คณะรัฐมนตรีรับทราบ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน เรื่องปัญหาขนมเด็กกับสุขภาพเด็ก ปี 2550 (ระหว่างเมษายน — กันยายน
2550) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข เสนอ ดังนี้
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
เรื่องปัญหาขนมเด็กกับสุขภาพเด็ก ปี 2550
ประเด็น หน่วยงาน ผลการดำเนินงาน แผนการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบ ปี 2550 ในระยะต่อไป
1. การควบคุม คุณภาพขนมเด็ก 1. สำนักงานคณะกรรมการ 1) การใช้มาตรการทางกฎหมาย 1) อย.จัดทำมาตรการ
และฉลากโภชนาการ อาหารและยา โดยออกประกาศกระทรวง สนับสนุนการบังคับใช้
สาธารณสุข ฉบับที่ 305 ประกาศกระทรวงสาธารณ
(พ.ศ.2550) เรื่องการแสดง สุขที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่มี
ฉลากอาหารสำเร็จรูปที่พร้อม ผลต่อภาวะทุพโภชนาการ
บริโภคทันที จำนวน 5 ชนิด ในเด็ก และเยาวชน
ได้แก่ 2) เผยแพร่คู่มือการจัดทำ
(1) มันฝรั่งทอด/อบกรอบ ฉลากโภชนาการ และสื่อ
(2) ข้าวโพดคั่วทอด/อบกรอบ ต่างๆ สู่กลุ่มเป้าหมาย
(3) ข้าวเกรียบ/อาหารขบเคี้ยว
ชนิดอบพอง
(4) ขนมปังกรอบ/แครกเกอร์/
บิสกิต และ
(5) เวเฟอร์สอดไส้
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะต้องแสดงฉลาก
โภชนาการและข้อความ
“บริโภคแต่น้อย และออกกำลังกาย
เพื่อสุขภาพ” โดยประกาศฯ จะมี
ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 ธ.ค.
2550 และให้ใช้ฉลากเดิมที่เหลือ
อยู่ได้ไม่เกิน 3 ปีนับจากวันที่
ประกาศฯ นี้ใช้บังคับ
2) การดำเนินการรองรับการออก
ประกาศฯ
(2.1) เตรียมความพร้อมผู้
ประกอบการและเจ้าหน้าที่โดย
ทำคู่มือการจัดทำฉลากโภชนาการ
(2.2) การรณรงค์ให้ความรู้แก่
ผู้บริโภค โดยทำสื่อต่าง ๆ เช่น
เพลงรณรงค์ลดการบริโภคหวาน
มัน เค็ม ring tone ธงชัก
(roll up) เป็นต้น
2. กรมอนามัย 1) ประชุมภาคีเครือข่ายผลักดันตรา
สัญลักษณ์โภชนาการ อย่างง่ายในขนม
คบเคี้ยว โดยใช้เป็นสัญลักษณ์ไฟจราจร ดำเนินการต่อเนื่อง
เพื่อเป็นข้อมูลปริมาณสารอาหารพลังงาน
ให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหาร
ให้ถูกต้อง และเหมาะสม
3. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ดำเนินการตรวจสอบผู้ประกอบธุรกิจ 1) ดำเนินการสร้างความเข้า
คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ที่จัดให้มีการแถมพกหรือรางวัลด้วยการ ใจกับผู้ประกอบธุรกิจที่ผลิต
เสี่ยงโชค ตามข้อ(4) แห่งกฎกระทรวง ขนมเด็กให้ตระหนักถึงความ
ฉบับที่ 5 ( พ.ศ. 2534) ออกตามใน รับผิดชอบต่อผู้บริโภค โดย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เฉพาะเด็กเล็ก
พ.ศ. 2522 อย่างต่อเนื่อง 2) ดำเนินการปรึกษาหารือ
ร่วมกันจัดทำบันทึกความร่วมมือ
กับผู้ผลิตขนมสำหรับเด็ก เพื่อ
ให้มีการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ
3) รณรงค์ให้ความรู้กับเด็ก
ผู้ปกครอง และครูอาจารย์
เกี่ยวกับเรื่องขนมเด็ก
อย่างต่อเนื่อง
2. การจำกัดการขายขนมเด็ก 1. สำนักงานคณะกรรมการ 1) จัดสัมมนาครูเครือข่ายการคุ้มครอง
ในโรงเรียน และสถานศึกษา คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ผู้บริโภคในสถานศึกษา จำนวน 5 ครั้ง ดำเนินการต่อเนื่อง
รวมจำนวน 1,630 คน เพื่อเน้นย้ำ
ให้ครูนำความรู้ด้านสินค้าที่อาจเป็น
อันตรายต่อเด็กและเยาวชนไปเผยแพร่
