1. ขอปรับปรุงองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ
คณะรัฐมนตรีอนุมัติปรับปรุงองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการเสนอ ดังนี้
คณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2549 ที่ขอปรับปรุงใหม่
ก. องค์ประกอบของคณะกรรมการ
1. ศาสตราจารย์สุรพล นิติไกรพจน์ ประธานกรรมการ 1. นายบุญปลูก ชายเกตุ กรรมการที่ปรึกษา
2. รองศาสตราจารย์ศรีราชา เจริญพานิช รองประธาน 2. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ ประธานกรรมการ
กรรมการ
3. รองศาสตราจารย์กมลชัย รัตนสกาววงศ์ กรรมการ 3. นางกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ รองประธานกรรมการ
4. นายจุณวิทย์ ชลิดาพงษ์ กรรมการ 4. รองศาสตราจารย์กมลชัย รัตนสกาววงศ์ กรรมการ
5. นายคมสัน โพธิ์คง กรรมการ 5. นายพงษ์อาจ ตรีกิจวัฒนากุล กรรมการ
6. นายโอภาส เขียววิชัย กรรมการ 6. รองศาสตราจารย์ลาวัลย์ หอนพรัตน์ กรรมการ
7. นายเอกศักดิ์ คงตระกูล กรรมการ 7. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล กรรมการ
8. ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด กรรมการ 8. นายณรงค์เดช สุรโฆษต กรรมการ
9. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ 9. นายพิเศษ สะอาดเย็น กรรมการ
10.ผู้อำนวยการสำนักนิติการ กรรมการ 10. ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด กรรมการ
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และเลขานุการ 11. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
11.นายกิตติรัตน์ มังคละคีรี กรรมการและ 12. นายปริญญา บุญชู อัยการอาวุโส กรรมการ
ผู้ช่วยเลขานุการ 13. ผู้อำนวยการสำนักนิติการ กรรมการและเลขานุการ
12.นางสาววนิดา แสงสารพันธ์ กรรมการและ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ผู้ช่วยเลขานุการ 14. นิติการ สำนักนิติการ สำนักงานปลัด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
กระทรวงศึกษาธิการ (จำนวนไม่เกิน 2คน)
ข. อำนาจหน้าที่
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะ ปัญหาข้อกฎหมายตามที่รัฐมนตรีว่า 1. ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะ ปัญหาข้อกฎหมายตามที่รัฐมนตรีว่า
การกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือ
หรือหัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการขอหารือ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการขอหารือ
2. พิจารณาให้ข้อเสนอแนะในเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายที่อาจมีผลกระทบ 2. พิจารณาให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนิน
ต่อการปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการแก่รัฐมนตรีว่าการ การตามภารกิจที่กระทรวงศึกษาธิการต้องดำเนินการ ตามรัฐ
กระทรวงศึกษาธิการและหัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การพัฒนากฎหมายและการ
ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบของกระทรวง
ศึกษาธิการแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
3. การประชุมกรรมการ ประธานกรรมการอาจเชิญกรรมการเฉพาะ 3. การประชุมกรรมการ ประธานกรรมการอาจเชิญกรรมการทั้งคณะ
ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องพิจารณาหรือกรรมการทั้งคณะมาประชุม หรือกรรมการบางคน ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะต้องพิจารณา
ร่วมกันก็ได้ ทั้งนี้จะต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม มาประชุมร่วมกันก็ได้ ทั้งนี้จะต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า
ของจำนวนกรรมการที่ได้รับเชิญหรือกรรมการทั้งหมดแล้วแต่กรณีจึง หนึ่งในสามของจำนวนกรรมการที่ได้รับเชิญหรือกรรมการทั้งหมดแล้ว
จะครบองค์ประชุม รวมทั้งจะต้องเชิญผู้ที่หน่วยงานเจ้าของเรื่อง แต่กรณี จึงจะครบองค์ประชุมและอาจเชิญผู้แทนส่วนราชการที่
กำหนดเข้าร่วมประชุมด้วย เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมด้วยก็ได้
4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อดำเนินการใด ๆ ตาม 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อดำเนินการใด ๆ
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของ
กระทรวงศึกษาธิการ
2. แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะรัฐมนตรีอนุมัติเป็นหลักการในการมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล) เป็นผู้รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่า
การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้ตามมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ตามที่กระทรวงวิทยาศาสตร์เสนอ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 4 มีนาคม 2551--จบ--
