แท็ก
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมอาหาร
คณะรัฐมนตรี
เรื่อง ความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เรื่อง ปัญหาในอุตสาหกรรมอาหารและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อเพิ่มศักยภาพอย่างครบวงจร
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานหรือผลการพิจารณาของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่องปัญหาในอุตสาหกรรมอาหารและการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพอย่างครบวงจร ตามที่กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเสนอ แล้วให้ดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไปกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายงานว่า ได้ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สรุปได้ดังนี้
ข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษา ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. ด้านความปลอดภัยอาหาร 1. ด้านความปลอดภัยอาหาร
รัฐควรให้ความสำคัญกับมาตรฐานความ เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ โดย
ปลอดภัยในการผลิตอาหาร และสร้าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) และ
จิตสำนึกให้ผู้ประกอบการการผลิตอาหาร กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เป็นสองกระทรวง
รับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค หลักที่มีบทบาทสำคัญ ในการกำหนดและรับรอง
มาตรฐานความปลอดภัย โดย กษ.รับผิดชอบด้าน
สินค้าอาหารส่งออกและฟาร์มและมียุทธศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหาร 5 ด้าน
ส่วน สธ.รับผิดชอบสินค้าอาหารที่จำหน่ายภายใน
ประเทศ และมีแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 5
ด้าน ทั้งนี้ได้มีการประสานงานและดำเนินงาน
ด้านความปลอดดภัยอาหารร่วมกับกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงพาณิชย์ด้วย
2. ด้านวัตถุดิบและการผลิต 2. ด้านวัตถุดิบและการผลิต
รัฐควรสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในด้าน เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ โดย
การให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยวัตถุดิบ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีแผนการดำเนินงาน
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนา ส่งเสริมการจัดการฟาร์มให้ได้มาตรฐาน GAP โดย
คุณภาพ และศึกษาอุปสงค์ อุปทาน เพื่อจัดทำ ขณะนี้มีฟาร์มที่ได้รับการรับรองแล้ว มากกว่า
เขตเพาะปลูก (Zoning) และสนับสนุน 40,000 ฟาร์ม รวมไปถึงการจัดทำมาตรฐานการ
การจัดทำสัญญาเพื่อประกันความสม่ำเสมอ เพาะปลูกกับพืช 12 ชนิด ที่ส่งออกไป 20 กว่า
ของวัตถุดิบ (Contract Farming) ระหว่าง ประเทศ และ 21 ชนิด สำหรับส่งออกประเทศ
โรงงานกับเกษตรกร ญี่ปุ่น ในด้านการทำ Zoning กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ได้นำระบบ GIS มาใช้พิจารณา
ความเหมาะสมในการเพาะปลูกพืชแต่ละชนิดใน
พื้นที่แต่ละแห่งของประเทศ ได้มีการนำข้อมูลที่ได้
จากการรวบรวมของกระทรวงพาณิชย์ (พณ.)
มาใช้พิจารณาและดำเนินการด้วย สำหรับเรื่อง
Contract Faming กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้สนับสนุนให้มีการสร้างระบบฟาร์มที่มีมาตรฐาน
และนำระบบการกำหนดรหัส (Code) เพื่อใช้ใน
การบ่งชีและเชื่อมโยงแหล่งที่มาของผลิตผลทาง
การเกษตรสำหรับการจัดทำระบบตรวจสอบย้อน
กลับ (traceabilty) ขณะนี้ได้ดำเนินการกับ
กระเจี๊ยวเขียวและหน่อไม้ฝรั่งแล้วและกำลัง
ดำเนินการในพืชอื่นๆ ต่อไป ในส่วนของกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้วิจัยและพัฒนา
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตอาหารใหม่ๆ ที่ตรงกับ
ความต้องการของผู้บริโภคและการผลิตเครื่องมือ
เครื่องจักรที่สามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพสินค้า
และประสิทธิภาพการผลิต นอกจากนี้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องยังมีการดำเนินงานร่วมกับแบบบูรณาการ
