สรุปผลการประชุมคณะรัฐมนตรีชุด นายเศรษฐา ทวีสิน (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567

ข่าวการเมือง Tuesday February 20, 2024 18:32 —มติคณะรัฐมนตรี

1
http://www.thaigov.go.th
(โปรดตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีที่เป็นทางการจากสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง)
วันนี้ (20 กุมภาพันธ์ 2567) เวลา 10.00 น. นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ณ ห้องประชุม 501 ตึกบัญชาการ 1 ทาเนียบรัฐบาล ซึ่งสรุปสาระสาคัญดังนี้
กฎหมาย
1. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
2. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
3. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. .... (แก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชน พิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562)
4. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้ง สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ....
5. เรื่อง มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับการบริหารราชการหรือข้าราชการ ตามมาตรา 13 แห่ง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548
เศรษฐกิจ-สังคม
6. เรื่อง การทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย คณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2560
7. เรื่อง สรุปมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2566
8. เรื่อง ขออนุมัติรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป สาหรับโครงการผลิตแพทย์และทีมนวัตกรรมสุขภาพเพื่อเวชศาสตร์ครอบครัว ตอบสนองต่อระบบสุขภาพปฐมภูมิทั่วไทย
9. เรื่อง แนวทางการป้องกันการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่และการบริหารงาน บุคคลในราชการพลเรือน
10. เรื่อง ข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันการทุจริตเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาล กรณีการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet
11. เรื่อง รายงานสถานการณ์น้าภาพรวมประเทศ (ระหว่างวันที่ 14 - 19 กุมภาพันธ์ 2567)
12. เรื่อง ขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไปพลางก่อน งบกลางรายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น เพื่อดาเนินโครงการ Maha Songkran World Water Festival 2024 เย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์ 2567
13. เรื่อง ขอยกเว้นมติคณะรัฐมนตรีที่ห้ามใช้ประโยชน์ป่าชายเลน สาหรับดาเนินการ โครงการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมก่อสร้างถนนและ สะพานเชื่อมโยงเส้นทางบริเวณอ่าวเขาควาย ท้องที่หมู่บ้านอ่าวเขาควาย ตาบล เกาะพยาม อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
14. เรื่อง การขอรับการจัดสรรเงินอุดหนุนเป็นรายปีเป็นการจ่ายขาดให้แก่สภาองค์กรของ ผู้บริโภค (งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568)
15. เรื่อง การกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาล ทรายขั้นสุดท้ายฤดูการผลิตปี 2565/2566
2
16. เรื่อง การกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทราย ขั้นต้นฤดู การผลิตปี 2566/2567
17. เรื่อง ขออนุมัติรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาท ขึ้นไป โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลา ระยะที่ 2 : จัดหา อุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสมต่อผู้เรียนแต่ละวัย (Anywhere Anytime)
ต่างประเทศ
18. เรื่อง การรับรองร่างปฏิญญาวังเวียงว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลาง และขนาดย่อมซึ่งสอดคล้องกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน
19. เรื่อง ร่างเอกสารผลลัพธ์การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมเพื่อความร่วมมือทวิภาคีไทย ? อินเดียครั้งที่ 10
20. เรื่อง การขยายระยะเวลาการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยวให้แก่ผู้ถือหนังสือ เดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางสัญชาติคาซัคสถาน เป็นกรณีพิเศษ และเป็นการชั่วคราว
แต่งตั้ง
21. เรื่อง คณะกรรมการต่าง ๆ ที่แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม)
22. เรื่อง การขอต่อเวลาการดารงตาแหน่งของเลขาธิการ ก.พ.ร. ครั้งที่ 1
23. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (สานักงาน กปร.)
24. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้)
25. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงยุติธรรม)
26. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงสาธารณสุข)
27. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงอุตสาหกรรม)
28. เรื่อง การแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย
29. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงมหาดไทย)
30. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงแรงงาน)
31. เรื่อง การแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการบริหารกิจการของ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
32. เรื่อง การโอนข้าราชการพลเรือนสามัญเพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
33. เรื่อง ขอความเห็นชอบแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
3
4
กฎหมาย
1. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบดังนี้
1. เห็นชอบร่างกฎกระทรวงกาหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว และให้ดาเนินการต่อไปได้
2. ให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงบประมาณไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย
ทั้งนี้ กค. เสนอว่า
1. กค. ได้รับรายงานจากกระทรวงการต่างประเทศ (กต.) ว่าประเทศไทยได้รับมอบตาแหน่งประธานบิมสเทค ในช่วงการประชุมระดับผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2565 โดยมีวาระ 2 ปี (พ.ศ. 2565 - พ.ศ. 2566) หรือจนกว่าจะสามารถจัดการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 5 เพื่อเป็นการส่งมอบตาแหน่งประธานต่อไปได้ ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 เห็นชอบกรอบวงเงินงบประมาณของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสาหรับการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 และการประชุมที่เกี่ยวข้องแล้ว แต่เนื่องจากการจัดประชุมผู้นาและการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในกรอบบิมสเทศ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกทั้งหมด ทั้งกาหนดการ รูปแบบ และกาหนดวันประชุม ประกอบกับประเทศศรีลังกาซึ่งเป็นประธานบิมสเทคลาดับก่อนหน้าไทยเผชิญกับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้การรับมอบตาแหน่งประธานของไทยจากศรีลังกาล่าช้ากว่ากาหนด จึงไม่สามารถจัดการประชุมระดับผู้นาได้ทันในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้ นอกจากนี้ ที่ผ่านมาประเทศเจ้าภาพจะได้รับความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกก่อนวันที่มีกาหนดจัดประชุมในเวลากระชั้นชิด ซึ่งความไม่แน่นอนดังกล่าวส่งผลกระทบต่อระยะเวลาในการเตรียมการจัดการประชุมทั้งด้านงบประมาณ และกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ในการนี้ เพื่อให้การจัดประชุมดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามมาตรฐานการจัดการประชุมในระดับสากลและมีมาตรการรักษาความปลอดภัยที่รัดกุมแก่ผู้นาประเทศและผู้เข้าร่วมประชุม กต. จึงจาเป็นต้องเตรียมการจัดซื้อจัดจ้างให้มีความเหมาะสมกับการดาเนินการจัดการประชุมภายใต้ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
2. เดิม กต. ได้กาหนดการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ในรูปแบบ in-person (ประชุมแบบซึ่งหน้า) โดย กต. แจ้งว่า นายกรัฐมนตรีเห็นขอบกาหนดการดังกล่าวแล้ว โดยในการจัดการประชุมผู้นาบิมสเทคจะมีการจัดประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในลักษณะ back - to - back (ประชุมต่อเนื่องกัน) ตั้งแต่วันที่ 27 - 30 พฤศจิกายน 2566 ดังนี้
2.1 การประชุมคณะกรรมการถาวรบิมสเทค ครั้งที่ 7 ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
2.2 การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสบิมสเทค ครั้งที่ 24 ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2566
2.3 การประชุมระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศบิมสเทค ครั้งที่ 20 ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2566
