คณะรัฐมนตรีรับทราบประมวลข้อสังเกตและข้อเสนอแนะต่อคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ตามที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่วุฒิสภา
เสนอ และมอบให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องรับไปพิจารณาดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่วุฒิสภา เสนอว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดให้คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการ
แผ่นดิน ต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา และชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่วุฒิสภาจึงได้จัดสัมมนา
ระดมความคิดเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและคณะกรรมาธิการ เพื่อพิจารณาศึกษาเรื่องต่าง ๆ ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา โดยสรุปข้อ
สังเกตและข้อเสนอแนะต่อคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ประมวลเป็นความเห็นของสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบการอภิปรายในการแถลง
นโยบายของคณะรัฐมนตรีด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
3. นโยบายเศรษฐกิจ
4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี
และเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง จึงได้เสนอประมวลข้อสังเกตและข้อเสนอแนะมาเพื่อดำเนินการ
สรุปประมวลความเห็นและข้อเสนอแนะต่อคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี
นโยบาย ข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะ - ควรกำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินการตลอดจน
เริ่มดำเนินการในปีแรก สนับสนุนให้มีการพัฒนาการเมืองภาคประชาชน ตามกฎหมายว่า
1) สร้างความปรองดอง สมานฉันท์ด้วยสภาพัฒนาการเมืองอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย - วัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทยยังอยู่ในเครือข่ายของผู้มี
อิทธิพลท้องถิ่น ไม่พึ่งตนเอง
- ประเทศที่เป็นเผด็จการ ก็มีการเลือกตั้ง มีสภา มีรัฐธรรมนูญ
- ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย อำนาจของพรรคการ
เมืองที่ชนะการเลือกตั้งเป็นอำนาจที่ประชาชน มอบให้ชั่วคราวซึ่ง
หากใช้ไม่ถูกต้องประชาชนขอคืนได้
- การเลือกตั้งเป็นการเลือกลูกจ้าง ไม่ใช่เลือกนาย
- ควรจะให้ความสำคัญและมีนโยบายชัดเจนในการปฏิรูปการเมือง
การปกครองให้เป็นประชาธิปไตย และควรให้ข้อเท็จจริงแก่
ประชาชนเพื่อสร้างจิตสำนึกและวัฒนธรรมทางการเมือง
- ควรเพิ่มเติมนโยบายเกี่ยวกับการปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปชั่นด้วย
2) การเพิ่มศักยภาพของกองทุน - ควรเสริมให้มีการเรียนรู้จากกองทุนที่ประสบความสำเร็จ สำนักงานคณกรรมการ
หมู่บ้านและชุมชนเมือง - ผลกำไรนำมาเป็นสวัสดิการของคนในชุมชน กองทุนหมู่บ้านและชุมชน
ไม่ใช่เฉพาะสมาชิก เมืองแห่งชาติ
3) การจัดสรรงบประมาณตาม - ให้ชาวบ้านบริหารจัดการ แต่ราชการคอยติดตามสนับสนุน สำนักงบประมาณ
ขนาดของประชากร ต่อยอดทุนทางสังคมเดิมที่มี
4) สานต่อธนาคารประชาชน - ควรให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ทั้งที่ดีและไม่ดี
- ควรสนับสนุนกลุ่มที่ดำเนินการเองอย่างต่อเนื่อง
5) สร้างโอกาสให้ประชาชนได้ - ควรสานต่อบ้านมั่นคงโดยชุมชนร่วมกันดำเนินการ กระทรวงการพัฒนา
มีที่อยู่อาศัยอย่างทั่วถึง และรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สังคมฯ
6) วางระบบการถือครองที่ดินและ - ควรบูรณาการกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ดินและป่าไม้ กระทรวงมหาดไทย
กำหนดแนวเขตการใช้ที่ดินให้ทั่วถึง - แก้ไขกฎหมายและระเบียบที่ไม่อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง
และเป็นธรรม และไม่อำนวยความยุติธรรม
- แก้ไขกฎหมายให้มีการกำหนดจำนวนการถือครองที่ดินของบุคคล
และนิติบุคล
- ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางและ
ดำเนินการแก้ไขปัญหา
7) ขยายพื้นที่ของชลประทาน - เร่งรัดออกกฎหมายการบริหารทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรฯ
และเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน - โครงการขนาดใหญ่ควรเริ่มศึกษาความเป็นไปได้ทันที
ส่วนการก่อสร้างควรเริ่มเมื่อพร้อม
2. นโยบายสังคมและ - ควรมีนโยบายชัดเจนในการส่งคนไปทำงานต่างประเทศ กระทรวงแรงงาน
คุณภาพชีวิต - ควรจ้างเฉพาะงานที่ขาดแคลนจริง ๆ
1) ด้านแรงงานและ - ปรับค่าจ้างขั้นต่ำให้ได้มาตรฐานเท่ากันทุกจังหวัด
สวัสดิการสังคม - ควรมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย
สภาพแวดล้อมในการทำงาน
- ควรมีกฎหมายคุ้มครองแรงงานโดยเฉพาะการรับงานไป ทำที่บ้าน
- การใช้กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ควรจะมีฉบับเดียวเพื่อให้ง่าย
ต่อการปฏิบัติ
2) การพัฒนาสุขภาพ - ควรกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาทุกเรื่องอย่างจริงจัง กระทรวงสาธารณสุข
ของประชาชน - ควรกำหนดนโยบายเกี่ยวกับสิทธิบัตรยาให้ชัดเจน
- ควรผลักดันกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหายจากการบริหาร สาธารณสุข
และกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถที่ สนช. ยกร่างขึ้นใหม่
เสนอต่อรัฐบาลชุดที่แล้ว
3) การกระจายอำนาจและ - ควรมีนโยบายให้ชัดเจนว่าภาครัฐหรือสถานีอนามัย สำนักงานปลัดสำนักนายก
กระจายบริการสาธารณะให้ ควรมีการปรับรูปแบบการบริหารหรือการถ่ายโอนให้ อปท.อย่างไร รัฐมนตรี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.)
4) ด้านศาสนา ศิลป - ควรส่งเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนาของพระภิกษุ สำนักงานพระพุทธศาสนา
และวัฒนธรรม การเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา และการบวชเรียนระยะสั้น แห่งชาติ
- ควรโอนเรื่องการพระพุทธศาสนาทั้งหมดมาอยู่ในความดูแล
ของมหาเถรสมาคม
5) ด้านความมั่นคงของชีวิต - ควรทำความเข้าใจกับนานาชาติเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรค กระทรวงการพัฒนา
และสังคม ในการป้องกันปราบปรามการค้ามนุษย์ และสนับสนุนการบังคับใช้ สังคมฯ
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2550
3. นโยบายเศรษฐกิจ - ควรปรับปรุงการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ กระทรวงการคลัง
1) ด้านการเงินการคลัง โดยการนำภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมาใช้แทน
2) การปรับโครงสร้าง - ควรกำหนดนโยบายและกำหนดพื้นที่ในการปลูกพืชพลังงานทดแทน กระทรวงเกษตรและ
เศรษฐกิจ ให้ชัดเจน สหกรณ์,กระทรวง พลังงาน
- ควรมีการประสานงานระหว่างภาครัฐ ภาคเกษตรกรรม
และภาคเอกชนในการปรับโครงสร้างภาคการเกษตรเกี่ยวกับพืชพลัง
งานทดแทน
- ควรกำหนดนโยบายผลิตพืชพลังงานทดแทนให้มีจำนวนที่เพียงพอ
- ควรกำหนดให้มีองค์กรเจ้าภาพเกี่ยวกับการบริหารจัดการ
- ควรเร่งรัดให้ผู้เกี่ยวข้องร่วมกับทบทวนยุทธศาสตร์แนวทางและ
เป้าหมายการผลิตการตลาดและการใช้ประโยชน์จากพืช
พลังงานให้ชัดเจน
- ควรกำหนดให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อเตรียมหาพืชพลังงานอื่นเพิ่มเติม
- ควรกำหนดให้มีคณะกรรมการกลางกำกับดูแลการกำหนดยุทธศาสตร์
3) การพลังงาน - ควรเร่งรัดจัดทำกฎหมายเกี่ยวกับการกำกับดูแลความปลอดภัย กระทรวพลังงาน,
จากพลังงานปรมาณู กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
-ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีบุคลากรด้านพลังงานนิวเคลียร์เพิ่มขึ้นและให้