คณะรัฐมนตรีอนุมัติปรับปรุงองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการเสนอ ดังนี้
คณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2549 ที่ขอปรับปรุงใหม่
ก. องค์ประกอบของคณะกรรมการ
1. ศาสตราจารย์สุรพล นิติไกรพจน์ ประธานกรรมการ 1. นายบุญปลูก ชายเกตุ กรรมการที่ปรึกษา
2. รองศาสตราจารย์ศรีราชา เจริญพานิช รองประธาน 2. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ ประธานกรรมการ
กรรมการ
3. รองศาสตราจารย์กมลชัย รัตนสกาววงศ์ กรรมการ 3. นางกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ รองประธานกรรมการ
4. นายจุณวิทย์ ชลิดาพงษ์ กรรมการ 4. รองศาสตราจารย์กมลชัย รัตนสกาววงศ์ กรรมการ
5. นายคมสัน โพธิ์คง กรรมการ 5. นายพงษ์อาจ ตรีกิจวัฒนากุล กรรมการ
6. นายโอภาส เขียววิชัย กรรมการ 6. รองศาสตราจารย์ลาวัลย์ หอนพรัตน์ กรรมการ
7. นายเอกศักดิ์ คงตระกูล กรรมการ 7. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล กรรมการ
8. ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด กรรมการ 8. นายณรงค์เดช สุรโฆษต กรรมการ
9. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ 9. นายพิเศษ สะอาดเย็น กรรมการ
10.ผู้อำนวยการสำนักนิติการ กรรมการ 10. ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด กรรมการ
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และเลขานุการ 11. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
11.นายกิตติรัตน์ มังคละคีรี กรรมการและ 12. นายปริญญา บุญชู อัยการอาวุโส กรรมการ
ผู้ช่วยเลขานุการ 13. ผู้อำนวยการสำนักนิติการ กรรมการและเลขานุการ
12.นางสาววนิดา แสงสารพันธ์ กรรมการและ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ผู้ช่วยเลขานุการ 14. นิติการ สำนักนิติการ สำนักงานปลัด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
กระทรวงศึกษาธิการ (จำนวนไม่เกิน 2คน)
ข. อำนาจหน้าที่
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะ ปัญหาข้อกฎหมายตามที่รัฐมนตรีว่า 1. ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะ ปัญหาข้อกฎหมายตามที่รัฐมนตรีว่า
การกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือ
หรือหัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการขอหารือ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการขอหารือ
2. พิจารณาให้ข้อเสนอแนะในเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายที่อาจมีผลกระทบ 2. พิจารณาให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนิน
ต่อการปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการแก่รัฐมนตรีว่าการ การตามภารกิจที่กระทรวงศึกษาธิการต้องดำเนินการ ตามรัฐ
กระทรวงศึกษาธิการและหัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การพัฒนากฎหมายและการ
ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบของกระทรวง
ศึกษาธิการแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
3. การประชุมกรรมการ ประธานกรรมการอาจเชิญกรรมการเฉพาะ 3. การประชุมกรรมการ ประธานกรรมการอาจเชิญกรรมการทั้งคณะ
ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องพิจารณาหรือกรรมการทั้งคณะมาประชุม หรือกรรมการบางคน ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะต้องพิจารณา
ร่วมกันก็ได้ ทั้งนี้จะต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม มาประชุมร่วมกันก็ได้ ทั้งนี้จะต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า
ของจำนวนกรรมการที่ได้รับเชิญหรือกรรมการทั้งหมดแล้วแต่กรณีจึง หนึ่งในสามของจำนวนกรรมการที่ได้รับเชิญหรือกรรมการทั้งหมดแล้ว
จะครบองค์ประชุม รวมทั้งจะต้องเชิญผู้ที่หน่วยงานเจ้าของเรื่อง แต่กรณี จึงจะครบองค์ประชุมและอาจเชิญผู้แทนส่วนราชการที่
กำหนดเข้าร่วมประชุมด้วย เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมด้วยก็ได้
4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อดำเนินการใด ๆ ตาม 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อดำเนินการใด ๆ
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายของ
กระทรวงศึกษาธิการ
2. แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะรัฐมนตรีอนุมัติเป็นหลักการในการมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล) เป็นผู้รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่า
การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้ตามมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ตามที่กระทรวงวิทยาศาสตร์เสนอ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 4 มีนาคม 2551--จบ--