เพื่อผลักดันและส่งเสริมให้ผู้ผลิตอาหารมีการใช้
ระบบมาตรฐาน GMP, HACCP ในการผลิตผลิตภัณฑ์
อาหารอย่างทั่วถึง และจะมีการวางแผนการผลิต
และการตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร โดยอาศัยข้อ
มูลซึ่งกระทรวงพาณิชย์จัดทำไว้ด้วย
3. ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3. ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
รัฐควรจัดทำแผนหลักเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ และ
ด้านอาหารของประเทศ โดยให้ตรงกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เสนอ
ความต้องการของผู้บริโภคทั้งในด้าน ปัญหาด้านบรรจุภัณฑ์เพิ่มเติม ทั้งนี้ ได้มีการ
คุณภาพ ราคาและรูปแบบ ประสานกับหน่วยงานอื่นๆ จัดทำแผนหลักเพื่อพัฒนา
บรรจุภัณฑ์ด้านอาหาร และกระทรวงศึกษาธิการ
(ศธ.) จะมีหน้าที่เพิ่มการผลิตบุคลากรด้าน
บรรจุภัณฑ์ที่กำลังขาดแคลนให้มีปริมาณและคุณภาพ
ให้เพียงพอต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
4. ด้านองค์กรของรัฐ 4. ด้านองค์กรของรัฐ
4.1 รัฐควรให้ความสำคัญกับหน่ายงานที่ เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ และได้
กำหนดมาตรฐานและรับรองสินค้าเกษตร มีการวางแผนและดำเนินงานในทิศทางที่สอดคล้อง
และอาหาร และ เร่งรัดจัดตั้งห้องปฏิบัติ กับข้อเสนอแนะ ซึ่งปัจจุบันได้มีการจัดตั้ง ห้อง
การกลาง เพื่อให้บริการตรวจรับรอง ปฏิบัติการกลางในรูปแบบองค์กรมหาชนที่มีการ
คุณภาพสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อการ ดำเนินงานอยู่ภายใต้ การควบคุมของรัฐ ทำให้
ส่งออกให้เร็วขึ้น การให้บริการตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าเกษตร
4.2 รัฐควรจัดให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ และอาหารเพื่อการส่งออกมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น
ตรงกับความต้องการของผู้ประกอบการ หน่วยงานเกี่ยวข้องได้เสนอเพิ่มเติม ให้มีการจัด
4.3 รัฐควรเพิ่มการผลิตบุคลากรด้าน ตั้งนโยบายที่มีความเป็นเอกภาพ (Single
วิทยาศาสตร์อาหารและวิศวกรรม Policy) ในการกำหนดมาตรฐานและการรับรอง
อุตสาหกรรมอาหารให้เพียงพอ สินค้าเกษตรและอาหารให้มีมาตรฐานและปลอดภัย
นอกจากนี้รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณเพื่อ
สนับสนุนการวิจัยองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับด้านความปลอดภัยให้มาก
ยิ่งขึ้น เพื่อป้องกันการถูกกีดกันทางการค้าและ
สามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก กระทรวง
สาธารณสุขยังเห็นควรให้มีการผลิตบุคลากร
วิศวกรรมอาหารให้มากยิ่งขึ้น ตลอดจนปรับปรุง
หลักสูตรการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมอาหารให้
ตรงต่อความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรม
อาหารได้อย่างแท้จริง
5. ด้านการส่งออกและการตลาด 5. ด้านการส่งออกและการตลาด
5.1 รัฐต้องศึกษา กฎระเบียบการนำเข้า ได้มีการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของหลายหน่วย
ของประเทศต่างๆ และเผยแพร่แก่ งาน และได้เจรจา เพื่อจัดทำเขตการค้าเสรี
ภาคเอกชนเพื่อให้เป็นข้อมูลตอบสนอง (Free Trade Area : FTA) กับ 8 ประเทศ
ความต้องการของตลาด และ 1 กลุ่มโดยได้มีการลงนามในกรอบความตกลง
5.2 รัฐควรส่งเสริมระบบการขนส่งสินค้า แล้ว 4 ประเทศ ได้แก่ จีน บาห์เรน อินเดีย และ
อุตสาหกรรมอาหารให้มีต้นทุนต่ำและ เปรู กับอีก 1 กลุ่มประเทศ คือ BIMST-EC
เอื้อต่อการส่งออก (บังกลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย ภูฏาน
และเนปาล) ส่วนออสเตรเลียได้เจรจาเสร็จแล้ว
คาดว่าจะลงนามได้ในกลางปีนี้ และในปี 2547
จะมีการเจรจาอย่างจริงจังกับอีก 3 ประเทศ
ได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์ เพื่อสร้าง
พันธมิตรทางการค้าเพิ่มโอกาส ในการขยายการค้า
และการลงทุน รวมทั้งให้ประเทศคู่เจรจาเป็น
ประตูการค้าเข้าสู่ประเทศต่างๆ ในบริเวณ
ใกล้เคียง และขยายการส่งออกไปสู่ตลาดใหม่ที่มี
ศักยภาพ
6. ด้านโรคระบาดในสัตว์ 6. ด้านโรคระบาดในสัตว์