3. กต. โดยกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้หารือกับภาคเอกชนในการจัดเวทีระหว่างผู้นาบิมสเทคกับภาคเอกชน (BIMSTEC Business Summit) ในลักษณะคู่ขนานกับการประชุมผู้นาบิมสเทค โดยอยู่ระหว่างขอรับการยืนยันจากภาคเอกชน คาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมการประชุมและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจานวน 600 คน โดยมีความต้องการจัดประชุมภายใต้ one roof (ที่ประชุมและที่พักของผู้เข้าร่วมจะต้องอยู่ในพื้นที่เดียวกัน) เพื่อความสะดวกในการดูแลและอานวยความสะดวกให้กับผู้เข้าร่วมประชุม ดังนั้น เพื่อให้การจัดประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย กต. จึงต้องดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการจัดงานดังกล่าว
4. กค. ได้มีหนังสือชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมมายังสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี โดยมีข้อมูลเพิ่มเติมที่กรมบัญชีกลางได้รับแจ้งจาก กต. ว่า โดยที่รัฐสมาชิกได้ให้ความเห็นชอบต่อกาหนดการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 อย่างกระชั้นชิด เพื่อให้การเตรียมการจัดประชุมดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสมเกียรติ จึงเห็นควรเลื่อนกาหนดการจัดประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 ออกไปเป็นประมาณช่วงกลางปี 2567 โดย กต. มีแผนจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2567 ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงกาหนดการจัดประชุม ไม่ส่งผลกระทบต่อการที่ต้องดาเนินการออกกฎกระทรวงแต่อย่างใด
5
5. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มีหนังสือขอข้อมูลเพิ่มเติมไปยัง กต. โดย กต. ได้ชี้แจงข้อมูลเรื่องกาหนดการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
5.1 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 กต. ได้แจ้งรัฐสมาชิกบิมสเทคว่าประเทศไทยจะจัดประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 และการประชุมที่เกี่ยวข้องระหว่างวันที่ 27 - 30 พฤศจิกายน 2566 และขอให้รัฐสมาชิกให้ความเห็นชอบต่อกาหนดการภายในวันที่ 1 พฤษภาคม 2566
5.2 ฝ่ายไทยได้ติดตามผลการพิจารณาของรัฐสมาชิกอย่างต่อเนื่อง โดยที่รัฐสมาชิกใช้เวลาพิจารณาต่างกัน จึงทาให้ประเทศไทยได้รับความเห็นชอบจากรัฐสมาชิกครบทุกประเทศเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2566
5.3 กต. พิจารณาแล้วเห็นว่า โดยที่รัฐสมาชิกได้ให้ความเห็นชอบต่อกาหนดการประชุมฯ อย่างกระชั้นชิด จึงเห็นควรให้เลื่อนการจัดประชุมผู้นาฯ และการประชุมที่เกี่ยวข้องออกไปเป็นช่วงกลางปี 2567 เพื่อให้การเตรียมการจัดประชุมดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสมประโยชน์
5.4. กต. มีแผนจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับรัฐมนตรีบิมสเทค และการประชุมระดับรัฐมนตรีอย่างไม่เป็นทางการ (Retreat) ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2567 เพื่อรักษาพลวัตการเป็นประธานบิมสเทคของประเทศไทย และเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 ซึ่งคาดว่าจะจัดในช่วงกลางปี 2567 ต่อไป
6. โดยที่พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 56 (2) (ซ) บัญญัติให้การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจงกรณีอื่น ให้เป็นไปตามที่กาหนดเป็นกฎกระทรวง ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมการประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 และการประชุมที่เกี่ยวข้อง ในช่วงปี 2567 สามารถดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดประชุมดังกล่าว และเพื่อให้การจัดงานดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เหมาะสมกับการเป็นเจ้าภาพจัดประชุม กค. จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนจะต้องออกกฎกระทรวงกาหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ?.
7. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ในการประชุมครั้งที่ 13/2566 เมื่อวันพุธที่ 16 สิงหาคม 2566 ได้มีมติว่าเพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุเกี่ยวกับการจัดประชุมผู้นาบิมสเทค ครั้งที่ 6 และการเตรียมการประชาสัมพันธ์หรือการอื่นใดที่เกี่ยวข้อง สาหรับการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นา บิมสเทค รวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นาระดับประเทศในลักษณะเดียวกันที่จะเกิดขึ้นในโอกาสต่อไป เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เหมาะสมกับการเป็นเจ้าภาพการจัดประชุม จึงเห็นชอบร่างกฎกระทรวงกาหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และให้กรมบัญชีกลางดาเนินการนาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป
สาระสาคัญของร่างกฎกระทรวง
กาหนดให้กรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่เกี่ยวกับการจัดประชุมระดับผู้นาประเทศ หรือระดับรัฐมนตรีขึ้นไปที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ และการประชุมที่เกี่ยวข้องทุกระดับ รวมทั้งการเตรียมการ การประชาสัมพันธ์หรือการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมดังกล่าว สามารถกระทาได้โดยวิธีเฉพาะเจาะจง
2. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว ตามที่กระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ แล้วให้ดาเนินการต่อไปได้ และให้กระทรวงแรงงานรับความเห็นของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงบประมาณไปพิจารณาดาเนินการด้วย
ทั้งนี้ ร่างกฎกระทรวงฯ ที่ รง. เสนอ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาแล้ว และคณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงดังกล่าว ซึ่งมีสาระสาคัญเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2563 เพื่อปรับอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่ายผ่านกองทุนเงินทดแทนที่นายจ้างจ่ายให้แก่ประกันสังคม จากเดิม ?50,000 บาท? เป็น ?65,000 บาท? และแก้ไขลักษณะการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของลูกจ้างที่นายจ้างต้องจ่ายเพิ่มขึ้น แต่ไม่เกิน 100,000 บาท กรณีการบาดเจ็บรุนแรงของศีรษะ (ของเดิมจะจ่ายให้ก็ต่อเมื่อเป็นการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ) เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนและภาระค่าใช้จ่ายของลูกจ้าง ซึ่งคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อนายจ้าง ที่จะต้องจ่ายเงินสมทบตามค่าประสบการณ์เพิ่มขึ้น รวมทั้งสถานะของกองทุนเงินทดแทน จึงไม่
6
ก่อให้เกิดความสูญเสียรายได้ของรัฐ หรือของหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยกระทรวงแรงงาน ประกอบกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นชอบด้วยในหลักการ
สาระสาคัญของร่างกฎกระทรวง
กฎกระทรวงค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2563
ร่างกฎกระทรวงค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
ข้อ 2 เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริง ตามความจาเป็นแต่ไม่เกิน 50,000 บาท
ข้อ 2 เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริง ตามความจาเป็นแต่ไม่เกิน 65,000 บาท
ข้อ 3 ในกรณีที่ค่ารักษาพยาบาลที่จ่ายตามข้อ 2 ไม่เพียงพอ ให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็นเพิ่มขึ้นอีกไม่เกินหนึ่งแสนบาท สาหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของลูกจ้างในลักษณะ ดังต่อไปนี้ ...
(3) บาดเจ็บอย่างรุนแรงของศีรษะและต้องได้รับการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ
ข้อ 3 ในกรณีที่ค่ารักษาพยาบาลที่จ่ายตามข้อ 2 ไม่เพียงพอ ให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็นเพิ่มขึ้นอีกไม่เกินหนึ่งแสนบาท สาหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของลูกจ้างในลักษณะ ดังต่อไปนี้ ...
