คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงมหาดไทยรายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกโดยสำรวจช่วง 1-8 ตุลาคม 2547 (ไม่รวมยอดรายงานสะสมของกรมปศุสัตว์) จากจังหวัดต่าง ๆ ทั้ง 75 จังหวัด ดังนี้
1. จังหวัดที่สงสัยจะมีสัตว์ปีกแพร่เชื้อไข้หวัดนก จำนวน 20 จังหวัด ประกอบด้วย
1.1 ภาคกลาง จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ชัยนาท และสุพรรณบุรี
1.2 ภาคตะวันออก จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี
1.3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น นครราชสีมา ยโสธร ศรีสะเกษ อุดรธานี และอุบลราชธานี
1.4 ภาคเหนือ จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก และเพชรบูรณ์
1.5 ภาคใต้ จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช
2. ประเภทสัตว์ปีกที่สงสัยว่าจะมีเชื้อไข้หวัดนก เนื่องจากมีตายผิดปกติกะทันหันและพบสัตว์ปีกที่เลี้ยงรอบรัศมี 1 กม. ซึ่งสงสัยว่าจะมีเชื้อไข้หวัดนกรวม จำนวน 1,767,829 ตัว
ประเภทสัตว์ปีก ที่สงสัยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ เป็ด จำนวน 58,684 ตัว ไก่ไข่ จำนวน 35,829 ตัว ไก่เนื้อ จำนวน 7,581 ตัว นกกระทา จำนวน 6,775 ตัว ไก่พื้นเมือง จำนวน 4,596 ตัว ไก่ชน จำนวน 597 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 2 ตัว
3. รายงานผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่และปอดบวม ที่อยู่ในข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดนก รวม 432 ราย จาก 52 จังหวัด (สรุปรายงาน ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2547)
3.1 ผู้ป่วยยืนยัน 4 ราย จากจังหวัดปราจีนบุรี 1 ราย กำแพงเพชร 2 ราย และเพชรบูรณ์ 1 ราย ซึ่งเสียชีวิต 3 ราย
3.2 ผู้ป่วยน่าจะเป็น 1 ราย ที่จังหวัดกำแพงเพชร
3.3 ผู้ป่วยเข้าข่ายสงสงสัย 4 ราย จากจังหวัดกำแพงเพชร 2 ราย และเพชรบูรณ์ 2 ราย
3.4 ผู้ป่วยรับแจ้งใหม่ จาก 21 จังหวัดประกอบด้วย เพชรบูรณ์ 8 ราย ,ประจวบคีรีขันธ์ 3 ราย, อ่างทอง 3 ราย, สระแก้ว 2 ราย, พิจิตร 2 ราย, บุรีรัมย์ 2 ราย อำนาจเจริญ 2 ราย, กรุงเทพมหานคร, พระนครศรีอยุธยา, สระแก้ว, ราชบุรี, สุพรรณบุรี, นครปฐม, ฉะเชิงเทรา, ระยอง, เชียงใหม่, พิษณุโลก, นครสวรรค์, อุทัยธานี, ขอนแก่น และปัตตานี จังหวัดละ 1 ราย
3.5 อยู่ระหว่างการสอบสวน 22 จังหวัด เป็นผู้ป่วยจาก ภาค/จังหวัดต่าง ๆ ดังนี้
- ภาคกลาง อ่างทอง 3 ราย, ประจวบคีรีขันธ์ 3 ราย, สระแก้ว 2 ราย, กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ฉะเชิงเทรา ระยอง แห่งละ 1 ราย
- ภาคเหนือ เพชรบูรณ์ 8 ราย, พิจิตร 2 ราย, กำแพงเพชร 2 ราย, เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ อุทัยธานี แห่งละ 1 ราย
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บุรีรัมย์ 2 ราย, อำนาจเจริญ 2 ราย ขอนแก่น 1 ราย
- ภาคใต้ ปัตตานี 1 ราย
