ทำเนียบรัฐบาล--6 ม.ค.--บิสนิวส์
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่ทบวงมหาวิทยาลัยเสนอ ให้มีการผ่อนผันหลักเกณฑ์ในโครงการสนับสนุนการจัดตั้งสถานศึกษา
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 เนื่องจากหลักเกณฑ์สำหรับผู้ที่จะใช้เงินในโครงการดังกล่าวเป็นอุปสรรคทำให้ไม่
สามารถดึงดูดให้เอกชนมีความสนใจมาลงทุนในการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จึงเห็นสมควรให้มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์เพื่อผ่อน
คลายหลักเกณฑ์และดึงดูดให้เอกชนสนใจการลงทุนในเรื่องนี้ ตามหลักเกณฑ์และการขอผ่อนผัน ดังนี้
หลักเกณฑ์เดิม ขอผ่อนผัน
1 ดำเนินกิจการในรูปของนิติบุคคล ---
2 มีที่ตั้งสถานศึกษาอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานครและ ขอให้สถาบันอุดมศึกษาในเขตปริมณฑลก็ได้
ปริมณฑล และสำหรับกรณีที่เป็นสถานศึกษาที่มีอยู่ แต่ต้องให้ความสำคัญกับจังหวัดอื่นๆ ก่อน
แล้วและประสงค์จะเข้าโครงการนี้โดยการขยาย
สาขาหรือเพิ่มวิทยาเขต จะต้องมีที่ตั้งของสาขา
หรือวิทยาเขตอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร และ
ปริมณฑล
3 จัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาหรืออุดม ขอให้โรงเรียนที่สอนชั้นอนุบาล ประถม มี
ศึกษา(ทั้งสายสามัญและอาชีวะโดยจะมีการเรียน สิทธิกู้ได้ด้วยแต่ให้ความสำคัญแก่โรงเรียน
การสอนในระดับต่ำกว่ามัธยมศึกษาด้วย หรือไม่ก็ มัธยมขึ้นไปก่อน
ได้) จัดให้มีหลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพตามประเภท
และหลักเกณฑ์ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
4 มีมาตรฐานการเรียนการสอนสูง สถานศึกษาที่มีมาตรฐานการเรียนการสอน
สูง (สถานศึกษาที่ตั้งอยู่แล้ว) ให้หมายถึง
1) ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพจาก
สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษา
เอกชน (สช.)
2) ได้รับรางวัล พระราชทาน ตามเกณฑ์
ของกระทรวงศึกษาธิการ
3) ได้รับความนิยมสูง มีความมั่นคง มีนัก
เรียนมาก ตั้งแต่ 1,000 คน ขึ้นไป
โดยให้ สช.นำเกณฑ์การรับรองมาตร
ฐานฯ ของ สช. ไปวัดคุณภาพด้วย
4) สถาบันอุดมศึกษา ที่มีประสิทธิภาพจัด
การเรียนการสอนที่เป็น ไปตามพระ
ราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระ
ราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535
5 สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนโดยเน้นสาขา --
วิชาชีพที่ขาดแคลน ทั้งในระดับมัธยมศึกษา และ
ระดับอุดมศึกษา รวมทั้งสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพ
จะได้รับพิจารณาให้การสนับสนุนเป็นกรณีพิเศษ
6 ต้องมีนักเรียน นักศึกษา ที่ถือสัญชาติไทยไม่น้อย สำหรับในระดับอุดมศึกษาให้มีนักเรียนไทย
กว่าร้อยละ 80 ของจำนวน นักเรียน นักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ทั้งสิ้นของสถานศึกษานั้น ๆ
7 ต้องให้ทุนการศึกษาแก่ นักเรียน นักศึกษาที่มา การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนระดับมัธยม
จากครอบครัวที่มีรายได้น้อย(ตามเกณฑ์ของกอง ปลาย และอาชีวศึกษาให้คงไว้ร้อยละ 5
ทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ในจำนวนไม่น้อย ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด แต่หากในโรง
กว่าร้อยละ 5 ของจำนวนนักเรียน นักศึกษาทั้ง เรียนไม่มีนักเรียนยากจน ก็ให้นำทุนนั้นไป
สิ้น โดยจะต้องเป็นทุนการศึกษาที่รวม ค่าเล่า ให้นักเรียนในโรงเรียนอื่นได้สำหรับระดับ
เรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ที่ อุดมศึกษานั้นในช่วง 5 ปีแรก กำหนดให้
สถานศึกษาเรียกเก็บจากนักเรียน นักศึกษาและ ทุนการศึกษาแก่ นักเรียน ร้อยละ 1 ของ
ให้รวมถึงค่าหนังสือ ตำราเรียน ด้วย จำนวนนักเรียนทั้งหมด
8 สัดส่วนเงินกู้ : เงินลงทุน(debt to equity) กำหนดสัดส่วนเงินกู้ : เงินลงทุน (debt
ไม่เกิน 1 : 1 to equity)จากเดิมไม่เกิน 1 : 1 ให้
ปรับเป็นไม่เกิน 40 : 60
9 กู้ลงทุนในทรัพย์สินถาวร ให้ชำระคืนในเวลา นอกจากการปลอดการชำระต้นเงินกู้ ไม่
ไม่เกิน 15 ปี โดยรวมระยะเวลาเวลาปลอด เกิน 5 ปีแล้ว ขอให้มีการปลอดดอกเบี้ย
การชำระต้นเงินกู้ไม่เกิน 5 ปี ช่วงที่กำลังดำเนินการก่อสร้างด้วย แต่ทั้ง
นี้ต้องไม่เกิน 2 ปี
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 6 มกราคม 2541--
