ทำเนียบรัฐบาล--3 ส.ค.--บิสนิวส์
คณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจพิจารณาแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออก
ของอุตสาหกรรมอาหาร ตามที่คณะกรรมการพัฒนาการส่งออก (พกอ.) เสนอ แล้วมีมติดังนี้
1. ให้ความเห็นชอบแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร และหน่วย
งานรับผิดชอบ
2. มอบหมายหน่วยงานหลักนำแผนไปดำเนินการให้เกิดผลทางปฏิบัติ โดยให้ความสนับสนุนด้านงบประมาณ
ดำเนินการ และให้คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร ภายใต้
พกอ. เป็นผู้ประสานงาน ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อไป
สาระสำคัญของแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร มีดังนี้
1. มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมอาหารในด้านสุขอนามัยและคุณภาพอย่างเป็นระบบครบวงจร
2. นำหลักการการจัดการมาใช้ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบถึงผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
3. กิจกรรมสนับสนุน เน้นด้านการทำให้เกิดความเชื่อมโยงของเกษตรกรกับภาคอุตสาหกรรมและหน่วยงาน
ของรัฐ การให้บริการหรือกำกับดูแลด้านความปลอดภัยของอาหาร การศึกษาวิจัย และการเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหา ตลอด
จนการสร้างฐานข้อมูลที่จะใช้ร่วมกัน
4. กำหนดหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุนที่เป็นผู้รับผิดชอบนำแผนงานไปปฏิบัติ
แผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพของอุตสาหกรรมอาหารได้จัดกลุ่มปัญหาตามลำดับความสำคัญ 8 ข้อ
และเสนอกิจกรรมหลักเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวพร้อมทั้งกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบทั้งหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน
โดยสรุปได้ดังนี้
(1) กลุ่มปัญหาที่มีลำดับความสำคัญสูง
ลำดับที่ หน่วยงานรับผิดชอบ
1. เกษตรกรและชาวประมงส่วนใหญ่ขาดปัจจัยการผลิต ความรู้ ความเข้าใจ หน่วยงานหลัก
ที่ถูกต้องด้านการจัดการและวิทยาการสมัยใหม่ ทั้งในระดับการผลิตใน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ฟาร์ม ไร่นาและการจัดการหลักเก็บเกี่ยว ทำให้วัตถุดิบขาดประสิทธิภาพ หน่วยงานสนับสนุน
หรือด้อยคุณภาพ ไม่ปลอดภัยหรืออาจมีสารพิษ สารเคมีตกค้าง โรคและ กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
แมลง และขาดความเชื่อมโยงระหว่างภาคเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมใน สิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม
เชิงเศรษฐกิจเพื่อการส่งออก (เช่น ราคาที่ยุติธรรม) และในเชิงข้อมูล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
ข่าวสาร สถาบันอาหาร สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2. ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารส่วนใหญ่ยังไม่ได้จัดระบบสุขลักษณะ หน่วยงานหลัก
และสิ่งแวดล้อมโรงงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากล เนื่องจากไม่เข้าใจกฎ - กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม
ระเบียบ หรือขาดข้อมูลที่เกี่ยวกับกฎระเบียบด้านสุขอนามัยและคุณภาพ หน่วยงานสนับสนุน
สินค้าอาหารระดับสากล (ซึ่งไม่ครบถ้วน ไม่ทันสมัย กระจัดกระจายอยู่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ตามหน่วยงานต่าง ๆ ยากต่อการสืบค้น) หรือเป็นกฎเกณฑ์ที่ก่อให้เกิด กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ
ความเสียเปรียบในเชิงการแข่งขัน ทบวงมหาวิทยาลัย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่ง
ประเทศไทย สถาบันอาหาร สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
สถาบันสิ่งแวดล้อม หน่วยรับรอง (certification body)
3. การควบคุมโรคระบาดและสุขอนามัยของแหล่งวัตถุดิบยังไม่สามารถ หน่วยงานหลัก
ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และขาดแคลนแหล่งผลิตเบื้องต้น - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข
(โรงผลิตเนื้อสัตว์) ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์สากล หน่วยงานสนับสนุน
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
สถาบันอาหาร
4. ห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบมีไม่เพียงพอกับปริมาณสินค้าอาหาร หน่วยงานหลัก
ที่ต้องทำการตรวจสอบ ไม่มีห้องปฏิบัติการทดสอบสำหรับการทดสอบบาง - กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
รายการ เช่น รายการทดสอบใหม่ ๆ ขาดการประสานงานและความ กระทรวงอุตสาหกรรม
สอดคล้อง (harmonization) ขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ หน่วยงานสนับสนุน
ทั้งในด้านเครื่องมืออุปกรณ์ กระบวนการทดสอบและบุคลากรยังมี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ และไม่สามารถแสดงความเท่าเทียม ทบวงมหาวิทยาลัย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่ง
(equivalence) ให้ประเทศผู้นำเข้ายอมรับการตรวจสอบของไทย ประเทศไทย สถาบันอาหาร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ชาติ ห้องปฏิบัติการของภาคเอกชน