แก่นักเรียนให้พึงระวัง และตระหนักใน
การอ่านฉลากสินค้า/ฉลากโภชนาการ
ก่อนการเลือกซื้อ และบริโภคสินค้า
เพื่อป้องกันภัยอันอาจเกิดขึ้นได้
2. สำนักบริหารงาน 1) จัดประชุมปฏิบัติการสร้างนักเรียน 1) ส่งเสริม และสนับสนุนให้
คณะกรรมการส่งเสริมการ แกนนำในการดำเนินการอาหารปลอดภัย โรงเรียนเอกชนทุกโรงเรียน
ศึกษาเอกชน ในโรงเรียน เช่น รณรงค์เรื่องการ เข้าร่วมโครงการโรงเรียน
ขายน้ำอัดลม และขนมกรุบกรอบใน ส่งเสริมสุขภาพร่วมกับ
โรงเรียนแล้วจำนวน 2 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข
มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน
30 โรงเรียน รวมนักเรียนแกนนำ
70 คน
2) จัดประชุมชี้แจง ผู้บริหารและครู 2) ดำเนินการประเมินโรงเรียน
ที่ทำหน้าที่โภชนาการโรงเรียนในเขต ส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์
กทม.จำนวน 400 แห่ง เพื่อ มาตรฐาน ซึ่งมีความครอบคลุม
ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และขอความ องค์ประกอบต่างๆ ทั้งสุขอนามัย
ร่วมมือโรงเรียนในการขายขนมที่มี สุขศึกษา สิ่งแวดล้อมโภชนาการ
คุณค่าทางโภชนาการแทนการ และอาหารปลอดภัยของ
ขายน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
ขนมขบเคี้ยว และอาหารที่มีผลเสีย
ต่อสุขภาพของนักเรียน
3. การดูแลการโฆษณา 1. กรมประชาสัมพันธ์ 1) นำมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 เมษายน
ขนมเด็ก 2550 เกี่ยวกับปัญหาขนมเด็กกับ
กับสุขภาพเด็กเข้าที่ประชุม
ประชุมคณะกรรมการกิจการวิทยุ
กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ
(กกช.) และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์
การโฆษณาที่มีผลกระทบต่อเด็ก
และเยาวชนทางสถานีวิทยุกระจายเสียง
และวิทยุโทรทัศน์ โดยมีนายแพทย์ยงยุทธ
วงศ์ภิรมย์ศานติ์ เป็นประธาน มีผู้ทรง
คุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญด้าน กฎหมาย ด้าน
วิชาการ และสื่อสารมวลชนเป็น
อนุกรรมการ
2) ทำประชาพิจารณ์สองครั้ง เพื่อเปิด
รับฟังความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆ
และนำมาจัดทำร่างประกาศ
กรมประชาสัมพันธ์
3) ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการวิทยุ
กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ
ได้มีมติเห็นชอบร่างประกาศกรม
ประชาสัมพันธ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และ
ระยะเวลาสำหรับการโฆษณาและ
บริการธุรกิจทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่มี
ผลกระทบต่อเด็ก พร้อมกับให้กรม-
ประชาสัมพันธ์ดำเนินการชี้แจงทำความ
เข้าใจกับสถานีและผู้ประกอบการโฆษณา
โดยใช้วิธีการมีส่วนร่วมและหลักการ
กำกับดูแลตนเอง ก่อนออกประกาศให้มี
ผลบังคับใช้ในปี 2550
4) กรมประชาสัมพันธ์ได้ดำเนินการ
ตามขั้นตอนก่อนออกประกาศให้มี
ผลบังคับใช้ดังนี้
4.1 ทำหนังสือแจ้งเวียนสถานีวิทยุ-
โทรทัศน์ทุกสถานีให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และระยะเวลาสำหรับการโฆษณาและ
บริการธุรกิจทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่มี
ผลกระทบต่อเด็ก เป็นเวลา 3 เดือน
(กันยายน — พฤศจิกายน) และ
ประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์
ดังกล่าวให้สามารถนำไปปฏิบัติได้
จากนั้นจึงออกประกาศกรมประชาสัมพันธ์
บังคับใช้ต่อไป
