แท็ก
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สิทธิมนุษยชน
ก๊าซธรรมชาติ
คณะรัฐมนตรี
มาเลเซีย
คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบตามที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเสนอดังนี้
1. รับทราบรายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่อง รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (กรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากถ่านหิน หินกรูด — บ่อนอก และโครงการท่อส่งก๊าซและโรงแยกก๊าซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย) ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งได้พิจารณาร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและกระทรวงพลังงาน พร้อมด้วยความเห็นและข้อเสนอแนะ และให้แจ้งสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบต่อไป
2. เห็นชอบให้แจ้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามความเห็นสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติต่อไป ดังนี้
2.1 การดำเนินการโครงการของภาครัฐในอนาคตเห็นควรกำชับให้ทุกหน่วยงานจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมิให้ใช้มาตรการรุนแรงในกรณีที่มีผู้ชุมนุมคัดค้านโครงการ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
2.2 เพื่อให้การดำเนินการโครงการของภาครัฐในอนาคตเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาประเทศ ให้แจ้งเวียนหน่วยงานภาครัฐให้ถือปฏิบัติในขั้นตอนของการเตรียมการโครงการดังนี้
2.2.1 ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment : EIA) และวิธีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ
ยุทธศาสตร์ (Strategic Environment Assessment : SEA) ให้กับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนได้เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างทั่วถึง
2.2.2 ให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกระบวนการจัดทำโครงการ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ภายใต้หลักธรรมาธิบาลในการดำเนินโครงการทุกขั้นตอน
รายงานผลการดำเนินการ และผลการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สรุปได้ดังนี้
รายงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตามโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนฯ
และโครงการท่อส่งก๊าซฯ
1. ขอให้รัฐบาลพิจารณาสั่งการมิให้หน่วยงานใด ๆ ของรัฐ กระทรวงพลังงาน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีท่าทีในการสนับสนุนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อันจะเป็นการทำให้ ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาระยะสั้นและลดผลกระทบระยะยาว
สถานการณ์ตึงเครียดยิ่งขึ้น รวมทั้งมิให้ใช้มาตรการรุนแรง การดำเนินมาตรการช่วยเหลือการจ้างงานประชาชนในพื้นที่
ใด ๆ ในการชุมนุมอันจะยิ่งทำให้โอกาสที่จะแก้ไขปัญหามี การจัดตั้งกองทุนให้กับชุมชน การนำหลักการและวิธีการวิเคราะห์
ลดน้อยลงไป และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามแนวคิดใหม่มาใช้ในอนาคต
การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ และจัดทำแผนจัดการสิ่งแวดล้อม
พ.ศ. 2550- 2554 ซึ่งทำให้ได้ข้อยุติในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง
ใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดและการย้ายสถานที่ตั้งของโครงการก่อสร้าง
โรงไฟฟ้าทั้งสองโครงการ รวมทั้งการจัดตั้งกลไกในรูปของ
คณะกรรมการกำกับดูแลโครงการท่อก๊าซและโครงการโรงแยก
ก๊าซธรรมชาติเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
2. ขอให้มีการชี้แจงอธิบายเหตุผลและข้อมูลที่รัฐบาลได้ศึกษา 2.1 กฟผ. ได้มีการเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของโครงการผู้ผลิต
ประกอบการพิจารณาอย่างชัดเจน เพื่อทำให้ทุกฝ่ายได้มี ไฟฟ้าเอกชนนับจากที่มีพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
โอกาสเข้าใจข้อมูลและเหตุผลอย่างแท้จริง อันจะก่อ พ.ศ. 2540 นอกจากนี้ผู้พัฒนาโครงการได้เสนอเปลี่ยนเชื้อเพลิง
ประโยชน์และมีการแลกเปลี่ยนหารือบนพื้นฐานข้อมูลและ เพลิงที่ใช้คือจากถ่านหินเป็นก๊าซธรรมชาติและเปลี่ยนสถานที่ตั้ง
เหตุผลที่ถูกต้องร่วมกัน โครงการ โดยโครงการหินกรูดย้ายไปยังจังหวัดราชบุรี และ