6.1 รัฐต้องจัดให้มีระบบการเตือนภัยและ กรมปศุสัตว์มีมาตรการในการควบคุมการแพร่ระบาด
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารด้านโรคระบาด ของโรคสัตว์ โดยในการเคลื่อนย้ายสัตว์และซาก
ในสัตว์ สัตว์ทั้งในราชอาณาจักรและระหว่างประเทศต้องได้
6.2 เพิ่มการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับการอนุญาตจากกรมปศุสัตว์ซึ่งมีระเบียบและการ
ในการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบความปลอดภัยทุกขั้นตอนทั้งก่อนและหลังฆ่า
อาหารจากสัตว์ก่อนนำออกจำหน่าย นอกเหนือจากนี้ก็ได้ดำเนินงานเป็นไปตามข้อเสนอ
6.3 กำหนดให้ผู้ผลิตต้องแจ้งที่มาของผลิตภัณฑ์ แนะตลอดมา ทั้งระบบการเตือนภัย เปิดเผยข้อมูล
จากสัตว์ที่วางจำหน่าย รวมไปถึงกระทรวงสาธารณสุขยังได้ทำหน้าที่ในการ
ควบคุมดูแลตรวจสอบให้ผู้ผลิตต้องแจ้งที่มาของ
ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากสัตว์ โดยให้แสดงใน
ฉลากตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติเรื่องฉลากด้วย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 9 พฤศจิกายน 2547--จบ--
-กภ-
เรื่อง ปัญหาในอุตสาหกรรมอาหารและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อเพิ่มศักยภาพอย่างครบวงจร
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานหรือผลการพิจารณาของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่องปัญหาในอุตสาหกรรมอาหารและการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพอย่างครบวงจร ตามที่กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเสนอ แล้วให้ดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไปกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายงานว่า ได้ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สรุปได้ดังนี้
ข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษา ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. ด้านความปลอดภัยอาหาร 1. ด้านความปลอดภัยอาหาร
รัฐควรให้ความสำคัญกับมาตรฐานความ เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ โดย
ปลอดภัยในการผลิตอาหาร และสร้าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) และ
จิตสำนึกให้ผู้ประกอบการการผลิตอาหาร กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เป็นสองกระทรวง
รับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค หลักที่มีบทบาทสำคัญ ในการกำหนดและรับรอง
มาตรฐานความปลอดภัย โดย กษ.รับผิดชอบด้าน
สินค้าอาหารส่งออกและฟาร์มและมียุทธศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหาร 5 ด้าน
ส่วน สธ.รับผิดชอบสินค้าอาหารที่จำหน่ายภายใน
ประเทศ และมีแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 5
ด้าน ทั้งนี้ได้มีการประสานงานและดำเนินงาน
ด้านความปลอดดภัยอาหารร่วมกับกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงพาณิชย์ด้วย
2. ด้านวัตถุดิบและการผลิต 2. ด้านวัตถุดิบและการผลิต
รัฐควรสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในด้าน เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ โดย
การให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยวัตถุดิบ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีแผนการดำเนินงาน
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนา ส่งเสริมการจัดการฟาร์มให้ได้มาตรฐาน GAP โดย
คุณภาพ และศึกษาอุปสงค์ อุปทาน เพื่อจัดทำ ขณะนี้มีฟาร์มที่ได้รับการรับรองแล้ว มากกว่า
เขตเพาะปลูก (Zoning) และสนับสนุน 40,000 ฟาร์ม รวมไปถึงการจัดทำมาตรฐานการ
การจัดทำสัญญาเพื่อประกันความสม่ำเสมอ เพาะปลูกกับพืช 12 ชนิด ที่ส่งออกไป 20 กว่า
ของวัตถุดิบ (Contract Farming) ระหว่าง ประเทศ และ 21 ชนิด สำหรับส่งออกประเทศ
โรงงานกับเกษตรกร ญี่ปุ่น ในด้านการทำ Zoning กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ได้นำระบบ GIS มาใช้พิจารณา
ความเหมาะสมในการเพาะปลูกพืชแต่ละชนิดใน
พื้นที่แต่ละแห่งของประเทศ ได้มีการนำข้อมูลที่ได้
จากการรวบรวมของกระทรวงพาณิชย์ (พณ.)