4.2 จัดประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจ
เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และระยะเวลาสำหรับ
การโฆษณาและบริการธุรกิจทางสถานี
โทรทัศน์ที่มีผลกระทบต่อเด็ก แก่สถานี
โทรทัศน์ทุกสถานี ผู้ประกอบการโฆษณา
“สมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย”
อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน จากนั้น
จึงออกประกาศกรมประชาสัมพันธ์ให้มี
ผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการต่อไป
2. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ดำเนินการทบทวนประกาศ สำนักงาน - จัดตั้งคณะทำงานพิจารณา
อาหารและยาและกรมอนามัย คณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วย ทบทวนประกาศ ฯ เรื่องการ
หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร รวมทั้ง โฆษณาอาหารและการโฆษณา
ขนมเด็ก โดยต้องพิจารณาว่าการกำหนด ขนมเด็กโดยมีทั้งภาครัฐ
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขในการโฆษณา รวมทั้ง ภาคเอกชน ภาคประชาชน
การห้ามโฆษณาเป็นไปตามหลักกฎหมาย เข้ามามีส่วนให้ความเห็นด้วย
ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
มีอำนาจออกประกาศกำหนดเกณฑ์โฆษณา
เด็กเฉพาะที่มีการกล่าวอ้างสรรพคุณ
คุณประโยชน์ คุณภาพอาหารตามมาตรา 41
แห่ง พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522
เท่านั้น
4. การส่งเสริมขนมเด็ก 3. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ดำเนินการตรวจสอบผู้ประกอบธุรกิจ ดำเนินการต่อเนื่อง
ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ คุ้มครองผู้บริโภค ที่จัดให้มีการแถมพกหรือรางวัลด้วยการ
เสี่ยงโชคตาม (4) แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 5
( พ.ศ. 2534) ออกตามในพระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 อย่างต่อเนื่อง
1. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ให้ความรู้และการศึกษาแก่ผู้บริโภค - จะดำเนินการส่งเสริมและ
คุ้มครองผู้บริโภค บริโภค โดยเขียนและเผยแพร่บทความ สนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้
เรื่อง “ โฆษณาขนมเด็ก เพื่อเด็กหรือ บริโภคในเรื่องดังกล่าวในทุก
เพื่อใคร...” ส่งไปยังสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ระดับการศึกษาเกี่ยวกับ
และอินเตอร์เน็ต ความปลอดภัยและอันตรายที่
อาจได้รับจากสินค้าต่าง ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับ
ขนมเด็กอย่าง ต่อเนื่อง
2) สำนักบริหารงาน ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูโภชนาการ
คณะกรรมการส่งเสริม ในโรงเรียน 400 โรงเรียน เพื่อ
การศึกษาเอกชน ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และขอความร่วมมือ
ในการขายขนมที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
แทนการขายน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ
ขนมขบเคี้ยว และอาหารที่มีผลเสียต่อ
สุขภาพนักเรียน
3) กรมอนามัย 1) การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ขนมเด็กทาง
เลือกที่ดีเพื่อสุขภาพระดับ pilot scale
จากผลการดำเนินโครงการ “ เครือข่าย
ความร่วมมือการพัฒนาและผลิตภัณฑ์ขนม
ขบเคี้ยวเพื่อการควบคุมและป้องกัน
โภชนาการเกินในเด็ก” ในปี
พ.ศ. 2549-2550 ภายใต้แผนงานอาหาร
