คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง ตลอดจนการให้
ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงปัจจุบัน (วันที่ 25 เมษายน 2551) ดังนี้
1. สรุปสถานการณ์ภัยแล้งและการให้ความช่วยเหลือ (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 25 เมษายน 2551)
1.1 พื้นที่ประสบภัย 47 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแพร่ น่าน เชียงราย อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ ลำปาง ตาก กำแพงเพชร
สุโขทัย ลำพูน พะเยา นครสวรรค์ แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี พิจิตร ศรีสะเกษ ขอนแก่น เลย บุรีรัมย์ นครพนม อุดรธานี มหาสารคาม
ยโสธร อุบลราชธานี มุกดาหาร กาฬสินธุ์ หนองบัวลำภู สุรินทร์ ชัยภูมิ สกลนคร หนองคาย นครราชสีมา อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด
สระบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี ชัยนาท ลพบุรี ระยอง นครนายก สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และจันทบุรี
รวม 450 อำเภอ 2,191 ตำบล 15,198 หมู่บ้าน (คิดเป็น 26.65 % ของหมู่บ้านใน 47 จังหวัด และคิดเป็น 20.42 % ของหมู่บ้านทั้ง
ประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย ราษฎรประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 15 131 608 4,100 แพร่ น่าน เชียงราย 463,304 1,547,549
ลำปาง กำแพงเพชร
สุโขทัย อุตรดิตถ์ ตาก
เชียงใหม่ ลำพูน พะเยา
นครสวรรค์ แม่ฮ่องสอน
อุทัยธานี และพิจิตร
2 ตะวันออก 19 235 1,171 8,446 ศรีสะเกษ ขอนแก่น เลย 1,214,029 5,600,161
เฉียงเหนือ บุรีรัมย์ นครพนม อุดรธานี
มหาสารคาม ยโสธร
อุบลราชธานี กาฬสินธุ์
มุกดาหาร หนองบัวลำภู
สุรินทร์ ชัยภูมิ สกลนคร
ร้อยเอ็ด หนองคาย
นครราชสีมา และอำนาจเจริญ
3 กลาง 7 46 218 1,565 สระบุรี เพชรบุรี สุพรรณบุรี 146,598 607,165
ราชบุรี กาญจนบุรี ชัยนาท
และลพบุรี
4 ตะวันออก 6 38 194 1,087 ระยอง นครนายก สระแก้ว 115,468 349,559
ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี
รวมทั้งประเทศ 47 450 2,191 15,198 1,939,399 8,104,434
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ที่ ภาค จำนวนหมู่บ้าน 4 เม.ย. 2551 11 เม.ย. 2551 18 เม.ย. 2551 25 เม.ย. 2551
ทั้งหมด หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม
- ลด - ลด - ลด - ลด
1 เหนือ 16,440 5,084 + 387 5,647 + 563 5,647 - 4,100 - 1,547
2 ตะวันออก 32,830 16,916 + 2,434 17,111 + 195 17,161 + 50 8,446 - 8,715
เฉียงเหนือ
3 กลาง 11,703 1,204 + 67 2,047 + 843 2,004 - 43 1,565 - 439
4 ตะวันออก 4,836 1,417 + 34 1,394 - 23 1,394 - 1,087 - 307
5 ใต้ 8,618 315 + 13 233 - 82 253 + 20 - - 253
รวม 74,427 24,936 + 2,935 26,432 + 1,496 26,459 + 27 15,198 - 11,261
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2551 (รวม 55 จังหวัด 507 อำเภอ 3,249 ตำบล
26,459 หมู่บ้าน) เนื่องจากในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาได้เกิดพายุฤดูร้อนพัดปกคลุมในทุกพื้นที่ทำให้มีฝนตกกระจายเป็นบริเวณกว้าง มีผลกระทบทำให้
จังหวัดที่ประสบภัยแล้งคลี่คลายลงไป 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอ่างทองพิษณุโลก ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา ตราด ระนอง ชุมพร และ
สตูล และหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งลดลง 11,261 หมู่บ้าน