(3) บาดเจ็บอย่างรุนแรงของศีรษะ
3. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. .... (แก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบดังนี้
1. เห็นชอบร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ และให้ดาเนินการต่อไปได้
2. ให้กระทรวงมหาดไทยรับความเห็นของกระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข และสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย
ทั้งนี้ มท. เสนอว่า
1. กรมโยธาธิการและผังเมืองได้รายงานสภาพปัญหาจากการประกาศใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562 ว่าภายหลังจากมีการประกาศใช้บังคับกฎกระทรวงดังกล่าวแล้ว ปรากฏว่าจังหวัดอุตรดิตถ์ประสบปัญหาขาดแคลนสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยทาให้ไม่สามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอและถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล รวมทั้งคณะรัฐมนตรีได้มีมติรับทราบแนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เพื่อนาไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีผลให้การบังคับใช้กฎกระทรวงฯ ไม่สอดคล้องตามนโยบายดังกล่าว ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาปัญหาพื้นที่การกาจัดขยะมูลฝอย และเพื่อประโยชน์สาธารณะในการกาหนดพื้นที่เพื่อจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถรองรับการกาจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์และพื้นที่โดยรอบได้ จึงขอแก้ไขการใช้ประโยชน์ที่ดินตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562 เฉพาะบริเวณหรือเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
2. ต่อมาได้มีการประกาศใช้บังคับพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2562 ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวบัญญัติให้ยกเลิกพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ทั้งฉบับ และได้แก้ไขรูปแบบการประกาศใช้บังคับกฎหมายในส่วนของผังเมืองรวมที่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผู้วางและจัดทาผังขึ้นใหม่ โดยให้ดาเนินการประกาศใช้บังคับเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทย (เดิมประกาศใช้บังคับเป็นกฎกระทรวง) ประกอบกับมาตรา 111 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมืองฯ บัญญัติให้การแก้ไขหรือยกเลิกกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเฉพาะบริเวณ หรือเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด ให้กระทาได้โดยประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิ่น และในการประชุมคณะกรรมการผังเมือง ครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2565 ได้มีมติเห็นชอบให้แก้ไขกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562 และนาไปปิดประกาศเพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียแสดงข้อคิดเห็นระหว่างวันที่ 22 สิงหาคม 2565 ถึงวันที่ 20 กันยายน
7
2565 เมื่อครบกาหนดปิดประกาศปรากฏว่าไม่มีผู้ยื่นข้อคิดเห็น โดยให้กรมโยธาธิการและผังเมืองจัดทาร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เพื่อเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา
3. มท. โดยกรมโยธาธิการและผังเมืองจึงได้จัดทาร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. .... (แก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562) ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในมาตรา 32 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 ที่บัญญัติว่า ?เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาตามมาตรา 29 แล้ว ไม่มีผู้มีส่วนได้เสียผู้ใดยื่นคาร้องตามมาตรา 30 หรือมีแต่คณะกรรมการผังเมืองสั่งยกคาร้องดังกล่าวหรือเมื่อกรมโยธาธิการและผังเมืองไม่มีความเห็นเป็นอย่างอื่น ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดาเนินการเพื่อออกประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิ่น แล้วแต่กรณี โดยไม่ชักช้า ในการนี้ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองนาประกาศกระทรวงมหาดไทยเสนอต่อคณะรัฐมนตรีโดยตรงเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน? ทั้งนี้ ในกระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวมก่อนที่จะได้จัดทาเป็นร่างประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ได้ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการผังเมือง ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) กระทรวงคมนาคม (คค.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านโครงสร้างพื้นฐาน และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วยแล้ว
สาระสาคัญของร่างประกาศ