และโภชนาการเชิงรุก ซึ่งได้รับทุนสนับสนุน
จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ(สสส.) ได้ค้นคิดต้นแบบ
ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่
- บิสกิตถั่วเขียว
- สแน็คเบญจรงค์จากข้าว
- ปลาแผ่นอบกรอบ
ซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีส่วนผสมไขมัน น้ำตาล
และโซเดียมในปริมาณต่ำกว่าสูตรทั่วไป
รวมทั้งได้เสริมส่วนผสมที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการ และสารอาหารเพิ่มเติมเข้า
ไปด้วย นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์ขนมต้นแบบ
ที่ผลิตเชิงการค้าอีก 5 ชนิด ได้แก่
- บิสกิตถั่วแดง/ถั่วเขียว
- ปลาแผ่นอบกรอบ
- ธัญพืชอบกรอบ
- สแน็คข้าวโพดผสมแป้งถั่วเหลือง
- แครกเกอร์โฮลวีทผสมแป้งถั่ว
2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมเด็กทางเลือกที่ดี
เพื่อสุขภาพระดับอุตสาหกรรมภายใต้แผนงาน
โภชนาการเชิงรุก ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ(สสส.) เพื่อการให้บริการคำปรึกษา
แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการในระดับโรงงาน
หรือ ณ พื้นที่/ สถานที่ผลิต ในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ขนมที่มีปริมาณไขมัน น้ำตาล และ
โซเดียมต่ำ และเน้นการเพิ่มส่วนผสมจาก
ธรรมชาติ กลุ่มพืชผัก ผลไม้ เมล็ดธัญชาติ
ถั่ว และอื่น ๆ ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
เพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ขนมที่เป็นสูตร
สุขภาพ
กรมอนามัย(ต่อ) บริษัทที่ร่วมโครงการ จำนวน 5 แห่งได้แก่
- บริษัท วาไรตี้ ฟู้ดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล
จำกัด
- บริษัท อุตสาหกรรมอาหาร ส.ขอนแก่น
จำกัด (มหาชน)
- บริษัทโรงงานแม่รวย จำกัด
- บริษัทเวลด์ ฟูดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
- บริษัทไทยเพรสซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด(มหาชน)
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 22 มกราคม 2551--จบ--
2550) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข เสนอ ดังนี้
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
เรื่องปัญหาขนมเด็กกับสุขภาพเด็ก ปี 2550
ประเด็น หน่วยงาน ผลการดำเนินงาน แผนการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบ ปี 2550 ในระยะต่อไป
1. การควบคุม คุณภาพขนมเด็ก 1. สำนักงานคณะกรรมการ 1) การใช้มาตรการทางกฎหมาย 1) อย.จัดทำมาตรการ
และฉลากโภชนาการ อาหารและยา โดยออกประกาศกระทรวง สนับสนุนการบังคับใช้
สาธารณสุข ฉบับที่ 305 ประกาศกระทรวงสาธารณ
(พ.ศ.2550) เรื่องการแสดง สุขที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่มี
ฉลากอาหารสำเร็จรูปที่พร้อม ผลต่อภาวะทุพโภชนาการ
บริโภคทันที จำนวน 5 ชนิด ในเด็ก และเยาวชน
ได้แก่ 2) เผยแพร่คู่มือการจัดทำ
(1) มันฝรั่งทอด/อบกรอบ ฉลากโภชนาการ และสื่อ
(2) ข้าวโพดคั่วทอด/อบกรอบ ต่างๆ สู่กลุ่มเป้าหมาย
(3) ข้าวเกรียบ/อาหารขบเคี้ยว
ชนิดอบพอง
(4) ขนมปังกรอบ/แครกเกอร์/
บิสกิต และ
(5) เวเฟอร์สอดไส้
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะต้องแสดงฉลาก
โภชนาการและข้อความ
“บริโภคแต่น้อย และออกกำลังกาย
เพื่อสุขภาพ” โดยประกาศฯ จะมี
ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 ธ.ค.