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2551 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ที่ ภาค จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ข้อมูลปี 2550 ข้อมูลปี 2551 เปรียบเทียบข้อมูล
(ณ วันที่ 25 เมษายน 2550) (ณ วันที่ 25 เมษายน 2551) ภัยแล้งปี2550 กับ ปี2551
หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวน คิดเป็น
ประสบ (ของหมู่บ้าน ประสบ (ของหมู่บ้าน หมู่บ้าน ร้อยละ
ภัยแล้ง ทั้งประเทศ) ภัยแล้ง ทั้งประเทศ) + เพิ่ม- ลด
1 เหนือ 16,440 5,280 32.12 4,100 24.94 -1,180 -22.35
2 ตะวันออก 32,830 17,686 53.87 8,446 25.73 -9,240 -52.24
เฉียงเหนือ
3 กลาง 11,703 931 7.96 1,565 13.37 634 68.1
4 ตะวันออก 4,836 1,233 25.5 1,087 22.48 -146 -11.84
5 ใต้ 8,618 1,590 18.45 - - -1,590 -100
รวม 74,427 26,720 35.9 15,198 20.42 -11,522 -43.12
เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2550 มีจังหวัดที่ประสบภัยแล้ง รวม 56 จังหวัด 527 อำเภอ 59 กิ่งฯ 3,322ตำบล
26,720 หมู่บ้าน (พื้นที่ประสบภัยแล้ง 26,720 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 43.34 ของหมู่บ้านทั้งหมดใน 56 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง และคิดเป็นร้อยละ
35.90 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) น้อยกว่าปี 2550 จำนวน 11,522 หมู่บ้าน
1.2 ความเสียหาย
1) ราษฎรเดือดร้อน 1,939,399 ครัวเรือน 8,104,434 คน (คิดเป็น 17.01 % ของครัวเรือน ทั้งหมด จำนวน
11,403,806 ครัวเรือน ใน 47 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
2) พื้นที่การเกษตรที่คาดว่าจะเสียหาย 151,987 ไร่ (พื้นที่นา 128,430 ไร่ พื้นที่ไร่ 23,110 ไร่ พื้นที่สวน 447 ไร่)
1.3 การให้ความช่วยเหลือ
1) การจัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร
- ใช้รถบรรทุกน้ำ 123 คัน แจกจ่ายน้ำ 2,470 เที่ยว 16,128,400 ลิตร
- ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำเพื่อการเพาะปลูก รวม 1,083 เครื่อง
- จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สร้างทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ (ชั่วคราว) 5,837 แห่ง
- การขุดลอกแหล่งน้ำ 573 แห่ง
2) การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภค
- ใช้รถบรรทุกน้ำ 1,035 คัน แจกจ่ายน้ำ 39,450 เที่ยว 280,489,378 ลิตร
3) งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว 515,041,671 บาท แยกเป็น
- งบทดรองราชการของจังหวัด (50 ล้านบาท) 440,045,327 บาท
- งบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 48,906,707 บาท
- งบอื่นๆ 26,089,637 บาท
4) การประปาส่วนภูมิภาค สนับสนุนน้ำฟรีให้แก่รถบรรทุกน้ำของทางราชการที่นำไปช่วยเหลือประชาชน จำนวน 61,361,000
ลิตร เป็นเงิน 836,903.75 บาท
2. การคาดหมายลักษณะอากาศระหว่างวันที่ 25 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2551
กรมอุตุนิยมวิทยาคาดหมายลักษณะอากาศว่าในช่วงวันที่ 25-26 เมษายน 2551 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุม
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยจะมีกำลังอ่อนลง แต่ยังคงทำให้ภาคเหนือ ภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานคร และภาคตะวันออกมีพายุฝนฟ้า
คะนอง กับมีฝนตกหนัก และลมกระโชกแรงเกิดขึ้นได้ ส่วนภาคใต้จะมีหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุม ทำให้มีฝนตกชุกหนาแน่นเกือบตลอดช่วง สำหรับ