ความรู้แก่ประชาชนในการใช้พลังงานนิวเคลียร์
- ส่งเสริมการวิจัยต้นแบบการใช้พลังงานต่าง ๆ
4) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - ควรปรับโครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีฯ ให้สอดคล้องกับพันธกิจของ กระทรวงเทคโนโลยีฯ
กระทรวง สถานการณ์ปัจจุบันและเพิ่มทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้อง
กับปริมาณงาน
- ควรจัดสรรทุกด้านการวิจัยและพัฒนาด้าน ICT
- จัดให้มีโครงการระดับชาติขนาดใหญ่ในเชิงรุกที่มีการพัฒนาซอฟแวร์
ให้ทั่วถึง
- ให้มีการร่วมมือและประสานงานหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับซอฟแวร์
4. นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ -ควรเร่งรัดออกกฎหมายทรัพยากรน้ำ กฎหมายส่งเสริมการบริหาร กระทรวงทรัพยากรฯ
และสิ่งแวดล้อม จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
- ควรส่งเสริมให้ชุมชนนำขยะมาเปลี่ยนเป็นพลังงานหรือปุ๋ย
- ควรส่งเสริมให้ทุกชุมชนลดปริมาณขยะอย่างเป็นรูปธรรม
- ควรเร่งรัดปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับป่าไม้
5. นโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี - ให้มีการปฏิรูปในการบริหารจัดการ (กพร.) กระทรวงเทคโนโลยีฯ
และนวัตกรรม - ส่งเสริมสนับสนุนและเปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มีส่วนได้เสียเข้ามา กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
- จัดให้มีโครงการระดับชาติ
6. นโยบายการต่างประเทศและ - กรณีเขาพระวิหาร ควรทำความเข้าใจให้กัมพูชาประสานกับฝ่าย กระทรวงการต่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ไทยในฐานะมีส่วนเกี่ยวข้องทางภูมิศาสตร์และการคมนาคมทางกายภาพ
- ให้ความสำคัญเป็นพิเศษในเรื่องนโยบายการต่างประเทศและ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
- จัดตั้งคณะติดตามผลอย่างใกล้ชิดต่อกิจกรรมที่ปฏิบัติโดย FTA
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 มีนาคม 2551--จบ--
เสนอ และมอบให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องรับไปพิจารณาดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่วุฒิสภา เสนอว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดให้คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการ
แผ่นดิน ต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา และชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่วุฒิสภาจึงได้จัดสัมมนา
ระดมความคิดเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและคณะกรรมาธิการ เพื่อพิจารณาศึกษาเรื่องต่าง ๆ ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา โดยสรุปข้อ
สังเกตและข้อเสนอแนะต่อคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ประมวลเป็นความเห็นของสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบการอภิปรายในการแถลง
นโยบายของคณะรัฐมนตรีด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
3. นโยบายเศรษฐกิจ
4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี
และเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง จึงได้เสนอประมวลข้อสังเกตและข้อเสนอแนะมาเพื่อดำเนินการ
สรุปประมวลความเห็นและข้อเสนอแนะต่อคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี
นโยบาย ข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะ - ควรกำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินการตลอดจน
เริ่มดำเนินการในปีแรก สนับสนุนให้มีการพัฒนาการเมืองภาคประชาชน ตามกฎหมายว่า