โครงการบ่อนอกย้ายไปจังหวัดสระบุรี จึงทำให้ความขัดแย้ง
ในพื้นที่หมดไป
2.2 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบทาง
สิ่งแวดล้อมโดยจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งพัฒนาวิธีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์เพื่อเป็น
กรอบแนวคิดและกระบวนการที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ที่บูรณาการมิติเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม
2.3 จัดทำแผนการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550-2554 โดย
ให้ความสำคัญกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และได้กำหนด
ไว้ในแนวทางจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสาขา
ทรัพยากรธรณีและทรัพยากรพลังงานและสาขาการจัดการมลพิษ
3. พิจารณากำหนดผลตอบแทนแก่ชุมชน ซึ่งประกอบด้วย 3.1 ในส่วนโครงการท่อก๊าซและโรงแยกก๊าซธรรมชาติไทย-
การจ้างแรงงานในพื้นที่ การจัดตั้งกองทุนพัฒนาหมู่บ้านตาม มาเลเซีย บริษัททรานส์ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย)จำกัด
แนวท่อก๊าซ และบริเวณรอบโรงแยกก๊าซ และกองทุนพัฒนา ได้ดำเนินการตามการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทั้ง
หมู่บ้านใกล้เคียงแนวท่อก๊าซ ฯ และโรงแยกก๊าซ และการ สองโครงการ ดังนี้
จัดตั้งคณะอนุกรรมการสมานฉันท์ เป็นต้น 3.1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อกำกับดูแลการดำเนินงาน
โครงการประกอบด้วย คณะกรรมการกำกับดูแลควบคุมการ
ดำเนินงานติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม องค์กร
ประชาชน หน่วยงานกลาง เป็นต้น
3.1.2 พิจารณากำหนดผลตอบแทนแก่ชุมชน ซึ่งประกอบด้วย
การจ้างแรงงานในพื้นที่การจัดตั้งกองทุนพัฒนาหมู่บ้านตามแนวท่อก๊าซ
และบริเวณรอบโรงแยกก๊าซ และกองทุนพัฒนาหมู่บ้านใกล้เคียง
แนวท่อก๊าซ ฯ และโรงแยกก๊าซ และการจัดตั้งคณะอนุกรรมการ
สมานฉันท์ เป็นต้น
3.1.3 กำหนดมาตรการลดผลกระทบระยะยาว
3.2 ได้ขอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ศึกษาและเสนอ
แนวทางการประเมินผลกระทบทางสิทธิมนุษยชนที่เป็นไปได้ ให้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาต่อไป
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 15 มกราคม 2551--จบ--
1. รับทราบรายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่อง รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (กรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากถ่านหิน หินกรูด — บ่อนอก และโครงการท่อส่งก๊าซและโรงแยกก๊าซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย) ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งได้พิจารณาร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและกระทรวงพลังงาน พร้อมด้วยความเห็นและข้อเสนอแนะ และให้แจ้งสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบต่อไป
2. เห็นชอบให้แจ้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามความเห็นสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติต่อไป ดังนี้
2.1 การดำเนินการโครงการของภาครัฐในอนาคตเห็นควรกำชับให้ทุกหน่วยงานจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมิให้ใช้มาตรการรุนแรงในกรณีที่มีผู้ชุมนุมคัดค้านโครงการ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
2.2 เพื่อให้การดำเนินการโครงการของภาครัฐในอนาคตเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาประเทศ ให้แจ้งเวียนหน่วยงานภาครัฐให้ถือปฏิบัติในขั้นตอนของการเตรียมการโครงการดังนี้
2.2.1 ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment : EIA) และวิธีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ
ยุทธศาสตร์ (Strategic Environment Assessment : SEA) ให้กับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนได้เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างทั่วถึง
2.2.2 ให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกระบวนการจัดทำโครงการ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ภายใต้หลักธรรมาธิบาลในการดำเนินโครงการทุกขั้นตอน
รายงานผลการดำเนินการ และผลการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สรุปได้ดังนี้
รายงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตามโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนฯ
และโครงการท่อส่งก๊าซฯ
1. ขอให้รัฐบาลพิจารณาสั่งการมิให้หน่วยงานใด ๆ ของรัฐ กระทรวงพลังงาน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีท่าทีในการสนับสนุนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อันจะเป็นการทำให้ ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาระยะสั้นและลดผลกระทบระยะยาว
สถานการณ์ตึงเครียดยิ่งขึ้น รวมทั้งมิให้ใช้มาตรการรุนแรง การดำเนินมาตรการช่วยเหลือการจ้างงานประชาชนในพื้นที่
ใด ๆ ในการชุมนุมอันจะยิ่งทำให้โอกาสที่จะแก้ไขปัญหามี การจัดตั้งกองทุนให้กับชุมชน การนำหลักการและวิธีการวิเคราะห์
ลดน้อยลงไป และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามแนวคิดใหม่มาใช้ในอนาคต
การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ และจัดทำแผนจัดการสิ่งแวดล้อม
พ.ศ. 2550- 2554 ซึ่งทำให้ได้ข้อยุติในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง
ใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดและการย้ายสถานที่ตั้งของโครงการก่อสร้าง
โรงไฟฟ้าทั้งสองโครงการ รวมทั้งการจัดตั้งกลไกในรูปของ
คณะกรรมการกำกับดูแลโครงการท่อก๊าซและโครงการโรงแยก
ก๊าซธรรมชาติเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
2. ขอให้มีการชี้แจงอธิบายเหตุผลและข้อมูลที่รัฐบาลได้ศึกษา 2.1 กฟผ. ได้มีการเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของโครงการผู้ผลิต
ประกอบการพิจารณาอย่างชัดเจน เพื่อทำให้ทุกฝ่ายได้มี ไฟฟ้าเอกชนนับจากที่มีพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
โอกาสเข้าใจข้อมูลและเหตุผลอย่างแท้จริง อันจะก่อ พ.ศ. 2540 นอกจากนี้ผู้พัฒนาโครงการได้เสนอเปลี่ยนเชื้อเพลิง
ประโยชน์และมีการแลกเปลี่ยนหารือบนพื้นฐานข้อมูลและ เพลิงที่ใช้คือจากถ่านหินเป็นก๊าซธรรมชาติและเปลี่ยนสถานที่ตั้ง
เหตุผลที่ถูกต้องร่วมกัน โครงการ โดยโครงการหินกรูดย้ายไปยังจังหวัดราชบุรี และ
โครงการบ่อนอกย้ายไปจังหวัดสระบุรี จึงทำให้ความขัดแย้ง
ในพื้นที่หมดไป
2.2 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบทาง
สิ่งแวดล้อมโดยจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งพัฒนาวิธีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์เพื่อเป็น
กรอบแนวคิดและกระบวนการที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ที่บูรณาการมิติเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม
2.3 จัดทำแผนการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550-2554 โดย
ให้ความสำคัญกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และได้กำหนด
ไว้ในแนวทางจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสาขา
ทรัพยากรธรณีและทรัพยากรพลังงานและสาขาการจัดการมลพิษ
3. พิจารณากำหนดผลตอบแทนแก่ชุมชน ซึ่งประกอบด้วย 3.1 ในส่วนโครงการท่อก๊าซและโรงแยกก๊าซธรรมชาติไทย-
การจ้างแรงงานในพื้นที่ การจัดตั้งกองทุนพัฒนาหมู่บ้านตาม มาเลเซีย บริษัททรานส์ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย)จำกัด
แนวท่อก๊าซ และบริเวณรอบโรงแยกก๊าซ และกองทุนพัฒนา ได้ดำเนินการตามการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทั้ง
หมู่บ้านใกล้เคียงแนวท่อก๊าซ ฯ และโรงแยกก๊าซ และการ สองโครงการ ดังนี้
จัดตั้งคณะอนุกรรมการสมานฉันท์ เป็นต้น 3.1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อกำกับดูแลการดำเนินงาน
โครงการประกอบด้วย คณะกรรมการกำกับดูแลควบคุมการ
ดำเนินงานติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม องค์กร
ประชาชน หน่วยงานกลาง เป็นต้น
3.1.2 พิจารณากำหนดผลตอบแทนแก่ชุมชน ซึ่งประกอบด้วย
การจ้างแรงงานในพื้นที่การจัดตั้งกองทุนพัฒนาหมู่บ้านตามแนวท่อก๊าซ
และบริเวณรอบโรงแยกก๊าซ และกองทุนพัฒนาหมู่บ้านใกล้เคียง
แนวท่อก๊าซ ฯ และโรงแยกก๊าซ และการจัดตั้งคณะอนุกรรมการ
สมานฉันท์ เป็นต้น
3.1.3 กำหนดมาตรการลดผลกระทบระยะยาว
3.2 ได้ขอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ศึกษาและเสนอ
แนวทางการประเมินผลกระทบทางสิทธิมนุษยชนที่เป็นไปได้ ให้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาต่อไป
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 15 มกราคม 2551--จบ--