ทำเนียบรัฐบาล--24 พ.ย.--บิสนิวส์
คณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจให้ความเห็นชอบแนวทางการแก้ไข ปรับปรุง กฎ ระเบียบ มาตรการ
ต่าง ๆ ของหน่วยราชการที่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ ทั้ง
มาตรการระยะสั้นและระยะยาว โดยมอบหมายให้กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรมรับไปพิจารณาดำเนินการ ดังนี้
1. มาตรการระยะสั้น ให้ดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 30 วัน ดังนี้
เรื่อง แนวทางในการแก้ไข หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. เรื่องการแก้ไขบัญชีประจำ เห็นควรให้กรมป่าไม้พิจารณาแก้ไขข้อกำหนด ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2525) กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
โรงงานแปรรูปไม้ยางพารา ออกตามความใน พรบ.ป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ว่าด้วยการควบคุม และสหกรณ์
สำหรับผู้ประกอบการ การตั้งโรงงานแปรรูปไม้ โดยใช้เครื่องจักรเพื่อทำการแปรรูปไม้
อุตสาหกรรมไม้ยางพารา ยางพารา โดยให้ยกเลิกความในข้อ 9 แห่งข้อกำหนดดังกล่าว
2. เรื่องหนังสือกำกับไม้ยางพารา เห็นควรให้กรมป่าไม้พิจารณายกเลิกประกาศกรมป่าไม้ เรื่องการให้ผู้ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
แปรรูป รับอนุญาตตั้งโรงงานแปรรูปไม้ โดยใช้เครื่องจักรเพื่อการแปรรูปไม้ และสหกรณ์
ยางพารา
3. เรื่องปัญหาอุปสรรคในการ เห็นควรให้กรมป่าไม้เปลี่ยนการอนุญาตทำการแปรรูปไม้ยางพาราเป็น กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ปฏิบัติงานของโรงงานไม้ ตลอด 24 ชม. และเห็นควรให้ปิดประตูทางเข้าออก โรงงานแปรรูป กระทรวงอุตสาหกรรม และ
ยางพาราแปรรูป ไม้ยางพาราได้ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
4. เรื่องการขออนุญาตตั้งโรงงาน เห็นควรให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม และกรมป่าไม้ พิจารณาเรื่องขั้น และสหกรณ์
แปรรูปไม้ และเรื่องการขอต่อ ตอนการขอตั้งโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราให้มีความสะดวกรวดเร็ว
ใบอนุญาตเป็นรายปี และให้กรมป่าไม้แก้ไขกฎกระทรวงฉบับที่ 25 (พ.ศ.2519) ว่าด้วย
การควบคุมแปรรูปไม้ โดยแก้ไขเรื่องการขอต่อใบอนุญาตจากทุก 1 ปี
เป็นขอต่อใบอนุญาตทุก 5 ปี
5. เรื่องการเรียกเก็บเงินค่า เห็นควรแก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2518) ออกตาม กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
ธรรมเนียม ความในพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ว่าด้วยอัตราค่าธรรม และสหกรณ์
เนียม ข้อ 2(9) กำหนดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตโรงงานแปรรูปไม้ยาง
พารา ซึ่งเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมในอัตรา แรงม้าละ 50 บาทเป็น
แรงม้าละ 0 บาท เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมเฟอร์
นิเจอร์ไม้ยางพารา เพื่อการส่งออกเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ
ซึ่งรัฐส่งเสริมโดยการคืนภาษีให้ ประกอบกับรายได้จากค่าธรรมเนียมดัง
กล่าวก็เป็นจำนวนไม่มาก
6. เรื่องเลื่อยโซ่ (เลื่อยยนต์) เห็นควรเสนอให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามลักลอบทำลาย กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
ทรัพยากรป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผ่อนผันให้โรงงานไม้ยาง และสหกรณ์
พาราแปรรูป สามารถขออนุญาตนำเข้าเลื่อยยนต์เข้ามาในราชอาณาจักร
ได้เป็นกรณีไปพลางก่อน จนกว่า พรบ.เลื่อยยนต์ จะมีผลบังคับใช้
2. มาตรการระยะยาว ให้เร่งดำเนินการและให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายงานคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
เศรษฐกิจทราบ ภายใน 90 วัน ดังนี้
เรื่อง แนวทางในการแก้ไข หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. พระราชบัญญัติป่าไม้ เห็นควรให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 โดย กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
พุทธศักราช 2484 เพิ่มอนุ (6) ในมาตรา 50 เรื่องการตั้งโรงงานแปรรูปไม้เพื่อแปร และสหกรณ์
รูปไม้จากไม้ที่ปลูกขึ้น
2. พระราชบัญญัติสวนป่า เห็นควรให้มีการผลักดันการแก้ไขพระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. .... กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
พ.ศ. 2535 ซึ่งขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสหกรณ์
เพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็ว
3. พระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ เห็นควรให้มีการผลักดันร่างพระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ พ.ศ. .... กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
พ.ศ. .... โดยให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับไปพิจารณาดำเนินการ และสหกรณ์
เพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็ว
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 24 พฤศจิกายน 2541--
คณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจให้ความเห็นชอบแนวทางการแก้ไข ปรับปรุง กฎ ระเบียบ มาตรการ
ต่าง ๆ ของหน่วยราชการที่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ ทั้ง
มาตรการระยะสั้นและระยะยาว โดยมอบหมายให้กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรมรับไปพิจารณาดำเนินการ ดังนี้
1. มาตรการระยะสั้น ให้ดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 30 วัน ดังนี้
เรื่อง แนวทางในการแก้ไข หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. เรื่องการแก้ไขบัญชีประจำ เห็นควรให้กรมป่าไม้พิจารณาแก้ไขข้อกำหนด ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2525) กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
โรงงานแปรรูปไม้ยางพารา ออกตามความใน พรบ.ป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ว่าด้วยการควบคุม และสหกรณ์
สำหรับผู้ประกอบการ การตั้งโรงงานแปรรูปไม้ โดยใช้เครื่องจักรเพื่อทำการแปรรูปไม้
อุตสาหกรรมไม้ยางพารา ยางพารา โดยให้ยกเลิกความในข้อ 9 แห่งข้อกำหนดดังกล่าว
2. เรื่องหนังสือกำกับไม้ยางพารา เห็นควรให้กรมป่าไม้พิจารณายกเลิกประกาศกรมป่าไม้ เรื่องการให้ผู้ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
แปรรูป รับอนุญาตตั้งโรงงานแปรรูปไม้ โดยใช้เครื่องจักรเพื่อการแปรรูปไม้ และสหกรณ์
ยางพารา
3. เรื่องปัญหาอุปสรรคในการ เห็นควรให้กรมป่าไม้เปลี่ยนการอนุญาตทำการแปรรูปไม้ยางพาราเป็น กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ปฏิบัติงานของโรงงานไม้ ตลอด 24 ชม. และเห็นควรให้ปิดประตูทางเข้าออก โรงงานแปรรูป กระทรวงอุตสาหกรรม และ
ยางพาราแปรรูป ไม้ยางพาราได้ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
4. เรื่องการขออนุญาตตั้งโรงงาน เห็นควรให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม และกรมป่าไม้ พิจารณาเรื่องขั้น และสหกรณ์
แปรรูปไม้ และเรื่องการขอต่อ ตอนการขอตั้งโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราให้มีความสะดวกรวดเร็ว
ใบอนุญาตเป็นรายปี และให้กรมป่าไม้แก้ไขกฎกระทรวงฉบับที่ 25 (พ.ศ.2519) ว่าด้วย
การควบคุมแปรรูปไม้ โดยแก้ไขเรื่องการขอต่อใบอนุญาตจากทุก 1 ปี
เป็นขอต่อใบอนุญาตทุก 5 ปี
5. เรื่องการเรียกเก็บเงินค่า เห็นควรแก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2518) ออกตาม กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
ธรรมเนียม ความในพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ว่าด้วยอัตราค่าธรรม และสหกรณ์
เนียม ข้อ 2(9) กำหนดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตโรงงานแปรรูปไม้ยาง
พารา ซึ่งเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมในอัตรา แรงม้าละ 50 บาทเป็น
แรงม้าละ 0 บาท เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมเฟอร์
นิเจอร์ไม้ยางพารา เพื่อการส่งออกเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ
ซึ่งรัฐส่งเสริมโดยการคืนภาษีให้ ประกอบกับรายได้จากค่าธรรมเนียมดัง
กล่าวก็เป็นจำนวนไม่มาก
6. เรื่องเลื่อยโซ่ (เลื่อยยนต์) เห็นควรเสนอให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามลักลอบทำลาย กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
ทรัพยากรป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผ่อนผันให้โรงงานไม้ยาง และสหกรณ์
พาราแปรรูป สามารถขออนุญาตนำเข้าเลื่อยยนต์เข้ามาในราชอาณาจักร
ได้เป็นกรณีไปพลางก่อน จนกว่า พรบ.เลื่อยยนต์ จะมีผลบังคับใช้
2. มาตรการระยะยาว ให้เร่งดำเนินการและให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายงานคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
เศรษฐกิจทราบ ภายใน 90 วัน ดังนี้
เรื่อง แนวทางในการแก้ไข หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. พระราชบัญญัติป่าไม้ เห็นควรให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 โดย กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
พุทธศักราช 2484 เพิ่มอนุ (6) ในมาตรา 50 เรื่องการตั้งโรงงานแปรรูปไม้เพื่อแปร และสหกรณ์
รูปไม้จากไม้ที่ปลูกขึ้น
2. พระราชบัญญัติสวนป่า เห็นควรให้มีการผลักดันการแก้ไขพระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. .... กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
พ.ศ. 2535 ซึ่งขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสหกรณ์
เพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็ว
3. พระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ เห็นควรให้มีการผลักดันร่างพระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ พ.ศ. .... กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร
พ.ศ. .... โดยให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับไปพิจารณาดำเนินการ และสหกรณ์
เพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็ว
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 24 พฤศจิกายน 2541--