ทำเนียบรัฐบาล--19 เม.ย.--บิสนิวส์
คณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจให้ความเห็นชอบมาตรการและแนวทางในการแก้ไขปัญหา
และกระตุ้นการส่งออกระยะเร่งด่วน ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ
โดยด่วน และให้นำผลการดำเนินการมารายงานต่อคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
เศรษฐกิจต่อไป ดังนี้
ประเด็นปัญหาของผู้ส่งออก มาตรการ หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะดำเนินการ
ปัญหาสภาพคล่อง
1. หลักเกณฑ์การจัดชั้นหนี้ที่ธนาคารแห่ง - พิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑ์การจัดชั้นหนี้มิให้ ธนาคารแห่งประเทศไทย ภายใน 1 เดือน
ประเทศไทยกำหนดไว้เข้มงวด ทำให้ เคร่งครัดจนเกินไป เช่น หลักเกณฑ์การ ธนาคารพาณิชย์
ธนาคารพาณิชย์ไม่กล้าปล่อยเงินกู้ ทั้งนี้ ขาดทุนจากการประกอบการติดต่อกัน 3 ปี ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า
เนื่องจากผู้ประกอบการส่วนใหญ่ประสบ ให้ถือว่าเป็น NPL ทั้ง ๆ ที่ลูกหนี้ได้มีการชำระ แห่งประเทศไทย
ปัญหา NPL ทำให้ขอสินเชื่อใหม่ไม่ได้ ดอกเบี้ยติดต่อกันเป็นประจำ
- ให้ผู้ประกอบการที่มี L/C หรือคำสั่งซื้ออยู่แล้ว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ขอสินเชื่อใหม่ได้ แม้ว่าจะมีปัญหา NPL
อยู่ก็ตาม
- สำหรับผู้ประกอบการ 800 กว่ารายที่ธนาคาร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
เพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยเคย ธนาคารพาณิชย์
ปฏิเสธการให้สินเชื่อเพราะมีปัญหา NPL ให้
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภา
หอการค้าแห่งประเทศไทยพิจารณาทบทวน
ใหม่ว่ารายใดสมควรที่จะปล่อยสินเชื่อให้แล้ว
เสนอให้ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่ง
- ประเทศไทยพิจารณาใหม่
2. ปัจจุบันการอนุมัติเงินกู้ Packing - ให้เพิ่มวงเงิน Packing Credit เป็นร้อยละ 90 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า ดำเนินการทันที
Credit ได้วงเงินน้อยเพียงร้อยละ 60 - ของ L/C แห่งประเทศไทย
70 ของ L/C ซึ่งไม่เพียงพอต่อธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์
ส่งออก
3. Credit Term ของสินเชื่อ Post- - ให้ขยายเวลา Credit Term จา 120 - 150 วัน ธนาคารพาณิชย์ ดำเนินการทันที
shipment Financing มีระยะเวลาสั้น เป็น 180 - 270 วัน
เกินไป เป็นอุปสรรคต่อการแข่งขัน ซึ่ง - ให้ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่ง ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า
ประเทศคู่แข่งให้เครดิตได้ถึง 180 - 270 ประเทศไทยช่วยรับซื้อตั๋ว PSF ของผู้ส่งออก แห่งประเทศไทย
วัน
4. ผู้ประกอบการค้าชายแดนประสบปัญหา - ให้ธนาคารพาณิชย์มอบอำนาจให้ผู้จัดการสาขา ธนาคารพาณิชย์ ดำเนินการทันที
การอนุมัติสินเชื่อของธนาคารล่าช้า เนื่อง ในจังหวัดชายแดน มีอำนาจในการอนุมัติ ธนาคารแห่งประเทศไทย
จากผู้จัดการสาขาในต่างจังหวัดไม่มี สินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจการค้าชายแดน สมาคมธนาคารไทย
อำนาจอนุมัติสินเชื่อ
5. การคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีตามมาตรา - ให้ผู้ที่มีปัญหาในการขอคืนภาษีแจ้งเรื่องไปที่ กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
19 ทวิ และเงินชดเชย ยังล่าช้า ทำให้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือสภา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ขาดเงินทุนหมุนเวียนกระทบต่อสภาพ หอการค้าแห่งประเทศไทย เพื่อรวบรวมเสนอ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
คล่องของผู้ผลิต และผู้ส่งออกโดย ต่อกรมสรรพากรหรือกระทรวงการคลัง
เฉพาะ SMEs
- ระยะเวลาการตรวจเอกสารของ - ให้กำหนดระยะเวลาการตรวจสอบเอกสาร กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เจ้าหน้าที่ไม่มีกำหนดที่แน่นอน ส่วน ขอคืนภาษีของเจ้าหน้าที่ให้ชัดเจน
ใหญ่ใช้เวลานาน จึงส่งผลต่อการคืน
ภาษี
- บัตรภาษีมีความยุ่งยากในการขอ - อนุมัติให้บัตรภาษี สามารถเปลี่ยนมือผู้ถือได้ กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เปลี่ยนมือผู้ถือ ทำให้ไม่สะดวกต่อการ โดยเสรี
นำไปใช้เป็นเครดิตเพื่อเสริมสภาพ
คล่อง
ประเด็นปัญหาของผู้ส่งออก มาตรการ หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะดำเนินการ
ประเด็นปัญหาโครงสร้างภาษี
1. อัตราภาษีนำเข้าวัตถุดิบอยู่ในระดับสูง - ให้มีการประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยว กระทรวงการคลัง ภายในมิถุนายน
กว่าประเทศคู่แข่ง ส่งผลต่อการแข่งขัน ข้องเร่งรัดดำเนินการปรับโครงสร้างภาษีใหม่ กระทรวงอุตสาหกรรม 2542
ทั้งระบบให้แล้วเสร็จโดยเร็ว กระทรวงพาณิชย์
- ฝ่ายราชการควรกำหนดนโยบายให้แน่ชัดว่า สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
ต้องการส่งเสริมอุตสาหกรรมประเภทใด การลงทุน
ต้นน้ำ กลางน้ำ หรือปลายน้ำ มิใช่ปล่อยให้
ภาคเอกชนไปตกลงกันเอง
2. ปัจจุบันอัตราเงินชดเชยมีอัตราต่ำเกินไป - ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินชดเชยให้เหมาะสม กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ รองเท้า และ สอดคล้องกับข้อเท็จจริง
อาหาร
3. การเก็บภาษีสรรพสามิตสินค้าส่งออก - ให้ยกเลิกการเก็บภาษีสรรพสามิตสินค้าที่ กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เช่น กลุ่มสินค้าเครื่องปรับอากาศ ส่งผล ส่งออก เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
ให้ต้นทุนสูง แข่งขันได้ยากขึ้น
4. การเก็บภาษีหัก ณ ที่จ่าย ของนิติบุคคล - ให้ปรับลดหรือยกเลิกการเก็บภาษีเงินได้หัก กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
จากการขายสินค้าเกษตร เช่น ข้าว ณ ที่จ่าย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
มันสำปะหลัง เป็นภาระต่อผู้ส่งออก
ซึ่งท้ายสุดจะถูกผลักภาระให้เกษตรกร
โดยการกดราคารับซื้อ
ประเด็นปัญหาอัตราแลกเปลี่ยน - ให้มีการดูแลค่าเงินให้มีเสถียรภาพ และมี กระทรวงการคลัง ดำเนินการ
ค่าเงินบาทที่ไม่มีเสถียรภาพจะส่งผลต่อ อัตราที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก ธนาคารแห่งประเทศไทย ต่อเนื่อง
การกำหนดราคาซื้อขายสินค้า ผู้ส่งออก ธนาคารพาณิชย์
ส่วนใหญ่เห็นควรให้ค่าเงินบาทอยู่ระหว่าง
38 - 40 บาท/เหรียญสหรัฐฯ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 19 เมษายน 2542--
คณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจให้ความเห็นชอบมาตรการและแนวทางในการแก้ไขปัญหา
และกระตุ้นการส่งออกระยะเร่งด่วน ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ
โดยด่วน และให้นำผลการดำเนินการมารายงานต่อคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
เศรษฐกิจต่อไป ดังนี้
ประเด็นปัญหาของผู้ส่งออก มาตรการ หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะดำเนินการ
ปัญหาสภาพคล่อง
1. หลักเกณฑ์การจัดชั้นหนี้ที่ธนาคารแห่ง - พิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑ์การจัดชั้นหนี้มิให้ ธนาคารแห่งประเทศไทย ภายใน 1 เดือน
ประเทศไทยกำหนดไว้เข้มงวด ทำให้ เคร่งครัดจนเกินไป เช่น หลักเกณฑ์การ ธนาคารพาณิชย์
ธนาคารพาณิชย์ไม่กล้าปล่อยเงินกู้ ทั้งนี้ ขาดทุนจากการประกอบการติดต่อกัน 3 ปี ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า
เนื่องจากผู้ประกอบการส่วนใหญ่ประสบ ให้ถือว่าเป็น NPL ทั้ง ๆ ที่ลูกหนี้ได้มีการชำระ แห่งประเทศไทย
ปัญหา NPL ทำให้ขอสินเชื่อใหม่ไม่ได้ ดอกเบี้ยติดต่อกันเป็นประจำ
- ให้ผู้ประกอบการที่มี L/C หรือคำสั่งซื้ออยู่แล้ว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ขอสินเชื่อใหม่ได้ แม้ว่าจะมีปัญหา NPL
อยู่ก็ตาม
- สำหรับผู้ประกอบการ 800 กว่ารายที่ธนาคาร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
เพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยเคย ธนาคารพาณิชย์
ปฏิเสธการให้สินเชื่อเพราะมีปัญหา NPL ให้
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภา
หอการค้าแห่งประเทศไทยพิจารณาทบทวน
ใหม่ว่ารายใดสมควรที่จะปล่อยสินเชื่อให้แล้ว
เสนอให้ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่ง
- ประเทศไทยพิจารณาใหม่
2. ปัจจุบันการอนุมัติเงินกู้ Packing - ให้เพิ่มวงเงิน Packing Credit เป็นร้อยละ 90 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า ดำเนินการทันที
Credit ได้วงเงินน้อยเพียงร้อยละ 60 - ของ L/C แห่งประเทศไทย
70 ของ L/C ซึ่งไม่เพียงพอต่อธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์
ส่งออก
3. Credit Term ของสินเชื่อ Post- - ให้ขยายเวลา Credit Term จา 120 - 150 วัน ธนาคารพาณิชย์ ดำเนินการทันที
shipment Financing มีระยะเวลาสั้น เป็น 180 - 270 วัน
เกินไป เป็นอุปสรรคต่อการแข่งขัน ซึ่ง - ให้ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่ง ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า
ประเทศคู่แข่งให้เครดิตได้ถึง 180 - 270 ประเทศไทยช่วยรับซื้อตั๋ว PSF ของผู้ส่งออก แห่งประเทศไทย
วัน
4. ผู้ประกอบการค้าชายแดนประสบปัญหา - ให้ธนาคารพาณิชย์มอบอำนาจให้ผู้จัดการสาขา ธนาคารพาณิชย์ ดำเนินการทันที
การอนุมัติสินเชื่อของธนาคารล่าช้า เนื่อง ในจังหวัดชายแดน มีอำนาจในการอนุมัติ ธนาคารแห่งประเทศไทย
จากผู้จัดการสาขาในต่างจังหวัดไม่มี สินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจการค้าชายแดน สมาคมธนาคารไทย
อำนาจอนุมัติสินเชื่อ
5. การคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีตามมาตรา - ให้ผู้ที่มีปัญหาในการขอคืนภาษีแจ้งเรื่องไปที่ กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
19 ทวิ และเงินชดเชย ยังล่าช้า ทำให้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือสภา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ขาดเงินทุนหมุนเวียนกระทบต่อสภาพ หอการค้าแห่งประเทศไทย เพื่อรวบรวมเสนอ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
คล่องของผู้ผลิต และผู้ส่งออกโดย ต่อกรมสรรพากรหรือกระทรวงการคลัง
เฉพาะ SMEs
- ระยะเวลาการตรวจเอกสารของ - ให้กำหนดระยะเวลาการตรวจสอบเอกสาร กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เจ้าหน้าที่ไม่มีกำหนดที่แน่นอน ส่วน ขอคืนภาษีของเจ้าหน้าที่ให้ชัดเจน
ใหญ่ใช้เวลานาน จึงส่งผลต่อการคืน
ภาษี
- บัตรภาษีมีความยุ่งยากในการขอ - อนุมัติให้บัตรภาษี สามารถเปลี่ยนมือผู้ถือได้ กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เปลี่ยนมือผู้ถือ ทำให้ไม่สะดวกต่อการ โดยเสรี
นำไปใช้เป็นเครดิตเพื่อเสริมสภาพ
คล่อง
ประเด็นปัญหาของผู้ส่งออก มาตรการ หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะดำเนินการ
ประเด็นปัญหาโครงสร้างภาษี
1. อัตราภาษีนำเข้าวัตถุดิบอยู่ในระดับสูง - ให้มีการประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยว กระทรวงการคลัง ภายในมิถุนายน
กว่าประเทศคู่แข่ง ส่งผลต่อการแข่งขัน ข้องเร่งรัดดำเนินการปรับโครงสร้างภาษีใหม่ กระทรวงอุตสาหกรรม 2542
ทั้งระบบให้แล้วเสร็จโดยเร็ว กระทรวงพาณิชย์
- ฝ่ายราชการควรกำหนดนโยบายให้แน่ชัดว่า สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
ต้องการส่งเสริมอุตสาหกรรมประเภทใด การลงทุน
ต้นน้ำ กลางน้ำ หรือปลายน้ำ มิใช่ปล่อยให้
ภาคเอกชนไปตกลงกันเอง
2. ปัจจุบันอัตราเงินชดเชยมีอัตราต่ำเกินไป - ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินชดเชยให้เหมาะสม กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ รองเท้า และ สอดคล้องกับข้อเท็จจริง
อาหาร
3. การเก็บภาษีสรรพสามิตสินค้าส่งออก - ให้ยกเลิกการเก็บภาษีสรรพสามิตสินค้าที่ กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
เช่น กลุ่มสินค้าเครื่องปรับอากาศ ส่งผล ส่งออก เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
ให้ต้นทุนสูง แข่งขันได้ยากขึ้น
4. การเก็บภาษีหัก ณ ที่จ่าย ของนิติบุคคล - ให้ปรับลดหรือยกเลิกการเก็บภาษีเงินได้หัก กระทรวงการคลัง ดำเนินการทันที
จากการขายสินค้าเกษตร เช่น ข้าว ณ ที่จ่าย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
มันสำปะหลัง เป็นภาระต่อผู้ส่งออก
ซึ่งท้ายสุดจะถูกผลักภาระให้เกษตรกร
โดยการกดราคารับซื้อ
ประเด็นปัญหาอัตราแลกเปลี่ยน - ให้มีการดูแลค่าเงินให้มีเสถียรภาพ และมี กระทรวงการคลัง ดำเนินการ
ค่าเงินบาทที่ไม่มีเสถียรภาพจะส่งผลต่อ อัตราที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก ธนาคารแห่งประเทศไทย ต่อเนื่อง
การกำหนดราคาซื้อขายสินค้า ผู้ส่งออก ธนาคารพาณิชย์
ส่วนใหญ่เห็นควรให้ค่าเงินบาทอยู่ระหว่าง
38 - 40 บาท/เหรียญสหรัฐฯ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 19 เมษายน 2542--