2550 และให้ใช้ฉลากเดิมที่เหลือ
อยู่ได้ไม่เกิน 3 ปีนับจากวันที่
ประกาศฯ นี้ใช้บังคับ
2) การดำเนินการรองรับการออก
ประกาศฯ
(2.1) เตรียมความพร้อมผู้
ประกอบการและเจ้าหน้าที่โดย
ทำคู่มือการจัดทำฉลากโภชนาการ
(2.2) การรณรงค์ให้ความรู้แก่
ผู้บริโภค โดยทำสื่อต่าง ๆ เช่น
เพลงรณรงค์ลดการบริโภคหวาน
มัน เค็ม ring tone ธงชัก
(roll up) เป็นต้น
2. กรมอนามัย 1) ประชุมภาคีเครือข่ายผลักดันตรา
สัญลักษณ์โภชนาการ อย่างง่ายในขนม
คบเคี้ยว โดยใช้เป็นสัญลักษณ์ไฟจราจร ดำเนินการต่อเนื่อง
เพื่อเป็นข้อมูลปริมาณสารอาหารพลังงาน
ให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหาร
ให้ถูกต้อง และเหมาะสม
3. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ดำเนินการตรวจสอบผู้ประกอบธุรกิจ 1) ดำเนินการสร้างความเข้า
คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ที่จัดให้มีการแถมพกหรือรางวัลด้วยการ ใจกับผู้ประกอบธุรกิจที่ผลิต
เสี่ยงโชค ตามข้อ(4) แห่งกฎกระทรวง ขนมเด็กให้ตระหนักถึงความ
ฉบับที่ 5 ( พ.ศ. 2534) ออกตามใน รับผิดชอบต่อผู้บริโภค โดย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เฉพาะเด็กเล็ก
พ.ศ. 2522 อย่างต่อเนื่อง 2) ดำเนินการปรึกษาหารือ
ร่วมกันจัดทำบันทึกความร่วมมือ
กับผู้ผลิตขนมสำหรับเด็ก เพื่อ
ให้มีการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ
3) รณรงค์ให้ความรู้กับเด็ก
ผู้ปกครอง และครูอาจารย์
เกี่ยวกับเรื่องขนมเด็ก
อย่างต่อเนื่อง
2. การจำกัดการขายขนมเด็ก 1. สำนักงานคณะกรรมการ 1) จัดสัมมนาครูเครือข่ายการคุ้มครอง
ในโรงเรียน และสถานศึกษา คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ผู้บริโภคในสถานศึกษา จำนวน 5 ครั้ง ดำเนินการต่อเนื่อง
รวมจำนวน 1,630 คน เพื่อเน้นย้ำ
ให้ครูนำความรู้ด้านสินค้าที่อาจเป็น
อันตรายต่อเด็กและเยาวชนไปเผยแพร่
แก่นักเรียนให้พึงระวัง และตระหนักใน
การอ่านฉลากสินค้า/ฉลากโภชนาการ
ก่อนการเลือกซื้อ และบริโภคสินค้า
เพื่อป้องกันภัยอันอาจเกิดขึ้นได้
2. สำนักบริหารงาน 1) จัดประชุมปฏิบัติการสร้างนักเรียน 1) ส่งเสริม และสนับสนุนให้
คณะกรรมการส่งเสริมการ แกนนำในการดำเนินการอาหารปลอดภัย โรงเรียนเอกชนทุกโรงเรียน
ศึกษาเอกชน ในโรงเรียน เช่น รณรงค์เรื่องการ เข้าร่วมโครงการโรงเรียน
ขายน้ำอัดลม และขนมกรุบกรอบใน ส่งเสริมสุขภาพร่วมกับ
โรงเรียนแล้วจำนวน 2 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข
มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน
30 โรงเรียน รวมนักเรียนแกนนำ
70 คน
2) จัดประชุมชี้แจง ผู้บริหารและครู 2) ดำเนินการประเมินโรงเรียน
ที่ทำหน้าที่โภชนาการโรงเรียนในเขต ส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์
กทม.จำนวน 400 แห่ง เพื่อ มาตรฐาน ซึ่งมีความครอบคลุม
ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และขอความ องค์ประกอบต่างๆ ทั้งสุขอนามัย
ร่วมมือโรงเรียนในการขายขนมที่มี สุขศึกษา สิ่งแวดล้อมโภชนาการ
คุณค่าทางโภชนาการแทนการ และอาหารปลอดภัยของ
ขายน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
ขนมขบเคี้ยว และอาหารที่มีผลเสีย
ต่อสุขภาพของนักเรียน
3. การดูแลการโฆษณา 1. กรมประชาสัมพันธ์ 1) นำมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 เมษายน
ขนมเด็ก 2550 เกี่ยวกับปัญหาขนมเด็กกับ
กับสุขภาพเด็กเข้าที่ประชุม
ประชุมคณะกรรมการกิจการวิทยุ
กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ
(กกช.) และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์
