ทำเนียบรัฐบาล--3 ส.ค.--บิสนิวส์
คณะรัฐมนตรีรับทราบและมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินการเมื่อร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. .... มีผลใช้บังคับ ตามที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอ ดังนี้
1. เรื่องที่จะต้องดำเนินการในทันทีที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2542)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
1. จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษา มีลักษณะเป็นองค์การมหาชนเฉพาะกิจที่จัดตั้งขึ้นโดย สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
พระราชกฤษฎีกาที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน มีกำหนดเวลาการ ทบวงมหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.และ
ทำงาน 3 ปี ทำหน้าที่เสนอการจัดโครงสร้าง องค์กร การแบ่งส่วนงาน การจัดระบบครู สำนักงบประมาณ
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา การจัดระบบทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา
เสนอแนะเกี่ยวกับการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการดำเนินการข้างต้น และเสนอแนะ
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบและคำสั่งที่บังคับใช้อยู่ให้สอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติ
2. ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา จำนวน 15 คน กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย
ทำหน้าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
สำนักงบประมาณ คณะกรรมการสรรหา
คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูป
การศึกษา
2. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 1 ปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2543)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
1. ออกกฎกระทรวงเพื่อแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
2. ออกกฎกระทรวงเพื่อการแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือ ทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานปฏิรูป
การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษา
3. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 3 ปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2545)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
1. สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
(1) ต้องจัดการศึกษา โดยจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น ทบวงมหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.และ
พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ
(2) ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนใน
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษา
ภาคบังคับ
(* กรณีตามข้อ 1. (1) และ (2) มีกำหนดไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยใช้บังคับ เมื่อรัฐธรรมนูญฯ ใช้บังคับเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 จึงมี
กำหนดต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 11 ตุลาคม 2545 ซึ่งมีกำหนดเวลานับจาก
ปัจจุบัน 3 ปี เช่นกัน จึงนำมากล่าวถึงในที่นี้)
2. จัดระบบการบริหารและการจัดการศึกษาตามบทบัญญัติแห่งร่างพระราชบัญญัติ สำนักงานปฏิรูปการศึกษา สำนักนายก
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... ซึ่งประกอบไปด้วย รัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
(1) การยุบกระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการ ทบวงมหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.
การศึกษาแห่งชาติ แล้วจัดตั้งเป็นกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และสำนักงบประมาณ
(2) จัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การ
มหาชน มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนด
(3) จัดตั้งสภาและคณะกรรมการจำนวน 4 องค์กร ภายในกระทรวงศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ได้แก่ สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และคณะกรรมการการศาสนาและ
วัฒนธรรม และจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ
และสำนักงานคณะกรรมการแต่ละคณะ โดยให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล
(4) จัดตั้งสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และอาจจัดเป็น
ส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ ยกเว้นสถานศึกษาเฉพาะทาง
(5) การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญา
โดยยึดเขตพื้นที่การศึกษา
(6) การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
(7) การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(8) การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
3. การจัดระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
(1) การจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการจัดตั้ง
กองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
(2) การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะ
เป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพในกำกับของกระทรวงศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
(3) การจัดตั้งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
(4) การให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์
เกื้อกูลอื่น
(5) การแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 และพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. 2521
4. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 5 ปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2547)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
ปรับปรุงแก้ไขบรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งเกี่ยวกับ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
การศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ที่ใช้บังคับอยู่เดิมให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่ง ทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานปฏิรูป
ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... การศึกษา (เฉพาะในช่วง 3 ปีแรก) และ
กระทรวงศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ในช่วง 2 ปี หลัง)
5. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 6 ปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2548)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลภายนอกครั้งแรกของสถานศึกษาทุกแห่ง กระทรวงการศึกษาธิการ ศาสนาและวัฒนธรรม
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 3 สิงหาคม 2542--
คณะรัฐมนตรีรับทราบและมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินการเมื่อร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. .... มีผลใช้บังคับ ตามที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอ ดังนี้
1. เรื่องที่จะต้องดำเนินการในทันทีที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2542)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
1. จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษา มีลักษณะเป็นองค์การมหาชนเฉพาะกิจที่จัดตั้งขึ้นโดย สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
พระราชกฤษฎีกาที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน มีกำหนดเวลาการ ทบวงมหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.และ
ทำงาน 3 ปี ทำหน้าที่เสนอการจัดโครงสร้าง องค์กร การแบ่งส่วนงาน การจัดระบบครู สำนักงบประมาณ
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา การจัดระบบทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา
เสนอแนะเกี่ยวกับการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการดำเนินการข้างต้น และเสนอแนะ
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบและคำสั่งที่บังคับใช้อยู่ให้สอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติ
2. ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา จำนวน 15 คน กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย
ทำหน้าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
สำนักงบประมาณ คณะกรรมการสรรหา
คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูป
การศึกษา
2. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 1 ปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2543)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
1. ออกกฎกระทรวงเพื่อแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
2. ออกกฎกระทรวงเพื่อการแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือ ทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานปฏิรูป
การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษา
3. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 3 ปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2545)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
1. สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
(1) ต้องจัดการศึกษา โดยจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น ทบวงมหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.และ
พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ
(2) ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนใน
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษา
ภาคบังคับ
(* กรณีตามข้อ 1. (1) และ (2) มีกำหนดไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยใช้บังคับ เมื่อรัฐธรรมนูญฯ ใช้บังคับเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 จึงมี
กำหนดต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 11 ตุลาคม 2545 ซึ่งมีกำหนดเวลานับจาก
ปัจจุบัน 3 ปี เช่นกัน จึงนำมากล่าวถึงในที่นี้)
2. จัดระบบการบริหารและการจัดการศึกษาตามบทบัญญัติแห่งร่างพระราชบัญญัติ สำนักงานปฏิรูปการศึกษา สำนักนายก
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... ซึ่งประกอบไปด้วย รัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
(1) การยุบกระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการ ทบวงมหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.
การศึกษาแห่งชาติ แล้วจัดตั้งเป็นกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และสำนักงบประมาณ
(2) จัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การ
มหาชน มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนด
(3) จัดตั้งสภาและคณะกรรมการจำนวน 4 องค์กร ภายในกระทรวงศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ได้แก่ สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และคณะกรรมการการศาสนาและ
วัฒนธรรม และจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ
และสำนักงานคณะกรรมการแต่ละคณะ โดยให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล
(4) จัดตั้งสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และอาจจัดเป็น
ส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ ยกเว้นสถานศึกษาเฉพาะทาง
(5) การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญา
โดยยึดเขตพื้นที่การศึกษา
(6) การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
(7) การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(8) การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
3. การจัดระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
(1) การจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการจัดตั้ง
กองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
(2) การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะ
เป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพในกำกับของกระทรวงศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
(3) การจัดตั้งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
(4) การให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์
เกื้อกูลอื่น
(5) การแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 และพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. 2521
4. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 5 ปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2547)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
ปรับปรุงแก้ไขบรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งเกี่ยวกับ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
การศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ที่ใช้บังคับอยู่เดิมให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่ง ทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานปฏิรูป
ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... การศึกษา (เฉพาะในช่วง 3 ปีแรก) และ
กระทรวงศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ในช่วง 2 ปี หลัง)
5. เรื่องที่จะต้องดำเนินการภายใน 6 ปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ (ประมาณสิงหาคม 2548)
เรื่องที่ต้องดำเนินการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลภายนอกครั้งแรกของสถานศึกษาทุกแห่ง กระทรวงการศึกษาธิการ ศาสนาและวัฒนธรรม
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 3 สิงหาคม 2542--