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่ทบวงมหาวิทยาลัยเสนอ ให้มีการผ่อนผันหลักเกณฑ์ในโครงการสนับสนุนการจัดตั้งสถานศึกษา
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 เนื่องจากหลักเกณฑ์สำหรับผู้ที่จะใช้เงินในโครงการดังกล่าวเป็นอุปสรรคทำให้ไม่
สามารถดึงดูดให้เอกชนมีความสนใจมาลงทุนในการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จึงเห็นสมควรให้มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์เพื่อผ่อน
คลายหลักเกณฑ์และดึงดูดให้เอกชนสนใจการลงทุนในเรื่องนี้ ตามหลักเกณฑ์และการขอผ่อนผัน ดังนี้
หลักเกณฑ์เดิม ขอผ่อนผัน
1 ดำเนินกิจการในรูปของนิติบุคคล ---
2 มีที่ตั้งสถานศึกษาอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานครและ ขอให้สถาบันอุดมศึกษาในเขตปริมณฑลก็ได้
ปริมณฑล และสำหรับกรณีที่เป็นสถานศึกษาที่มีอยู่ แต่ต้องให้ความสำคัญกับจังหวัดอื่นๆ ก่อน
แล้วและประสงค์จะเข้าโครงการนี้โดยการขยาย
สาขาหรือเพิ่มวิทยาเขต จะต้องมีที่ตั้งของสาขา
หรือวิทยาเขตอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร และ
ปริมณฑล
3 จัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาหรืออุดม ขอให้โรงเรียนที่สอนชั้นอนุบาล ประถม มี
ศึกษา(ทั้งสายสามัญและอาชีวะโดยจะมีการเรียน สิทธิกู้ได้ด้วยแต่ให้ความสำคัญแก่โรงเรียน
การสอนในระดับต่ำกว่ามัธยมศึกษาด้วย หรือไม่ก็ มัธยมขึ้นไปก่อน
ได้) จัดให้มีหลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพตามประเภท
และหลักเกณฑ์ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
4 มีมาตรฐานการเรียนการสอนสูง สถานศึกษาที่มีมาตรฐานการเรียนการสอน
สูง (สถานศึกษาที่ตั้งอยู่แล้ว) ให้หมายถึง
1) ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพจาก
สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษา
เอกชน (สช.)
2) ได้รับรางวัล พระราชทาน ตามเกณฑ์
ของกระทรวงศึกษาธิการ
3) ได้รับความนิยมสูง มีความมั่นคง มีนัก
เรียนมาก ตั้งแต่ 1,000 คน ขึ้นไป
โดยให้ สช.นำเกณฑ์การรับรองมาตร
ฐานฯ ของ สช. ไปวัดคุณภาพด้วย
4) สถาบันอุดมศึกษา ที่มีประสิทธิภาพจัด
การเรียนการสอนที่เป็น ไปตามพระ
ราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระ
ราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535
5 สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนโดยเน้นสาขา --
วิชาชีพที่ขาดแคลน ทั้งในระดับมัธยมศึกษา และ
ระดับอุดมศึกษา รวมทั้งสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพ
จะได้รับพิจารณาให้การสนับสนุนเป็นกรณีพิเศษ
6 ต้องมีนักเรียน นักศึกษา ที่ถือสัญชาติไทยไม่น้อย สำหรับในระดับอุดมศึกษาให้มีนักเรียนไทย
กว่าร้อยละ 80 ของจำนวน นักเรียน นักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ทั้งสิ้นของสถานศึกษานั้น ๆ
7 ต้องให้ทุนการศึกษาแก่ นักเรียน นักศึกษาที่มา การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนระดับมัธยม
จากครอบครัวที่มีรายได้น้อย(ตามเกณฑ์ของกอง ปลาย และอาชีวศึกษาให้คงไว้ร้อยละ 5
ทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ในจำนวนไม่น้อย ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด แต่หากในโรง
กว่าร้อยละ 5 ของจำนวนนักเรียน นักศึกษาทั้ง เรียนไม่มีนักเรียนยากจน ก็ให้นำทุนนั้นไป
สิ้น โดยจะต้องเป็นทุนการศึกษาที่รวม ค่าเล่า ให้นักเรียนในโรงเรียนอื่นได้สำหรับระดับ
เรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ที่ อุดมศึกษานั้นในช่วง 5 ปีแรก กำหนดให้
สถานศึกษาเรียกเก็บจากนักเรียน นักศึกษาและ ทุนการศึกษาแก่ นักเรียน ร้อยละ 1 ของ
ให้รวมถึงค่าหนังสือ ตำราเรียน ด้วย จำนวนนักเรียนทั้งหมด
8 สัดส่วนเงินกู้ : เงินลงทุน(debt to equity) กำหนดสัดส่วนเงินกู้ : เงินลงทุน (debt
ไม่เกิน 1 : 1 to equity)จากเดิมไม่เกิน 1 : 1 ให้
ปรับเป็นไม่เกิน 40 : 60
9 กู้ลงทุนในทรัพย์สินถาวร ให้ชำระคืนในเวลา นอกจากการปลอดการชำระต้นเงินกู้ ไม่
ไม่เกิน 15 ปี โดยรวมระยะเวลาเวลาปลอด เกิน 5 ปีแล้ว ขอให้มีการปลอดดอกเบี้ย
การชำระต้นเงินกู้ไม่เกิน 5 ปี ช่วงที่กำลังดำเนินการก่อสร้างด้วย แต่ทั้ง
นี้ต้องไม่เกิน 2 ปี
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 6 มกราคม 2541--