การโฆษณาที่มีผลกระทบต่อเด็ก
และเยาวชนทางสถานีวิทยุกระจายเสียง
และวิทยุโทรทัศน์ โดยมีนายแพทย์ยงยุทธ
วงศ์ภิรมย์ศานติ์ เป็นประธาน มีผู้ทรง
คุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญด้าน กฎหมาย ด้าน
วิชาการ และสื่อสารมวลชนเป็น
อนุกรรมการ
2) ทำประชาพิจารณ์สองครั้ง เพื่อเปิด
รับฟังความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆ
และนำมาจัดทำร่างประกาศ
กรมประชาสัมพันธ์
3) ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการวิทยุ
กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ
ได้มีมติเห็นชอบร่างประกาศกรม
ประชาสัมพันธ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และ
ระยะเวลาสำหรับการโฆษณาและ
บริการธุรกิจทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่มี
ผลกระทบต่อเด็ก พร้อมกับให้กรม-
ประชาสัมพันธ์ดำเนินการชี้แจงทำความ
เข้าใจกับสถานีและผู้ประกอบการโฆษณา
โดยใช้วิธีการมีส่วนร่วมและหลักการ
กำกับดูแลตนเอง ก่อนออกประกาศให้มี
ผลบังคับใช้ในปี 2550
4) กรมประชาสัมพันธ์ได้ดำเนินการ
ตามขั้นตอนก่อนออกประกาศให้มี
ผลบังคับใช้ดังนี้
4.1 ทำหนังสือแจ้งเวียนสถานีวิทยุ-
โทรทัศน์ทุกสถานีให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และระยะเวลาสำหรับการโฆษณาและ
บริการธุรกิจทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่มี
ผลกระทบต่อเด็ก เป็นเวลา 3 เดือน
(กันยายน — พฤศจิกายน) และ
ประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์
ดังกล่าวให้สามารถนำไปปฏิบัติได้
จากนั้นจึงออกประกาศกรมประชาสัมพันธ์
บังคับใช้ต่อไป
4.2 จัดประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจ
เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และระยะเวลาสำหรับ
การโฆษณาและบริการธุรกิจทางสถานี
โทรทัศน์ที่มีผลกระทบต่อเด็ก แก่สถานี
โทรทัศน์ทุกสถานี ผู้ประกอบการโฆษณา
“สมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย”
อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน จากนั้น
จึงออกประกาศกรมประชาสัมพันธ์ให้มี
ผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการต่อไป
2. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ดำเนินการทบทวนประกาศ สำนักงาน - จัดตั้งคณะทำงานพิจารณา
อาหารและยาและกรมอนามัย คณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วย ทบทวนประกาศ ฯ เรื่องการ
หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร รวมทั้ง โฆษณาอาหารและการโฆษณา
ขนมเด็ก โดยต้องพิจารณาว่าการกำหนด ขนมเด็กโดยมีทั้งภาครัฐ
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขในการโฆษณา รวมทั้ง ภาคเอกชน ภาคประชาชน
การห้ามโฆษณาเป็นไปตามหลักกฎหมาย เข้ามามีส่วนให้ความเห็นด้วย
ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
มีอำนาจออกประกาศกำหนดเกณฑ์โฆษณา
เด็กเฉพาะที่มีการกล่าวอ้างสรรพคุณ
คุณประโยชน์ คุณภาพอาหารตามมาตรา 41
แห่ง พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522
เท่านั้น
4. การส่งเสริมขนมเด็ก 3. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ดำเนินการตรวจสอบผู้ประกอบธุรกิจ ดำเนินการต่อเนื่อง
ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ คุ้มครองผู้บริโภค ที่จัดให้มีการแถมพกหรือรางวัลด้วยการ
เสี่ยงโชคตาม (4) แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 5
