คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ สรุปสถานการณ์ภัยหนาวและการให้ความช่วยเหลือ (ข้อมูล ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550) ดังนี้
1. สรุปสถานการณ์ภัยหนาวและการให้ความช่วยเหลือ (ข้อมูล ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัยหนาวที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียสในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (30 พฤศจิกายน - 6 ธันวาคม 2550) สรุปได้ดังนี้
ที่ ภาค อุณหภูมิต่ำสุด พื้นที่ประสบภัย วัน/เดือน/ปีที่ประสบภัย
(องศาเซลเซียส)
1 เหนือ 1.5 ดอยอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 1 ธ.ค. 2550
2.0 สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง อ.ฝาง 2 ธ.ค. 2550
7.6 จ.เชียงใหม่ 2 ธ.ค. 2550
9.5 อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ 30 พ.ย. 2550
11.0 อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน 5 ธ.ค. 2550
ต.ผาสิงห์ อ.เมืองฯ จ.น่าน
2 ตะวันออก 5.8 อุทยานแห่งชาติภูกระดึง อ.ภูกระดึง จ.เลย 2 ธ.ค. 2550
เฉียงเหนือ 7.0 สถานีทดลองเกษตรที่สูงภูเรือ อ.ภูเรือ จ.เลย 1 ธ.ค. 2550
8.0 อุทยานแห่งชาติภูเรือ อ.ภูเรือ จ.เลย 5 ธ.ค. 2550
9.6 ต.นาโปร่ง อ.เมืองฯ จ.เลย 1 ธ.ค. 2550
12.0 ต.ขามเฒ่า อ.เมืองฯ จ.นครพนม 1 ธ.ค. 2550
3 กลาง 13.8 ต.บัวชุม อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี 1 ธ.ค. 2550
4 ตะวันออก 11.7 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จ.นครนายก 1 ธ.ค. 2550
14.8 อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา 30 พ.ย. 2550
14.8 อ.เมืองฯ จ.สระแก้ว 1 ธ.ค. 2550
1.2 พื้นที่ประสบภัยหนาว ในขณะนี้มีพื้นที่ประสบภัยหนาวและได้ประกาศเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแล้ว จำนวน 32 จังหวัด สรุปได้ ดังนี้
ที่ ภาค พื้นที่ประกาศภัยพิบัติ รวม
1 เหนือ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ 13 จังหวัด
น่าน พะเยา พิษณุโลก แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูนและ
จังหวัดอุทัยธานี
2 ตะวันออก จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมามหาสารคาม 16 จังหวัด
เฉียงเหนือ มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย อุบลราชธานี สกลนคร หนองคาย
หนองบัวลำภู อุดรธานี และศรีสะเกษ
3 กลาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1 จังหวัด
4 ตะวันออก จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา 2 จังหวัด
รวม 32 จังหวัด
1.3 จังหวัดที่ประสบภัยหนาวในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคกลางได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาวระดับจังหวัดปี 2551 ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และมี 34 จังหวัด รายงานว่าได้มอบผ้าห่มกันหนาวให้แก่ประชาชนที่ขาดแคลนใน 268 อำเภอ 2,138 ตำบล 1 เทศบาล 13,671 หมู่บ้าน ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) สมาคม มูลนิธิ อบต.ฯลฯไปแล้ว รวม 298,307 ชิ้น (ผ้าห่มนวม 252,342 ผืน เสื้อกันหนาว 41,088 ตัว ผ้าห่มไหมพรม 2,863 ผืน หมวกไหมพรม/ผ้าพันคอ 2,014 ชิ้น)
ตารางแสดงพื้นที่ประสบภัยหนาวและการแจกจ่ายเครื่องกันหนาวช่วยเหลือผู้ประสบภัย
จำนวนราษฎรเดือดร้อน
ที่ ภาค จังหวัดที่แจกจ่ายเครื่องกันหนาว จากภัยหนาว จำนวนเครื่องกันหนาว
คน ครัวเรือน ที่แจกจ่ายแล้ว (ชิ้น)
1 เหนือ กำแพงเพชร เชียงใหม่ เชียงราย 932,226 337,067 186,534
น่าน พะเยา ตาก แพร่ลำปาง
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ลำพูน
แม่ฮ่องสอน
2 ตะวันออก กาฬสินธุ์ นครราชสีมา ขอนแก่น 2,058,840 590,032 100,928
เฉียงเหนือ อุดรธานี เลย มุกดาหาร หนองบัวลำภู
ร้อยเอ็ด นครพนม ชัยภูมิ มหาสารคาม
ศรีสะเกษ สกลนคร หนองคาย ยโสธร
3 กลาง ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สุพรรณบุรี 65,889 7,939 8,337
