ทำเนียบรัฐบาล--22 ก.พ.--บิสนิวส์
คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง การกำหนด ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคตะวันตก ภาคกลาง และลุ่มน้ำป่าสัก และการกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนอื่น ๆ (ลุ่มน้ำชายแดน) ตามที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อมเสนอ ดังนี้
1. ผลการศึกษาวิจัยโครงการกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศในส่วนของการ กำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคตะวันตก ภาคกลาง และลุ่มน้ำป่าสัก ปรากฏเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำรวม 91,539.72 ตารางกิโลเมตรจำแนกออกเป็นชั้นคุณภาพลุ่มน้ำต่าง ๆ ได้ดังนี้
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ17,905.17 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 19.56
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี 970.32 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 1.06
ลุ่มน้ำชั้นที่ 2 6,728.17 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 7.35
ลุ่มน้ำชั้นที่ 3 7,048.56 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 7.70
ลุ่มน้ำชั้นที่ 4 9,922.90 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 10.84
ลุ่มน้ำชั้นที่ 5 47,957.66 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 52.39
พื้นที่แหล่งน้ำ1,006.94 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 1.10
2. ผลการศึกษาวิจัยโครงการกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศในส่วนของการ กำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนอื่น ๆ (ลุ่มน้ำชายแดน) พื้นที่ลุ่มน้ำทั้ง หมดรวม 84,150.86 ตารางกิโลเมตร จำแนกออกเป็นชั้นคุณภาพลุ่มน้ำต่าง ๆ ได้ดังนี้
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ20,049.99 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 23.82
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี 3,354.90 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 3.99
ลุ่มน้ำชั้นที่ 2 7,278.15 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 8.65
ลุ่มน้ำชั้นที่ 3 7,075.90 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 8.41
ลุ่มน้ำชั้นที่ 4 13,823.00 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 16.43
ลุ่มน้ำชั้นที่ 5 31,870.30 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 37.87
พื้นที่แหล่งน้ำ 698.62 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 0.83
3. กรณีที่พื้นที่ศักยภาพแหล่งแร่หินปูน หินประดับชนิดหินอ่อน และหินแกรนิต ที่รัฐมีข้อ ผูกพันเป็นประทานบัตรแล้ว รวมทั้งพื้นที่บริเวณที่ได้รับความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ ให้ใช้สัญญลักษณ์ 1 AM และถ้าอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี ให้ใช้ สัญญลักษณ์ 1 BM
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2538--
คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง การกำหนด ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคตะวันตก ภาคกลาง และลุ่มน้ำป่าสัก และการกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนอื่น ๆ (ลุ่มน้ำชายแดน) ตามที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อมเสนอ ดังนี้
1. ผลการศึกษาวิจัยโครงการกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศในส่วนของการ กำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคตะวันตก ภาคกลาง และลุ่มน้ำป่าสัก ปรากฏเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำรวม 91,539.72 ตารางกิโลเมตรจำแนกออกเป็นชั้นคุณภาพลุ่มน้ำต่าง ๆ ได้ดังนี้
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ17,905.17 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 19.56
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี 970.32 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 1.06
ลุ่มน้ำชั้นที่ 2 6,728.17 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 7.35
ลุ่มน้ำชั้นที่ 3 7,048.56 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 7.70
ลุ่มน้ำชั้นที่ 4 9,922.90 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 10.84
ลุ่มน้ำชั้นที่ 5 47,957.66 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 52.39
พื้นที่แหล่งน้ำ1,006.94 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 1.10
2. ผลการศึกษาวิจัยโครงการกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศในส่วนของการ กำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนอื่น ๆ (ลุ่มน้ำชายแดน) พื้นที่ลุ่มน้ำทั้ง หมดรวม 84,150.86 ตารางกิโลเมตร จำแนกออกเป็นชั้นคุณภาพลุ่มน้ำต่าง ๆ ได้ดังนี้
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ20,049.99 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 23.82
ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี 3,354.90 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 3.99
ลุ่มน้ำชั้นที่ 2 7,278.15 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 8.65
ลุ่มน้ำชั้นที่ 3 7,075.90 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 8.41
ลุ่มน้ำชั้นที่ 4 13,823.00 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 16.43
ลุ่มน้ำชั้นที่ 5 31,870.30 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 37.87
พื้นที่แหล่งน้ำ 698.62 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 0.83
3. กรณีที่พื้นที่ศักยภาพแหล่งแร่หินปูน หินประดับชนิดหินอ่อน และหินแกรนิต ที่รัฐมีข้อ ผูกพันเป็นประทานบัตรแล้ว รวมทั้งพื้นที่บริเวณที่ได้รับความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ ให้ใช้สัญญลักษณ์ 1 AM และถ้าอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี ให้ใช้ สัญญลักษณ์ 1 BM
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดนายชวน หลีกภัย)--วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2538--