ในช่วงวันที่ 27 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2551 จะมีแนวพัดสอบเข้าหากันของลมตะวันตกเฉียงใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พาดผ่านประเทศไทย ทำ
ให้บริเวณประเทศไทยมีฝนฟ้าคะนอง กับมีฝนตกหนักและลมกระโชกแรงเกิดขึ้นได้ ส่วนคลื่นลมในอ่าวไทยและทะเลอันดามันจะมีกำลังค่อนข้างแรงโดย
เฉพาะในบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง อนึ่ง หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง ปกคลุมอ่าวเบงกอลตอนกลาง คาดว่าจะทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุไซโคลนและ
มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าทางทิศเหนือเข้าใกล้ชายฝั่งบังคลาเทศ และประเทศพม่า ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลักษณะอากาศด้านตะวันตกของประเทศไทยใน
ช่วงวันที่ 29 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2551 ข้อควรระวัง ในระยะนี้ ขอให้ประชาชนระมัดระวังอันตรายจากพายุฝนฟ้าคะนองโดยในขณะเกิดพายุฝน
ฟ้าคะนองควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่โล่งแจ้ง และไม่ควรสวมใส่เครื่องประดับที่เป็นสื่อนำไฟฟ้ารวมทั้งงดใช้เครื่องมือสื่อสาร สำหรับภาคใต้และภาค
เหนือด้านตะวันตกอาทิเช่น จังหวัดสุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง แม่ฮ่องสอน และตาก อาจเกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากในพื้นที่
เสี่ยงภัยบางพื้นที่ได้ ขอให้ประชาชน ในพื้นที่เสี่ยงภัยระวังอันตรายจากภัยดังกล่าวไว้ด้วย ส่วนคลื่นลมในอ่าวไทยและทะเลอันดามันมีคลื่นสูงมากกว่า
2 เมตร โดยเฉพาะในบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง ชาวเรือควรระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือไว้ด้วย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 29 เมษายน 2551--จบ--
ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงปัจจุบัน (วันที่ 25 เมษายน 2551) ดังนี้
1. สรุปสถานการณ์ภัยแล้งและการให้ความช่วยเหลือ (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 25 เมษายน 2551)
1.1 พื้นที่ประสบภัย 47 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแพร่ น่าน เชียงราย อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ ลำปาง ตาก กำแพงเพชร
สุโขทัย ลำพูน พะเยา นครสวรรค์ แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี พิจิตร ศรีสะเกษ ขอนแก่น เลย บุรีรัมย์ นครพนม อุดรธานี มหาสารคาม
ยโสธร อุบลราชธานี มุกดาหาร กาฬสินธุ์ หนองบัวลำภู สุรินทร์ ชัยภูมิ สกลนคร หนองคาย นครราชสีมา อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด
สระบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี ชัยนาท ลพบุรี ระยอง นครนายก สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และจันทบุรี
รวม 450 อำเภอ 2,191 ตำบล 15,198 หมู่บ้าน (คิดเป็น 26.65 % ของหมู่บ้านใน 47 จังหวัด และคิดเป็น 20.42 % ของหมู่บ้านทั้ง
ประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย ราษฎรประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 15 131 608 4,100 แพร่ น่าน เชียงราย 463,304 1,547,549
ลำปาง กำแพงเพชร
สุโขทัย อุตรดิตถ์ ตาก
เชียงใหม่ ลำพูน พะเยา
นครสวรรค์ แม่ฮ่องสอน
อุทัยธานี และพิจิตร
2 ตะวันออก 19 235 1,171 8,446 ศรีสะเกษ ขอนแก่น เลย 1,214,029 5,600,161
เฉียงเหนือ บุรีรัมย์ นครพนม อุดรธานี
มหาสารคาม ยโสธร
อุบลราชธานี กาฬสินธุ์
มุกดาหาร หนองบัวลำภู
สุรินทร์ ชัยภูมิ สกลนคร
ร้อยเอ็ด หนองคาย
นครราชสีมา และอำนาจเจริญ