1) สร้างความปรองดอง สมานฉันท์ด้วยสภาพัฒนาการเมืองอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย - วัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทยยังอยู่ในเครือข่ายของผู้มี
อิทธิพลท้องถิ่น ไม่พึ่งตนเอง
- ประเทศที่เป็นเผด็จการ ก็มีการเลือกตั้ง มีสภา มีรัฐธรรมนูญ
- ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย อำนาจของพรรคการ
เมืองที่ชนะการเลือกตั้งเป็นอำนาจที่ประชาชน มอบให้ชั่วคราวซึ่ง
หากใช้ไม่ถูกต้องประชาชนขอคืนได้
- การเลือกตั้งเป็นการเลือกลูกจ้าง ไม่ใช่เลือกนาย
- ควรจะให้ความสำคัญและมีนโยบายชัดเจนในการปฏิรูปการเมือง
การปกครองให้เป็นประชาธิปไตย และควรให้ข้อเท็จจริงแก่
ประชาชนเพื่อสร้างจิตสำนึกและวัฒนธรรมทางการเมือง
- ควรเพิ่มเติมนโยบายเกี่ยวกับการปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปชั่นด้วย
2) การเพิ่มศักยภาพของกองทุน - ควรเสริมให้มีการเรียนรู้จากกองทุนที่ประสบความสำเร็จ สำนักงานคณกรรมการ
หมู่บ้านและชุมชนเมือง - ผลกำไรนำมาเป็นสวัสดิการของคนในชุมชน กองทุนหมู่บ้านและชุมชน
ไม่ใช่เฉพาะสมาชิก เมืองแห่งชาติ
3) การจัดสรรงบประมาณตาม - ให้ชาวบ้านบริหารจัดการ แต่ราชการคอยติดตามสนับสนุน สำนักงบประมาณ
ขนาดของประชากร ต่อยอดทุนทางสังคมเดิมที่มี
4) สานต่อธนาคารประชาชน - ควรให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ทั้งที่ดีและไม่ดี
- ควรสนับสนุนกลุ่มที่ดำเนินการเองอย่างต่อเนื่อง
5) สร้างโอกาสให้ประชาชนได้ - ควรสานต่อบ้านมั่นคงโดยชุมชนร่วมกันดำเนินการ กระทรวงการพัฒนา
มีที่อยู่อาศัยอย่างทั่วถึง และรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สังคมฯ
6) วางระบบการถือครองที่ดินและ - ควรบูรณาการกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ดินและป่าไม้ กระทรวงมหาดไทย
กำหนดแนวเขตการใช้ที่ดินให้ทั่วถึง - แก้ไขกฎหมายและระเบียบที่ไม่อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง
และเป็นธรรม และไม่อำนวยความยุติธรรม
- แก้ไขกฎหมายให้มีการกำหนดจำนวนการถือครองที่ดินของบุคคล
และนิติบุคล
- ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางและ
ดำเนินการแก้ไขปัญหา
7) ขยายพื้นที่ของชลประทาน - เร่งรัดออกกฎหมายการบริหารทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรฯ
และเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน - โครงการขนาดใหญ่ควรเริ่มศึกษาความเป็นไปได้ทันที
ส่วนการก่อสร้างควรเริ่มเมื่อพร้อม
2. นโยบายสังคมและ - ควรมีนโยบายชัดเจนในการส่งคนไปทำงานต่างประเทศ กระทรวงแรงงาน
คุณภาพชีวิต - ควรจ้างเฉพาะงานที่ขาดแคลนจริง ๆ
1) ด้านแรงงานและ - ปรับค่าจ้างขั้นต่ำให้ได้มาตรฐานเท่ากันทุกจังหวัด
สวัสดิการสังคม - ควรมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย
สภาพแวดล้อมในการทำงาน
- ควรมีกฎหมายคุ้มครองแรงงานโดยเฉพาะการรับงานไป ทำที่บ้าน
- การใช้กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ควรจะมีฉบับเดียวเพื่อให้ง่าย
ต่อการปฏิบัติ
2) การพัฒนาสุขภาพ - ควรกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาทุกเรื่องอย่างจริงจัง กระทรวงสาธารณสุข
ของประชาชน - ควรกำหนดนโยบายเกี่ยวกับสิทธิบัตรยาให้ชัดเจน
- ควรผลักดันกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหายจากการบริหาร สาธารณสุข
และกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถที่ สนช. ยกร่างขึ้นใหม่
เสนอต่อรัฐบาลชุดที่แล้ว
3) การกระจายอำนาจและ - ควรมีนโยบายให้ชัดเจนว่าภาครัฐหรือสถานีอนามัย สำนักงานปลัดสำนักนายก
กระจายบริการสาธารณะให้ ควรมีการปรับรูปแบบการบริหารหรือการถ่ายโอนให้ อปท.อย่างไร รัฐมนตรี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.)