4 ตะวันออก จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี 60,270 23,371 2,508
รวม 34 จังหวัด 268 อำเภอ 2,138 ตำบล 3,117,225 958,409 298,307
1 เทศบาล 13,671 หมู่บ้าน
1.4 การให้ความช่วยเหลือของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้โอนเงินงบประมาณไปตั้งจ่ายที่คลังจังหวัด เพื่อจัดซื้อเครื่องกันหนาว ให้ทันการแจกจ่ายในฤดูหนาวตามความเหมาะสมและจำเป็น รวมจำนวน 46 จังหวัดๆ ละ 350,000 บาท เป็นเงินงบประมาณ 16,100,000 บาท
2) บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ได้ให้การสนับสนุนผ้าห่มกันหนาว จำนวน 200,000 ผืน มูลค่ากว่า 30 ล้านบาท เพื่อแจกจ่ายช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาวในพื้นที่ 15 จังหวัด
3) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อนุมัติงบประมาณจัดซื้อเครื่องกันหนาวสนับสนุนให้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1 - 10 และสำรองไว้ที่ส่วนกลางในวงเงินงบประมาณ 32,374,950 บาท เพื่อเตรียมการให้ความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรจากภาวะอากาศหนาวเย็น
2. การคาดหมายสภาวะอากาศในห้วงวันที่ 5-11 ธันวาคม 2550 ของกรมอุตุนิยมวิทยา
กรมอุตุนิยมวิทยาได้คาดหมายสภาวะอากาศในช่วงวันที่ 5-7 ธ.ค.2550 บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมทะเลจีนใต้และประเทศไทย และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยมีกำลังแรง ทำให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช้า คลื่นลมในอ่าวไทยตอนล่างมีกำลังแรง ความสูงประมาณ 2-3 เมตร ส่วนในช่วงวันที่ 8-11 ธ.ค. 2550 บริเวณความกดอากาศสูงที่ประเทศไทยมีกำลังอ่อนลง อุณหภูมิจะเพิ่มสูงขึ้น ส่วนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยจะมีกำลังอ่อนลง ข้อควรระวัง สำหรับในช่วงวันที่ 5-7 ธ.ค. 2550 คลื่นลมในอ่าวไทยจะมีกำลังแรง ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังการเดินเรือ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 ธันวาคม 2550--จบ--
1. สรุปสถานการณ์ภัยหนาวและการให้ความช่วยเหลือ (ข้อมูล ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัยหนาวที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียสในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (30 พฤศจิกายน - 6 ธันวาคม 2550) สรุปได้ดังนี้
ที่ ภาค อุณหภูมิต่ำสุด พื้นที่ประสบภัย วัน/เดือน/ปีที่ประสบภัย
(องศาเซลเซียส)
1 เหนือ 1.5 ดอยอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 1 ธ.ค. 2550
2.0 สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง อ.ฝาง 2 ธ.ค. 2550
7.6 จ.เชียงใหม่ 2 ธ.ค. 2550
9.5 อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ 30 พ.ย. 2550
11.0 อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน 5 ธ.ค. 2550
ต.ผาสิงห์ อ.เมืองฯ จ.น่าน
2 ตะวันออก 5.8 อุทยานแห่งชาติภูกระดึง อ.ภูกระดึง จ.เลย 2 ธ.ค. 2550
เฉียงเหนือ 7.0 สถานีทดลองเกษตรที่สูงภูเรือ อ.ภูเรือ จ.เลย 1 ธ.ค. 2550
8.0 อุทยานแห่งชาติภูเรือ อ.ภูเรือ จ.เลย 5 ธ.ค. 2550
9.6 ต.นาโปร่ง อ.เมืองฯ จ.เลย 1 ธ.ค. 2550
12.0 ต.ขามเฒ่า อ.เมืองฯ จ.นครพนม 1 ธ.ค. 2550
3 กลาง 13.8 ต.บัวชุม อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี 1 ธ.ค. 2550
4 ตะวันออก 11.7 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จ.นครนายก 1 ธ.ค. 2550
14.8 อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา 30 พ.ย. 2550
14.8 อ.เมืองฯ จ.สระแก้ว 1 ธ.ค. 2550
1.2 พื้นที่ประสบภัยหนาว ในขณะนี้มีพื้นที่ประสบภัยหนาวและได้ประกาศเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแล้ว จำนวน 32 จังหวัด สรุปได้ ดังนี้
ที่ ภาค พื้นที่ประกาศภัยพิบัติ รวม
1 เหนือ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ 13 จังหวัด
น่าน พะเยา พิษณุโลก แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูนและ
จังหวัดอุทัยธานี
2 ตะวันออก จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมามหาสารคาม 16 จังหวัด
เฉียงเหนือ มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย อุบลราชธานี สกลนคร หนองคาย
หนองบัวลำภู อุดรธานี และศรีสะเกษ
3 กลาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1 จังหวัด
4 ตะวันออก จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา 2 จังหวัด
รวม 32 จังหวัด
1.3 จังหวัดที่ประสบภัยหนาวในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคกลางได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาวระดับจังหวัดปี 2551 ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และมี 34 จังหวัด รายงานว่าได้มอบผ้าห่มกันหนาวให้แก่ประชาชนที่ขาดแคลนใน 268 อำเภอ 2,138 ตำบล 1 เทศบาล 13,671 หมู่บ้าน ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) สมาคม มูลนิธิ อบต.ฯลฯไปแล้ว รวม 298,307 ชิ้น (ผ้าห่มนวม 252,342 ผืน เสื้อกันหนาว 41,088 ตัว ผ้าห่มไหมพรม 2,863 ผืน หมวกไหมพรม/ผ้าพันคอ 2,014 ชิ้น)
ตารางแสดงพื้นที่ประสบภัยหนาวและการแจกจ่ายเครื่องกันหนาวช่วยเหลือผู้ประสบภัย
จำนวนราษฎรเดือดร้อน
ที่ ภาค จังหวัดที่แจกจ่ายเครื่องกันหนาว จากภัยหนาว จำนวนเครื่องกันหนาว
คน ครัวเรือน ที่แจกจ่ายแล้ว (ชิ้น)
1 เหนือ กำแพงเพชร เชียงใหม่ เชียงราย 932,226 337,067 186,534
น่าน พะเยา ตาก แพร่ลำปาง
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ลำพูน
แม่ฮ่องสอน
2 ตะวันออก กาฬสินธุ์ นครราชสีมา ขอนแก่น 2,058,840 590,032 100,928
เฉียงเหนือ อุดรธานี เลย มุกดาหาร หนองบัวลำภู
ร้อยเอ็ด นครพนม ชัยภูมิ มหาสารคาม
ศรีสะเกษ สกลนคร หนองคาย ยโสธร
3 กลาง ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สุพรรณบุรี 65,889 7,939 8,337
4 ตะวันออก จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี 60,270 23,371 2,508
รวม 34 จังหวัด 268 อำเภอ 2,138 ตำบล 3,117,225 958,409 298,307
1 เทศบาล 13,671 หมู่บ้าน
1.4 การให้ความช่วยเหลือของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้โอนเงินงบประมาณไปตั้งจ่ายที่คลังจังหวัด เพื่อจัดซื้อเครื่องกันหนาว ให้ทันการแจกจ่ายในฤดูหนาวตามความเหมาะสมและจำเป็น รวมจำนวน 46 จังหวัดๆ ละ 350,000 บาท เป็นเงินงบประมาณ 16,100,000 บาท
2) บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ได้ให้การสนับสนุนผ้าห่มกันหนาว จำนวน 200,000 ผืน มูลค่ากว่า 30 ล้านบาท เพื่อแจกจ่ายช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาวในพื้นที่ 15 จังหวัด
3) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อนุมัติงบประมาณจัดซื้อเครื่องกันหนาวสนับสนุนให้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1 - 10 และสำรองไว้ที่ส่วนกลางในวงเงินงบประมาณ 32,374,950 บาท เพื่อเตรียมการให้ความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรจากภาวะอากาศหนาวเย็น
2. การคาดหมายสภาวะอากาศในห้วงวันที่ 5-11 ธันวาคม 2550 ของกรมอุตุนิยมวิทยา
กรมอุตุนิยมวิทยาได้คาดหมายสภาวะอากาศในช่วงวันที่ 5-7 ธ.ค.2550 บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมทะเลจีนใต้และประเทศไทย และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยมีกำลังแรง ทำให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช้า คลื่นลมในอ่าวไทยตอนล่างมีกำลังแรง ความสูงประมาณ 2-3 เมตร ส่วนในช่วงวันที่ 8-11 ธ.ค. 2550 บริเวณความกดอากาศสูงที่ประเทศไทยมีกำลังอ่อนลง อุณหภูมิจะเพิ่มสูงขึ้น ส่วนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยจะมีกำลังอ่อนลง ข้อควรระวัง สำหรับในช่วงวันที่ 5-7 ธ.ค. 2550 คลื่นลมในอ่าวไทยจะมีกำลังแรง ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังการเดินเรือ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 ธันวาคม 2550--จบ--