มาใช้พิจารณาและดำเนินการด้วย สำหรับเรื่อง
Contract Faming กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้สนับสนุนให้มีการสร้างระบบฟาร์มที่มีมาตรฐาน
และนำระบบการกำหนดรหัส (Code) เพื่อใช้ใน
การบ่งชีและเชื่อมโยงแหล่งที่มาของผลิตผลทาง
การเกษตรสำหรับการจัดทำระบบตรวจสอบย้อน
กลับ (traceabilty) ขณะนี้ได้ดำเนินการกับ
กระเจี๊ยวเขียวและหน่อไม้ฝรั่งแล้วและกำลัง
ดำเนินการในพืชอื่นๆ ต่อไป ในส่วนของกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้วิจัยและพัฒนา
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตอาหารใหม่ๆ ที่ตรงกับ
ความต้องการของผู้บริโภคและการผลิตเครื่องมือ
เครื่องจักรที่สามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพสินค้า
และประสิทธิภาพการผลิต นอกจากนี้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องยังมีการดำเนินงานร่วมกับแบบบูรณาการ
เพื่อผลักดันและส่งเสริมให้ผู้ผลิตอาหารมีการใช้
ระบบมาตรฐาน GMP, HACCP ในการผลิตผลิตภัณฑ์
อาหารอย่างทั่วถึง และจะมีการวางแผนการผลิต
และการตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร โดยอาศัยข้อ
มูลซึ่งกระทรวงพาณิชย์จัดทำไว้ด้วย
3. ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3. ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
รัฐควรจัดทำแผนหลักเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ และ
ด้านอาหารของประเทศ โดยให้ตรงกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เสนอ
ความต้องการของผู้บริโภคทั้งในด้าน ปัญหาด้านบรรจุภัณฑ์เพิ่มเติม ทั้งนี้ ได้มีการ
คุณภาพ ราคาและรูปแบบ ประสานกับหน่วยงานอื่นๆ จัดทำแผนหลักเพื่อพัฒนา
บรรจุภัณฑ์ด้านอาหาร และกระทรวงศึกษาธิการ
(ศธ.) จะมีหน้าที่เพิ่มการผลิตบุคลากรด้าน
บรรจุภัณฑ์ที่กำลังขาดแคลนให้มีปริมาณและคุณภาพ
ให้เพียงพอต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
4. ด้านองค์กรของรัฐ 4. ด้านองค์กรของรัฐ
4.1 รัฐควรให้ความสำคัญกับหน่ายงานที่ เห็นชอบต่อข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาฯ และได้
กำหนดมาตรฐานและรับรองสินค้าเกษตร มีการวางแผนและดำเนินงานในทิศทางที่สอดคล้อง
และอาหาร และ เร่งรัดจัดตั้งห้องปฏิบัติ กับข้อเสนอแนะ ซึ่งปัจจุบันได้มีการจัดตั้ง ห้อง
การกลาง เพื่อให้บริการตรวจรับรอง ปฏิบัติการกลางในรูปแบบองค์กรมหาชนที่มีการ
คุณภาพสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อการ ดำเนินงานอยู่ภายใต้ การควบคุมของรัฐ ทำให้
ส่งออกให้เร็วขึ้น การให้บริการตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าเกษตร
4.2 รัฐควรจัดให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ และอาหารเพื่อการส่งออกมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น
ตรงกับความต้องการของผู้ประกอบการ หน่วยงานเกี่ยวข้องได้เสนอเพิ่มเติม ให้มีการจัด
4.3 รัฐควรเพิ่มการผลิตบุคลากรด้าน ตั้งนโยบายที่มีความเป็นเอกภาพ (Single
วิทยาศาสตร์อาหารและวิศวกรรม Policy) ในการกำหนดมาตรฐานและการรับรอง