4) ด้านศาสนา ศิลป - ควรส่งเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนาของพระภิกษุ สำนักงานพระพุทธศาสนา
และวัฒนธรรม การเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา และการบวชเรียนระยะสั้น แห่งชาติ
- ควรโอนเรื่องการพระพุทธศาสนาทั้งหมดมาอยู่ในความดูแล
ของมหาเถรสมาคม
5) ด้านความมั่นคงของชีวิต - ควรทำความเข้าใจกับนานาชาติเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรค กระทรวงการพัฒนา
และสังคม ในการป้องกันปราบปรามการค้ามนุษย์ และสนับสนุนการบังคับใช้ สังคมฯ
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2550
3. นโยบายเศรษฐกิจ - ควรปรับปรุงการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ กระทรวงการคลัง
1) ด้านการเงินการคลัง โดยการนำภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมาใช้แทน
2) การปรับโครงสร้าง - ควรกำหนดนโยบายและกำหนดพื้นที่ในการปลูกพืชพลังงานทดแทน กระทรวงเกษตรและ
เศรษฐกิจ ให้ชัดเจน สหกรณ์,กระทรวง พลังงาน
- ควรมีการประสานงานระหว่างภาครัฐ ภาคเกษตรกรรม
และภาคเอกชนในการปรับโครงสร้างภาคการเกษตรเกี่ยวกับพืชพลัง
งานทดแทน
- ควรกำหนดนโยบายผลิตพืชพลังงานทดแทนให้มีจำนวนที่เพียงพอ
- ควรกำหนดให้มีองค์กรเจ้าภาพเกี่ยวกับการบริหารจัดการ
- ควรเร่งรัดให้ผู้เกี่ยวข้องร่วมกับทบทวนยุทธศาสตร์แนวทางและ
เป้าหมายการผลิตการตลาดและการใช้ประโยชน์จากพืช
พลังงานให้ชัดเจน
- ควรกำหนดให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อเตรียมหาพืชพลังงานอื่นเพิ่มเติม
- ควรกำหนดให้มีคณะกรรมการกลางกำกับดูแลการกำหนดยุทธศาสตร์
3) การพลังงาน - ควรเร่งรัดจัดทำกฎหมายเกี่ยวกับการกำกับดูแลความปลอดภัย กระทรวพลังงาน,
จากพลังงานปรมาณู กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
-ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีบุคลากรด้านพลังงานนิวเคลียร์เพิ่มขึ้นและให้
ความรู้แก่ประชาชนในการใช้พลังงานนิวเคลียร์
- ส่งเสริมการวิจัยต้นแบบการใช้พลังงานต่าง ๆ
4) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - ควรปรับโครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีฯ ให้สอดคล้องกับพันธกิจของ กระทรวงเทคโนโลยีฯ
กระทรวง สถานการณ์ปัจจุบันและเพิ่มทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้อง
กับปริมาณงาน
- ควรจัดสรรทุกด้านการวิจัยและพัฒนาด้าน ICT
- จัดให้มีโครงการระดับชาติขนาดใหญ่ในเชิงรุกที่มีการพัฒนาซอฟแวร์
ให้ทั่วถึง
- ให้มีการร่วมมือและประสานงานหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับซอฟแวร์
4. นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ -ควรเร่งรัดออกกฎหมายทรัพยากรน้ำ กฎหมายส่งเสริมการบริหาร กระทรวงทรัพยากรฯ
และสิ่งแวดล้อม จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
- ควรส่งเสริมให้ชุมชนนำขยะมาเปลี่ยนเป็นพลังงานหรือปุ๋ย
- ควรส่งเสริมให้ทุกชุมชนลดปริมาณขยะอย่างเป็นรูปธรรม
- ควรเร่งรัดปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับป่าไม้
5. นโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี - ให้มีการปฏิรูปในการบริหารจัดการ (กพร.) กระทรวงเทคโนโลยีฯ
และนวัตกรรม - ส่งเสริมสนับสนุนและเปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มีส่วนได้เสียเข้ามา กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
- จัดให้มีโครงการระดับชาติ
6. นโยบายการต่างประเทศและ - กรณีเขาพระวิหาร ควรทำความเข้าใจให้กัมพูชาประสานกับฝ่าย กระทรวงการต่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ไทยในฐานะมีส่วนเกี่ยวข้องทางภูมิศาสตร์และการคมนาคมทางกายภาพ
- ให้ความสำคัญเป็นพิเศษในเรื่องนโยบายการต่างประเทศและ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
- จัดตั้งคณะติดตามผลอย่างใกล้ชิดต่อกิจกรรมที่ปฏิบัติโดย FTA
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 มีนาคม 2551--จบ--