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม การแก้ไขปัญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิต
2.4 ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ การต่างประเทศ การอำนวยความยุติธรรม
2.5 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการประเทศ
(2) เป็นรายจ่ายลงทุนที่สำคัญก่อให้เกิดผลในการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
(3) เป็นรายจ่ายลงทุนหรือรายจ่ายประจำที่สำคัญตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยควรมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1. ไม่ทำให้เกิดภาระรายจ่ายประจำเพิ่มขึ้น
2. ไม่ผูกพันงบประมาณปีต่อไป
3. เป็นรายการที่เคยเสนอขอตั้งงบประมาณมาแล้วในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 แต่ไม่ได้รับการจัดสรร /เป็นโครงการที่เป็นนโยบายของรัฐบาล
4. ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นภาครัฐ มีขีดความสามารถพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที
3. จากการพิจารณาตามแนวทางและหลักเกณฑ์ในข้อ 2 มีรายการที่สมควรได้รับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมจำนวนทั้งสิ้น 46,886.4 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดจำแนกตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ดังนี้
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ งบประมาณ
รวมทั้งสิ้น 46,886,363,700
1. ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน 3,051,162,400
2. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 8,090,158,500
ของประเทศ 14,941,686,800
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม การแก้ไข
ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิต 1,677,496,800
4. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ
การต่างประเทศและการอำนวยความยุติธรรม 19,125,859,200
5. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการประเทศ
จำแนกเป็นกระทรวง ดังนี้
ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอิสระ งบประมาณ
รวมทั้งประเทศ 46,886,363,700
1. งบกลาง 1,350,000,000
2. สำนักนายกรัฐมนตรี 53,000,000
3. กระทรวงกลาโหม 120,000,000
4. กระทรวงการคลัง 673,086,000
5. กระทรวงการต่างประเทศ 40,307,000
6. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 81,999,600
7. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ 407,160,200
มนุษย์ 2,787,351,500
8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 6,568,652,000
9. กระทรวงคมนาคม 301,507,000
10. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 29,498,500
11. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ 64,200,000
สาร 128,409,300
12. กระทรวงพลังงาน 17,968,626,700
13. กระทรวงพาณิชย์ 107,447,100
14. กระทรวงมหาดไทย 37,534,000
15. กระทรวงยุติธรรม 88,384,000
16. กระทรวงแรงงาน 66,795,500
17. กระทรวงวัฒนธรรม 5,202,060,600
18. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 76,632,500
19. กระทรวงศึกษาธิการ 25,000,000
20. กระทรวงสาธารณสุข 911,999,200
21. กระทรวงอุตสาหกรรม
22. ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี 103,700,000
กระทรวงหรือทบวง 2,150,613,000
23. หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 7,542,400,000
24. รัฐวิสาหกิจ
25. กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน**
3.1 วงเงินงบประมาณจำนวน 46,886.4 ล้านบาท ดังกล่าว ได้รวมวงเงินการเพิ่มงบประมาณของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญและกองทุนและเงินหมุนเวียนในกำกับ จำนวน 253.7 ล้านบาท จากวงเงินที่หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญและกองทุนและเงินทุนหมุนเวียนในกำกับขอรับการจัดสรรทั้งสิ้น 1,394.3 ล้านบาท ซึ่งตามมาตรา 75 วรรคสองของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติให้จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของหน่วยงานฯ แต่เนื่องจากงบประมาณรายจ่ายที่จะสามารถนำมาจัดสรรเพิ่มให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นภาครัฐ ในครั้งนี้มาจำนวนจำกัดมาก ซึ่งสำนักงบประมาณได้วิเคราะห์ความจำเป็นเบื้องต้นแล้วเห็นสมควรสนับสนุน งบประมาณเพิ่มให้แก่หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญและกองทุนและเงินทุนหมุนเวียนในกำกับ จำนวน 253.7 ล้านบาท ดังนี้
หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ/ ขอจัดสรร ผลการวิเคราะห์ความ
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน จำเป็นเบื้องต้น
รวมทั้งสิ้น 1,394,316,285 253,700,000
หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 1,244,316,285 103,700,000
1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง 345,966,300 100,000,000
2. สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ 16,035,000 -
3. สำนักงานศาลยุติธรรม 759,351,985 -
4. สำนักงานศาลปกครอง 55,000,000 3,700,000
5. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ 67,963,000 -
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน 150,000,000 150,000,000
1. กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง 150,000,000 150,000,000
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 10 สิงหาคม 2547--จบ--
-กภ-
สำนักงบประมาณรายงานสรุปผลการพิจารณาเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบ-ประมาณ พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2547 ดังนี้
1. การขอเพิ่มงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นภาครัฐ ที่ผ่านมาความเห็นชอบจากรัฐมนตรีเจ้าสังกัด มีจำนวนทั้งสิ้น 132,628.1 ล้านบาท
2. การพิจารณาการเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ยึดถือแนวทางตามนัยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2547 ที่กำหนดให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่น ภาครัฐ ขอเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายเฉพาะงาน/ โครงการ ที่มีความจำเป็นเร่งด่วนอย่างแท้จริงและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล โดยมีหลักเกณฑ์การใช้จ่ายในลักษณะดังต่อไปนี้
(1) เป็นไปตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ 5 ประการ คือ
2.1 ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ
2.2 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
2.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม การแก้ไขปัญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิต
2.4 ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ การต่างประเทศ การอำนวยความยุติธรรม
2.5 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการประเทศ
(2) เป็นรายจ่ายลงทุนที่สำคัญก่อให้เกิดผลในการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
(3) เป็นรายจ่ายลงทุนหรือรายจ่ายประจำที่สำคัญตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยควรมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1. ไม่ทำให้เกิดภาระรายจ่ายประจำเพิ่มขึ้น
2. ไม่ผูกพันงบประมาณปีต่อไป
3. เป็นรายการที่เคยเสนอขอตั้งงบประมาณมาแล้วในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 แต่ไม่ได้รับการจัดสรร /เป็นโครงการที่เป็นนโยบายของรัฐบาล
4. ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นภาครัฐ มีขีดความสามารถพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที
3. จากการพิจารณาตามแนวทางและหลักเกณฑ์ในข้อ 2 มีรายการที่สมควรได้รับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมจำนวนทั้งสิ้น 46,886.4 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดจำแนกตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ดังนี้
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ งบประมาณ
รวมทั้งสิ้น 46,886,363,700
1. ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน 3,051,162,400
2. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 8,090,158,500
ของประเทศ 14,941,686,800
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม การแก้ไข
ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิต 1,677,496,800
4. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ
การต่างประเทศและการอำนวยความยุติธรรม 19,125,859,200
5. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการประเทศ
จำแนกเป็นกระทรวง ดังนี้
ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอิสระ งบประมาณ
รวมทั้งประเทศ 46,886,363,700
1. งบกลาง 1,350,000,000
2. สำนักนายกรัฐมนตรี 53,000,000
3. กระทรวงกลาโหม 120,000,000
4. กระทรวงการคลัง 673,086,000
5. กระทรวงการต่างประเทศ 40,307,000
6. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 81,999,600
7. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ 407,160,200
มนุษย์ 2,787,351,500
8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 6,568,652,000
9. กระทรวงคมนาคม 301,507,000
10. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 29,498,500
11. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ 64,200,000
สาร 128,409,300
12. กระทรวงพลังงาน 17,968,626,700
13. กระทรวงพาณิชย์ 107,447,100
14. กระทรวงมหาดไทย 37,534,000
15. กระทรวงยุติธรรม 88,384,000
16. กระทรวงแรงงาน 66,795,500
17. กระทรวงวัฒนธรรม 5,202,060,600
18. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 76,632,500
19. กระทรวงศึกษาธิการ 25,000,000
20. กระทรวงสาธารณสุข 911,999,200
21. กระทรวงอุตสาหกรรม
22. ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี 103,700,000
กระทรวงหรือทบวง 2,150,613,000
23. หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 7,542,400,000
24. รัฐวิสาหกิจ
25. กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน**
3.1 วงเงินงบประมาณจำนวน 46,886.4 ล้านบาท ดังกล่าว ได้รวมวงเงินการเพิ่มงบประมาณของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญและกองทุนและเงินหมุนเวียนในกำกับ จำนวน 253.7 ล้านบาท จากวงเงินที่หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญและกองทุนและเงินทุนหมุนเวียนในกำกับขอรับการจัดสรรทั้งสิ้น 1,394.3 ล้านบาท ซึ่งตามมาตรา 75 วรรคสองของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติให้จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของหน่วยงานฯ แต่เนื่องจากงบประมาณรายจ่ายที่จะสามารถนำมาจัดสรรเพิ่มให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นภาครัฐ ในครั้งนี้มาจำนวนจำกัดมาก ซึ่งสำนักงบประมาณได้วิเคราะห์ความจำเป็นเบื้องต้นแล้วเห็นสมควรสนับสนุน งบประมาณเพิ่มให้แก่หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญและกองทุนและเงินทุนหมุนเวียนในกำกับ จำนวน 253.7 ล้านบาท ดังนี้
หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ/ ขอจัดสรร ผลการวิเคราะห์ความ
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน จำเป็นเบื้องต้น
รวมทั้งสิ้น 1,394,316,285 253,700,000
หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 1,244,316,285 103,700,000
1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง 345,966,300 100,000,000
2. สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ 16,035,000 -
3. สำนักงานศาลยุติธรรม 759,351,985 -
4. สำนักงานศาลปกครอง 55,000,000 3,700,000
5. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ 67,963,000 -
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน 150,000,000 150,000,000
1. กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง 150,000,000 150,000,000
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 10 สิงหาคม 2547--จบ--
-กภ-