3.6 ผู้ป่วยผลตรวจไม่พบเชื้อจำหน่ายออก 33 ราย รวมจำหน่ายออกทั้งสิ้น 317 ราย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 12 ตุลาคม 2547--จบ--
-กภ-
1. จังหวัดที่สงสัยจะมีสัตว์ปีกแพร่เชื้อไข้หวัดนก จำนวน 20 จังหวัด ประกอบด้วย
1.1 ภาคกลาง จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ชัยนาท และสุพรรณบุรี
1.2 ภาคตะวันออก จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี
1.3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น นครราชสีมา ยโสธร ศรีสะเกษ อุดรธานี และอุบลราชธานี
1.4 ภาคเหนือ จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก และเพชรบูรณ์
1.5 ภาคใต้ จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช
2. ประเภทสัตว์ปีกที่สงสัยว่าจะมีเชื้อไข้หวัดนก เนื่องจากมีตายผิดปกติกะทันหันและพบสัตว์ปีกที่เลี้ยงรอบรัศมี 1 กม. ซึ่งสงสัยว่าจะมีเชื้อไข้หวัดนกรวม จำนวน 1,767,829 ตัว
ประเภทสัตว์ปีก ที่สงสัยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ เป็ด จำนวน 58,684 ตัว ไก่ไข่ จำนวน 35,829 ตัว ไก่เนื้อ จำนวน 7,581 ตัว นกกระทา จำนวน 6,775 ตัว ไก่พื้นเมือง จำนวน 4,596 ตัว ไก่ชน จำนวน 597 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 2 ตัว
3. รายงานผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่และปอดบวม ที่อยู่ในข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดนก รวม 432 ราย จาก 52 จังหวัด (สรุปรายงาน ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2547)
3.1 ผู้ป่วยยืนยัน 4 ราย จากจังหวัดปราจีนบุรี 1 ราย กำแพงเพชร 2 ราย และเพชรบูรณ์ 1 ราย ซึ่งเสียชีวิต 3 ราย
3.2 ผู้ป่วยน่าจะเป็น 1 ราย ที่จังหวัดกำแพงเพชร
3.3 ผู้ป่วยเข้าข่ายสงสงสัย 4 ราย จากจังหวัดกำแพงเพชร 2 ราย และเพชรบูรณ์ 2 ราย
3.4 ผู้ป่วยรับแจ้งใหม่ จาก 21 จังหวัดประกอบด้วย เพชรบูรณ์ 8 ราย ,ประจวบคีรีขันธ์ 3 ราย, อ่างทอง 3 ราย, สระแก้ว 2 ราย, พิจิตร 2 ราย, บุรีรัมย์ 2 ราย อำนาจเจริญ 2 ราย, กรุงเทพมหานคร, พระนครศรีอยุธยา, สระแก้ว, ราชบุรี, สุพรรณบุรี, นครปฐม, ฉะเชิงเทรา, ระยอง, เชียงใหม่, พิษณุโลก, นครสวรรค์, อุทัยธานี, ขอนแก่น และปัตตานี จังหวัดละ 1 ราย
3.5 อยู่ระหว่างการสอบสวน 22 จังหวัด เป็นผู้ป่วยจาก ภาค/จังหวัดต่าง ๆ ดังนี้
- ภาคกลาง อ่างทอง 3 ราย, ประจวบคีรีขันธ์ 3 ราย, สระแก้ว 2 ราย, กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ฉะเชิงเทรา ระยอง แห่งละ 1 ราย
- ภาคเหนือ เพชรบูรณ์ 8 ราย, พิจิตร 2 ราย, กำแพงเพชร 2 ราย, เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ อุทัยธานี แห่งละ 1 ราย
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บุรีรัมย์ 2 ราย, อำนาจเจริญ 2 ราย ขอนแก่น 1 ราย
- ภาคใต้ ปัตตานี 1 ราย
3.6 ผู้ป่วยผลตรวจไม่พบเชื้อจำหน่ายออก 33 ราย รวมจำหน่ายออกทั้งสิ้น 317 ราย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 12 ตุลาคม 2547--จบ--
-กภ-