3 กลาง 7 46 218 1,565 สระบุรี เพชรบุรี สุพรรณบุรี 146,598 607,165
ราชบุรี กาญจนบุรี ชัยนาท
และลพบุรี
4 ตะวันออก 6 38 194 1,087 ระยอง นครนายก สระแก้ว 115,468 349,559
ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี
รวมทั้งประเทศ 47 450 2,191 15,198 1,939,399 8,104,434
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ที่ ภาค จำนวนหมู่บ้าน 4 เม.ย. 2551 11 เม.ย. 2551 18 เม.ย. 2551 25 เม.ย. 2551
ทั้งหมด หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม
- ลด - ลด - ลด - ลด
1 เหนือ 16,440 5,084 + 387 5,647 + 563 5,647 - 4,100 - 1,547
2 ตะวันออก 32,830 16,916 + 2,434 17,111 + 195 17,161 + 50 8,446 - 8,715
เฉียงเหนือ
3 กลาง 11,703 1,204 + 67 2,047 + 843 2,004 - 43 1,565 - 439
4 ตะวันออก 4,836 1,417 + 34 1,394 - 23 1,394 - 1,087 - 307
5 ใต้ 8,618 315 + 13 233 - 82 253 + 20 - - 253
รวม 74,427 24,936 + 2,935 26,432 + 1,496 26,459 + 27 15,198 - 11,261
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2551 (รวม 55 จังหวัด 507 อำเภอ 3,249 ตำบล
26,459 หมู่บ้าน) เนื่องจากในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาได้เกิดพายุฤดูร้อนพัดปกคลุมในทุกพื้นที่ทำให้มีฝนตกกระจายเป็นบริเวณกว้าง มีผลกระทบทำให้
จังหวัดที่ประสบภัยแล้งคลี่คลายลงไป 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอ่างทองพิษณุโลก ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา ตราด ระนอง ชุมพร และ
สตูล และหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งลดลง 11,261 หมู่บ้าน
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2551 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ที่ ภาค จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ข้อมูลปี 2550 ข้อมูลปี 2551 เปรียบเทียบข้อมูล
(ณ วันที่ 25 เมษายน 2550) (ณ วันที่ 25 เมษายน 2551) ภัยแล้งปี2550 กับ ปี2551
หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวน คิดเป็น
ประสบ (ของหมู่บ้าน ประสบ (ของหมู่บ้าน หมู่บ้าน ร้อยละ
ภัยแล้ง ทั้งประเทศ) ภัยแล้ง ทั้งประเทศ) + เพิ่ม- ลด
1 เหนือ 16,440 5,280 32.12 4,100 24.94 -1,180 -22.35
2 ตะวันออก 32,830 17,686 53.87 8,446 25.73 -9,240 -52.24
เฉียงเหนือ
3 กลาง 11,703 931 7.96 1,565 13.37 634 68.1
4 ตะวันออก 4,836 1,233 25.5 1,087 22.48 -146 -11.84
5 ใต้ 8,618 1,590 18.45 - - -1,590 -100
รวม 74,427 26,720 35.9 15,198 20.42 -11,522 -43.12
เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2550 มีจังหวัดที่ประสบภัยแล้ง รวม 56 จังหวัด 527 อำเภอ 59 กิ่งฯ 3,322ตำบล
26,720 หมู่บ้าน (พื้นที่ประสบภัยแล้ง 26,720 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 43.34 ของหมู่บ้านทั้งหมดใน 56 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง และคิดเป็นร้อยละ
35.90 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) น้อยกว่าปี 2550 จำนวน 11,522 หมู่บ้าน
1.2 ความเสียหาย
1) ราษฎรเดือดร้อน 1,939,399 ครัวเรือน 8,104,434 คน (คิดเป็น 17.01 % ของครัวเรือน ทั้งหมด จำนวน
11,403,806 ครัวเรือน ใน 47 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
2) พื้นที่การเกษตรที่คาดว่าจะเสียหาย 151,987 ไร่ (พื้นที่นา 128,430 ไร่ พื้นที่ไร่ 23,110 ไร่ พื้นที่สวน 447 ไร่)
1.3 การให้ความช่วยเหลือ
1) การจัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร
- ใช้รถบรรทุกน้ำ 123 คัน แจกจ่ายน้ำ 2,470 เที่ยว 16,128,400 ลิตร
- ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำเพื่อการเพาะปลูก รวม 1,083 เครื่อง
- จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สร้างทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ (ชั่วคราว) 5,837 แห่ง
- การขุดลอกแหล่งน้ำ 573 แห่ง
2) การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภค
- ใช้รถบรรทุกน้ำ 1,035 คัน แจกจ่ายน้ำ 39,450 เที่ยว 280,489,378 ลิตร
3) งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว 515,041,671 บาท แยกเป็น
- งบทดรองราชการของจังหวัด (50 ล้านบาท) 440,045,327 บาท
- งบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 48,906,707 บาท
- งบอื่นๆ 26,089,637 บาท
4) การประปาส่วนภูมิภาค สนับสนุนน้ำฟรีให้แก่รถบรรทุกน้ำของทางราชการที่นำไปช่วยเหลือประชาชน จำนวน 61,361,000
ลิตร เป็นเงิน 836,903.75 บาท
2. การคาดหมายลักษณะอากาศระหว่างวันที่ 25 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2551
กรมอุตุนิยมวิทยาคาดหมายลักษณะอากาศว่าในช่วงวันที่ 25-26 เมษายน 2551 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุม
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยจะมีกำลังอ่อนลง แต่ยังคงทำให้ภาคเหนือ ภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานคร และภาคตะวันออกมีพายุฝนฟ้า
คะนอง กับมีฝนตกหนัก และลมกระโชกแรงเกิดขึ้นได้ ส่วนภาคใต้จะมีหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุม ทำให้มีฝนตกชุกหนาแน่นเกือบตลอดช่วง สำหรับ
ในช่วงวันที่ 27 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2551 จะมีแนวพัดสอบเข้าหากันของลมตะวันตกเฉียงใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พาดผ่านประเทศไทย ทำ
ให้บริเวณประเทศไทยมีฝนฟ้าคะนอง กับมีฝนตกหนักและลมกระโชกแรงเกิดขึ้นได้ ส่วนคลื่นลมในอ่าวไทยและทะเลอันดามันจะมีกำลังค่อนข้างแรงโดย
เฉพาะในบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง อนึ่ง หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง ปกคลุมอ่าวเบงกอลตอนกลาง คาดว่าจะทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุไซโคลนและ
มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าทางทิศเหนือเข้าใกล้ชายฝั่งบังคลาเทศ และประเทศพม่า ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลักษณะอากาศด้านตะวันตกของประเทศไทยใน
ช่วงวันที่ 29 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2551 ข้อควรระวัง ในระยะนี้ ขอให้ประชาชนระมัดระวังอันตรายจากพายุฝนฟ้าคะนองโดยในขณะเกิดพายุฝน
ฟ้าคะนองควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่โล่งแจ้ง และไม่ควรสวมใส่เครื่องประดับที่เป็นสื่อนำไฟฟ้ารวมทั้งงดใช้เครื่องมือสื่อสาร สำหรับภาคใต้และภาค
เหนือด้านตะวันตกอาทิเช่น จังหวัดสุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง แม่ฮ่องสอน และตาก อาจเกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากในพื้นที่
เสี่ยงภัยบางพื้นที่ได้ ขอให้ประชาชน ในพื้นที่เสี่ยงภัยระวังอันตรายจากภัยดังกล่าวไว้ด้วย ส่วนคลื่นลมในอ่าวไทยและทะเลอันดามันมีคลื่นสูงมากกว่า
2 เมตร โดยเฉพาะในบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง ชาวเรือควรระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือไว้ด้วย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 29 เมษายน 2551--จบ--