( พ.ศ. 2534) ออกตามในพระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 อย่างต่อเนื่อง
1. สำนักงานคณะกรรมการ 1) ให้ความรู้และการศึกษาแก่ผู้บริโภค - จะดำเนินการส่งเสริมและ
คุ้มครองผู้บริโภค บริโภค โดยเขียนและเผยแพร่บทความ สนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้
เรื่อง “ โฆษณาขนมเด็ก เพื่อเด็กหรือ บริโภคในเรื่องดังกล่าวในทุก
เพื่อใคร...” ส่งไปยังสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ระดับการศึกษาเกี่ยวกับ
และอินเตอร์เน็ต ความปลอดภัยและอันตรายที่
อาจได้รับจากสินค้าต่าง ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับ
ขนมเด็กอย่าง ต่อเนื่อง
2) สำนักบริหารงาน ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูโภชนาการ
คณะกรรมการส่งเสริม ในโรงเรียน 400 โรงเรียน เพื่อ
การศึกษาเอกชน ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และขอความร่วมมือ
ในการขายขนมที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
แทนการขายน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ
ขนมขบเคี้ยว และอาหารที่มีผลเสียต่อ
สุขภาพนักเรียน
3) กรมอนามัย 1) การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ขนมเด็กทาง
เลือกที่ดีเพื่อสุขภาพระดับ pilot scale
จากผลการดำเนินโครงการ “ เครือข่าย
ความร่วมมือการพัฒนาและผลิตภัณฑ์ขนม
ขบเคี้ยวเพื่อการควบคุมและป้องกัน
โภชนาการเกินในเด็ก” ในปี
พ.ศ. 2549-2550 ภายใต้แผนงานอาหาร
และโภชนาการเชิงรุก ซึ่งได้รับทุนสนับสนุน
จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ(สสส.) ได้ค้นคิดต้นแบบ
ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่
- บิสกิตถั่วเขียว
- สแน็คเบญจรงค์จากข้าว
- ปลาแผ่นอบกรอบ
ซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีส่วนผสมไขมัน น้ำตาล
และโซเดียมในปริมาณต่ำกว่าสูตรทั่วไป
รวมทั้งได้เสริมส่วนผสมที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการ และสารอาหารเพิ่มเติมเข้า
ไปด้วย นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์ขนมต้นแบบ
ที่ผลิตเชิงการค้าอีก 5 ชนิด ได้แก่
- บิสกิตถั่วแดง/ถั่วเขียว
- ปลาแผ่นอบกรอบ
- ธัญพืชอบกรอบ
- สแน็คข้าวโพดผสมแป้งถั่วเหลือง
- แครกเกอร์โฮลวีทผสมแป้งถั่ว
2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมเด็กทางเลือกที่ดี
เพื่อสุขภาพระดับอุตสาหกรรมภายใต้แผนงาน
โภชนาการเชิงรุก ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ(สสส.) เพื่อการให้บริการคำปรึกษา
แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการในระดับโรงงาน
หรือ ณ พื้นที่/ สถานที่ผลิต ในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ขนมที่มีปริมาณไขมัน น้ำตาล และ
โซเดียมต่ำ และเน้นการเพิ่มส่วนผสมจาก
ธรรมชาติ กลุ่มพืชผัก ผลไม้ เมล็ดธัญชาติ
ถั่ว และอื่น ๆ ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
เพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ขนมที่เป็นสูตร
สุขภาพ
กรมอนามัย(ต่อ) บริษัทที่ร่วมโครงการ จำนวน 5 แห่งได้แก่
- บริษัท วาไรตี้ ฟู้ดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล
จำกัด
- บริษัท อุตสาหกรรมอาหาร ส.ขอนแก่น
จำกัด (มหาชน)
- บริษัทโรงงานแม่รวย จำกัด
- บริษัทเวลด์ ฟูดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
- บริษัทไทยเพรสซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด(มหาชน)
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 22 มกราคม 2551--จบ--