อุตสาหกรรมอาหารให้เพียงพอ สินค้าเกษตรและอาหารให้มีมาตรฐานและปลอดภัย
นอกจากนี้รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณเพื่อ
สนับสนุนการวิจัยองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับด้านความปลอดภัยให้มาก
ยิ่งขึ้น เพื่อป้องกันการถูกกีดกันทางการค้าและ
สามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก กระทรวง
สาธารณสุขยังเห็นควรให้มีการผลิตบุคลากร
วิศวกรรมอาหารให้มากยิ่งขึ้น ตลอดจนปรับปรุง
หลักสูตรการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมอาหารให้
ตรงต่อความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรม
อาหารได้อย่างแท้จริง
5. ด้านการส่งออกและการตลาด 5. ด้านการส่งออกและการตลาด
5.1 รัฐต้องศึกษา กฎระเบียบการนำเข้า ได้มีการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของหลายหน่วย
ของประเทศต่างๆ และเผยแพร่แก่ งาน และได้เจรจา เพื่อจัดทำเขตการค้าเสรี
ภาคเอกชนเพื่อให้เป็นข้อมูลตอบสนอง (Free Trade Area : FTA) กับ 8 ประเทศ
ความต้องการของตลาด และ 1 กลุ่มโดยได้มีการลงนามในกรอบความตกลง
5.2 รัฐควรส่งเสริมระบบการขนส่งสินค้า แล้ว 4 ประเทศ ได้แก่ จีน บาห์เรน อินเดีย และ
อุตสาหกรรมอาหารให้มีต้นทุนต่ำและ เปรู กับอีก 1 กลุ่มประเทศ คือ BIMST-EC
เอื้อต่อการส่งออก (บังกลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย ภูฏาน
และเนปาล) ส่วนออสเตรเลียได้เจรจาเสร็จแล้ว
คาดว่าจะลงนามได้ในกลางปีนี้ และในปี 2547
จะมีการเจรจาอย่างจริงจังกับอีก 3 ประเทศ
ได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์ เพื่อสร้าง
พันธมิตรทางการค้าเพิ่มโอกาส ในการขยายการค้า
และการลงทุน รวมทั้งให้ประเทศคู่เจรจาเป็น
ประตูการค้าเข้าสู่ประเทศต่างๆ ในบริเวณ
ใกล้เคียง และขยายการส่งออกไปสู่ตลาดใหม่ที่มี
ศักยภาพ
6. ด้านโรคระบาดในสัตว์ 6. ด้านโรคระบาดในสัตว์
6.1 รัฐต้องจัดให้มีระบบการเตือนภัยและ กรมปศุสัตว์มีมาตรการในการควบคุมการแพร่ระบาด
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารด้านโรคระบาด ของโรคสัตว์ โดยในการเคลื่อนย้ายสัตว์และซาก
ในสัตว์ สัตว์ทั้งในราชอาณาจักรและระหว่างประเทศต้องได้
6.2 เพิ่มการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับการอนุญาตจากกรมปศุสัตว์ซึ่งมีระเบียบและการ
ในการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบความปลอดภัยทุกขั้นตอนทั้งก่อนและหลังฆ่า
อาหารจากสัตว์ก่อนนำออกจำหน่าย นอกเหนือจากนี้ก็ได้ดำเนินงานเป็นไปตามข้อเสนอ
6.3 กำหนดให้ผู้ผลิตต้องแจ้งที่มาของผลิตภัณฑ์ แนะตลอดมา ทั้งระบบการเตือนภัย เปิดเผยข้อมูล
จากสัตว์ที่วางจำหน่าย รวมไปถึงกระทรวงสาธารณสุขยังได้ทำหน้าที่ในการ
ควบคุมดูแลตรวจสอบให้ผู้ผลิตต้องแจ้งที่มาของ
ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากสัตว์ โดยให้แสดงใน
ฉลากตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติเรื่องฉลากด้วย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 9 พฤศจิกายน 2547--จบ--
-กภ-