(2) กลุ่มปัญหาที่มีลำดับความสำคัญลำดับรอง
ลำดับที่ หน่วยงานรับผิดชอบ
5. ขาดความชัดเจนเกี่ยวกับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหา หน่วยงานหลัก
สุขอนามัย และคุณภาพของอุตสาหกรรมอาหาร ขาดการประสานงานอย่าง - กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม
มีประสิทธิภาพระหว่างภาครัฐและเอกชนในการรวบรวมปัญหาและดำเนิน (อนุกรรมการฯ TBT/SPS)
การเพื่อแก้ไขปัญหา การกีดกันทางการค้ายังขาดข้อพิสูจน์ทางด้านวิชาการ หน่วยงานสนับสนุน
เพื่อการโต้แย้งในการเจรจาต่อรอง ทั้งในกรณีพิพาทกับประเทศผู้ซื้อ และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข สภาอุตสาหกรรมแห่ง
เวทีเจรจาระหว่างประเทศ ประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันอาหาร
6. การควบคุมดูแลความปลอดภัยของอาหาร ยังขาดระบบการเชื่อมโยงและ หน่วยงานหลัก
ความสอดคล้องในหลักเกณฑ์การปฏิบัติของหลายหน่วยงาน เช่น การให้ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข
การรับรองระบบ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) กระทรวงอุตสาหกรรม
แก่โรงงานอุตสาหกรรมของหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ ยังมีขีดจำกัด หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงวิทยา
ศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันอาหาร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ หน่วยรับรอง (Certification Body)
7. ขาดมาตรการในเชิงปฏิบัติและติดตามผลในการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ หน่วยงานหลัก
นำเข้าอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดปัญหาวัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพและมี - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข
สิ่งปนเปื้อน สิ่งแปลกปลอม เข้าสู่วงจรการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
สถาบันอาหาร
8. วัตถุดิบขั้นต้น (ทั้งด้านกสิกรรมปศุสัตว์ ประมง) ยังต้องมีการพัฒนาสาย หน่วยงานหลัก
พันธุ์พืชและสัตว์ที่มีคุณภาพสูงขึ้นตามความต้องการของตลาด เหมาะสม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
กับสภาพของประเทศไทย และมีความต้านทานศัตรูพืชและโรค สิ่งแวดล้อม
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สภาอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันอาหาร สำนักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานสนับสนุนกองทุน
การวิจัย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 3 สิงหาคม 2541--
คณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจพิจารณาแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออก
ของอุตสาหกรรมอาหาร ตามที่คณะกรรมการพัฒนาการส่งออก (พกอ.) เสนอ แล้วมีมติดังนี้
1. ให้ความเห็นชอบแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร และหน่วย
งานรับผิดชอบ
2. มอบหมายหน่วยงานหลักนำแผนไปดำเนินการให้เกิดผลทางปฏิบัติ โดยให้ความสนับสนุนด้านงบประมาณ
ดำเนินการ และให้คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร ภายใต้
พกอ. เป็นผู้ประสานงาน ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อไป
สาระสำคัญของแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร มีดังนี้
1. มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมอาหารในด้านสุขอนามัยและคุณภาพอย่างเป็นระบบครบวงจร
2. นำหลักการการจัดการมาใช้ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบถึงผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
3. กิจกรรมสนับสนุน เน้นด้านการทำให้เกิดความเชื่อมโยงของเกษตรกรกับภาคอุตสาหกรรมและหน่วยงาน
ของรัฐ การให้บริการหรือกำกับดูแลด้านความปลอดภัยของอาหาร การศึกษาวิจัย และการเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหา ตลอด
จนการสร้างฐานข้อมูลที่จะใช้ร่วมกัน
4. กำหนดหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุนที่เป็นผู้รับผิดชอบนำแผนงานไปปฏิบัติ
แผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยและคุณภาพของอุตสาหกรรมอาหารได้จัดกลุ่มปัญหาตามลำดับความสำคัญ 8 ข้อ
และเสนอกิจกรรมหลักเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวพร้อมทั้งกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบทั้งหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน
โดยสรุปได้ดังนี้
(1) กลุ่มปัญหาที่มีลำดับความสำคัญสูง
ลำดับที่ หน่วยงานรับผิดชอบ
1. เกษตรกรและชาวประมงส่วนใหญ่ขาดปัจจัยการผลิต ความรู้ ความเข้าใจ หน่วยงานหลัก
ที่ถูกต้องด้านการจัดการและวิทยาการสมัยใหม่ ทั้งในระดับการผลิตใน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ฟาร์ม ไร่นาและการจัดการหลักเก็บเกี่ยว ทำให้วัตถุดิบขาดประสิทธิภาพ หน่วยงานสนับสนุน
หรือด้อยคุณภาพ ไม่ปลอดภัยหรืออาจมีสารพิษ สารเคมีตกค้าง โรคและ กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
แมลง และขาดความเชื่อมโยงระหว่างภาคเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมใน สิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม
เชิงเศรษฐกิจเพื่อการส่งออก (เช่น ราคาที่ยุติธรรม) และในเชิงข้อมูล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
ข่าวสาร สถาบันอาหาร สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2. ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารส่วนใหญ่ยังไม่ได้จัดระบบสุขลักษณะ หน่วยงานหลัก
และสิ่งแวดล้อมโรงงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากล เนื่องจากไม่เข้าใจกฎ - กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม
ระเบียบ หรือขาดข้อมูลที่เกี่ยวกับกฎระเบียบด้านสุขอนามัยและคุณภาพ หน่วยงานสนับสนุน
สินค้าอาหารระดับสากล (ซึ่งไม่ครบถ้วน ไม่ทันสมัย กระจัดกระจายอยู่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ตามหน่วยงานต่าง ๆ ยากต่อการสืบค้น) หรือเป็นกฎเกณฑ์ที่ก่อให้เกิด กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ
ความเสียเปรียบในเชิงการแข่งขัน ทบวงมหาวิทยาลัย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่ง
ประเทศไทย สถาบันอาหาร สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
สถาบันสิ่งแวดล้อม หน่วยรับรอง (certification body)
3. การควบคุมโรคระบาดและสุขอนามัยของแหล่งวัตถุดิบยังไม่สามารถ หน่วยงานหลัก
ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และขาดแคลนแหล่งผลิตเบื้องต้น - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข
(โรงผลิตเนื้อสัตว์) ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์สากล หน่วยงานสนับสนุน
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
สถาบันอาหาร
4. ห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบมีไม่เพียงพอกับปริมาณสินค้าอาหาร หน่วยงานหลัก
ที่ต้องทำการตรวจสอบ ไม่มีห้องปฏิบัติการทดสอบสำหรับการทดสอบบาง - กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
รายการ เช่น รายการทดสอบใหม่ ๆ ขาดการประสานงานและความ กระทรวงอุตสาหกรรม
สอดคล้อง (harmonization) ขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ หน่วยงานสนับสนุน
ทั้งในด้านเครื่องมืออุปกรณ์ กระบวนการทดสอบและบุคลากรยังมี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ และไม่สามารถแสดงความเท่าเทียม ทบวงมหาวิทยาลัย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่ง
(equivalence) ให้ประเทศผู้นำเข้ายอมรับการตรวจสอบของไทย ประเทศไทย สถาบันอาหาร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ชาติ ห้องปฏิบัติการของภาคเอกชน
(2) กลุ่มปัญหาที่มีลำดับความสำคัญลำดับรอง
ลำดับที่ หน่วยงานรับผิดชอบ
5. ขาดความชัดเจนเกี่ยวกับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหา หน่วยงานหลัก
สุขอนามัย และคุณภาพของอุตสาหกรรมอาหาร ขาดการประสานงานอย่าง - กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม
มีประสิทธิภาพระหว่างภาครัฐและเอกชนในการรวบรวมปัญหาและดำเนิน (อนุกรรมการฯ TBT/SPS)
การเพื่อแก้ไขปัญหา การกีดกันทางการค้ายังขาดข้อพิสูจน์ทางด้านวิชาการ หน่วยงานสนับสนุน
เพื่อการโต้แย้งในการเจรจาต่อรอง ทั้งในกรณีพิพาทกับประเทศผู้ซื้อ และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข สภาอุตสาหกรรมแห่ง
เวทีเจรจาระหว่างประเทศ ประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันอาหาร
6. การควบคุมดูแลความปลอดภัยของอาหาร ยังขาดระบบการเชื่อมโยงและ หน่วยงานหลัก
ความสอดคล้องในหลักเกณฑ์การปฏิบัติของหลายหน่วยงาน เช่น การให้ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข
การรับรองระบบ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) กระทรวงอุตสาหกรรม
แก่โรงงานอุตสาหกรรมของหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ ยังมีขีดจำกัด หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงวิทยา
ศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันอาหาร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ หน่วยรับรอง (Certification Body)
7. ขาดมาตรการในเชิงปฏิบัติและติดตามผลในการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ หน่วยงานหลัก
นำเข้าอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดปัญหาวัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพและมี - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข
สิ่งปนเปื้อน สิ่งแปลกปลอม เข้าสู่วงจรการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
สถาบันอาหาร
8. วัตถุดิบขั้นต้น (ทั้งด้านกสิกรรมปศุสัตว์ ประมง) ยังต้องมีการพัฒนาสาย หน่วยงานหลัก
พันธุ์พืชและสัตว์ที่มีคุณภาพสูงขึ้นตามความต้องการของตลาด เหมาะสม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
กับสภาพของประเทศไทย และมีความต้านทานศัตรูพืชและโรค สิ่งแวดล้อม
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สภาอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันอาหาร สำนักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานสนับสนุนกองทุน
การวิจัย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 3 สิงหาคม 2541--