1. แก้ไขเพิ่มเติมข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข 5.2 บางส่วน ให้สามารถดาเนินการโรงงานลาดับที่ 88 (2) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนได้โดยมีขนาดกาลังการผลิตไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ กาหนดให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของคลองน้าไหลและคลองแห้งไม่น้อยกว่า 15 เมตร และยกเว้นข้อห้ามการประกอบอุตสาหกรรม ประเภทอาคารขนาดใหญ่เฉพาะการประกอบอุตสาหกรรมที่เป็นโรงงานลาดับที่ 88 (2) เนื่องจากกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว) มีเจตนารมณ์ต่อการสงวนให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ และบัญชีท้ายกฎกระทรวงฯ ฉบับดังกล่าวไม่อนุญาตให้ประกอบกิจการโรงงานลาดับที่ 88 (2) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนในการใช้ประโยชน์ที่ดินทุกประเภท และภายหลังการใช้บังคับกฎกระทรวงดังกล่าว ปรากฏว่าจังหวัดอุตรดิตถ์ได้ประสบปัญหาขาดแคลนสถานที่กาจัดขยะมูลฝอย ทาให้ไม่สามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอและถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล รวมทั้งคณะรัฐมนตรีได้มีมติรับทราบแนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เพื่อนาไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีผลให้การบังคับใช้กฎกระทรวงฯ ไม่สอดคล้องตามนโยบายดังกล่าว และกรมโยธาธิการและผังเมืองได้รับข้อมูลจากจังหวัดอุตรดิตถ์ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่กฎกระทรวงฉบับดังกล่าวได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานที่ตั้งศูนย์จัดการขยะมูลฝอยชุมชนด้วยการแปรรูปพลังงานไฟฟ้า จังหวัดอุตรดิตถ์ และสภาท้องถิ่นของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีมติเห็นชอบในข้อตกลงความร่วมมือในการจัดทาบริการสาธารณะด้านการกาจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 110 แห่ง ในจังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดข้างเคียง จึงจาเป็นต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงดังกล่าว เพื่อให้รองรับการดาเนินงานกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนด้วยการแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้า ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาปัญหาพื้นที่การกาจัดขยะมูลฝอยและเพื่อประโยชน์สาธารณะในการกาหนดพื้นที่เพื่อจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถรองรับการกาจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์และพื้นที่โดยรอบได้ จึงได้แก้ไขเพิ่มเติมข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ และเส้นทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข 5.2 บางส่วน ด้วยวิธีการกาหนดให้สามารถดาเนินการโรงงานลาดับที่ 88 (2) การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนได้โดยมีขนาดกาลังการผลิตไม่เกิน 10 เมกะวัตต์
2. แก้ไขบัญชีท้ายกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว)
8
4. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอ และให้ส่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้
ทั้งนี้ อว. เสนอว่า
1. กฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2549 ซึ่งมีผลใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ได้กาหนดให้ที่ดินสาหรับจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชนต้องมีเนื้อที่ตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (1) วิทยาลัยหรือสถาบันต้องมีเนื้อที่ที่ดินไม่น้อยกว่า 10 ไร่ และ (2) มหาวิทยาลัยต้องมีเนื้อที่ที่ดินไม่น้อยกว่า 100 ไร่ และเนื้อที่ดังกล่าวจะต้องเป็นที่ดินที่ติดต่อเป็นผืนเดียวกัน ในกรณีที่ดินไม่ได้มีพื้นที่ติดต่อเป็นผืนเดียวกันจะต้องมีการเชื่อมโยงติดต่อกันในลักษณะที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการศึกษา และสามารถจัดกิจกรรมทางการศึกษาได้สะดวกโดยที่ไม่ได้กาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะการใช้ประโยชน์พื้นที่ในเนื้อที่ที่ดินของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในจานวนดังกล่าว ประกอบกับปัจจุบันบริบทการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาได้เปลี่ยนแปลงไปซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการจัดการเรียนการสอนและการให้บริการทางศึกษา จึงทาให้การใช้ทรัพยากรในมิติเชิงพื้นที่ของสถาบันอุดมศึกษามีความจาเป็นลดลง และการกาหนดลักษณะและจานวนเนื้อที่ที่ดินดังกล่าว ยังก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการบริหารจัดการและการพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
2. ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป อว. จึงได้ยกร่างกฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้ง สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. .... เพื่อปรับปรุงการกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดินที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จากการกาหนดเนื้อที่ที่ดินขั้นต่าที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนในแต่ละประเภทพึงมี เป็นการกาหนด ?พื้นที่ใช้สอย? ตามลักษณะการใช้ประโยชน์บนเนื้อที่ที่ดินของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน และในคราวประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ 12/2565 วันที่ 20 ธันวาคม 2565 ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงดังกล่าวแล้ว
3. อว. ได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกฎกระทรวงดังกล่าว ผ่านทางเว็บไซต์ของสานักงานปลัดกระทรวง ระหว่างวันที่ 3 ? 31 มกราคม 2566 รวมทั้งได้จัดทาสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย และเปิดเผยเอกสารดังกล่าวผ่านทางเว็บไซต์ดังกล่าว ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 และกฎกระทรวงกาหนดร่างกฎที่ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นและวิเคราะห์ผลกระทบ พ.ศ. 2565 ด้วยแล้ว
สาระสาคัญของร่างกฎกระทรวง
1. กาหนดให้ยกเลิกกฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2549
2. กาหนดบทนิยาม คาว่า ?พื้นที่ใช้สอย? หมายความว่า พื้นที่ในอาณาบริเวณเนื้อที่ที่ดินของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน อันหมายรวมถึงพื้นที่ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดไว้ตามลักษณะการใช้ประโยชน์เพื่อเป็นพื้นที่สาหรับการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์และพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน คาว่า ?ผังแม่บทการใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอย? หมายความว่า ผังบริเวณในการจัดพื้นที่ใช้สอย ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบทางกายภาพ และการใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอย ที่สอดคล้องกับแผนการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน และ คาว่า ?แผนการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน? หมายความว่า แผนการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนภายในกาหนดระยะเวลา 5 ปีนับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งหรือได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนประเภทสถาบันอุดมศึกษาเอกชน อันครอบคลุมแผนการดาเนินงานด้านกายภาพ ด้านวิชาการ ด้านการเงิน และด้านการบริหารจัดการ แล้วแต่กรณี
3. กาหนดให้ที่ดินที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชนต้องมีเนื้อที่ที่เหมาะสมเพียงพอต่อการจัดพื้นที่ใช้สอยเพื่อรองรับการดาเนินงานตามพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอย่างครบถ้วน โดยต้องเป็นไปตามมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ อว. กาหนด และต้องเป็นที่ดินที่ติดต่อเป็นผืนเดียวกันในกรณีที่ที่ดินมิได้มีพื้นที่ติดต่อเป็นผืนเดียวกัน ต้องมีการเชื่อมโยงติดต่อถึงกันในลักษณะที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการศึกษา และสามารถจัดกิจกรรมทางการศึกษาได้โดยสะดวก
4. กาหนดหลักการการจัดพื้นที่ใช้สอยบนที่ดินของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดังนี้
9
4.1 สามารถสื่อสารคุณค่าสะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพและความสามารถในการดาเนินงานครอบคลุมพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอย่างครบถ้วนและมีคุณภาพ
4.2 สามารถสะท้อนอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
4.3 สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนและสังคม
4.4 สามารถรองรับต่อพัฒนาการการจัดการศึกษาและการดาเนินงานตามพันธกิจที่สอดรับกับแนวทางการใช้ชีวิตวิถีใหม่
5. ในการจัดพื้นที่ใช้สอยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะต้องกาหนดผังแม่บทการใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอยตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ซึ่งจาแนกพื้นที่ใช้สอยตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ดังนี้
5.1 พื้นที่ใช้สอยสาหรับการจัดการศึกษา
5.2 พื้นที่ใช้สอยสาหรับการวิจัยและสร้างนวัตกรรม
5.3 พื้นที่ใช้สอยสาหรับการบริการวิชาการแก่สังคมและการทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
5.4 พื้นที่ใช้สอยสาหรับเป็นที่ตั้งของส่วนงานภายใน
5.5 พื้นที่ใช้สอยสาหรับการสร้างสังคมและการใช้ชีวิตภายในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
5.6 พื้นที่สีเขียวตามแนวทางการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
5.7 พื้นที่ใช้สอยอื่นเพื่อดาเนินพันธกิจตามจุดเน้น ความเชี่ยวชาญ และการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
6. กาหนดให้การขอรับใบอนุญาตจัดตั้งหรือการขออนุญาตเปลี่ยนประเภท สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ ให้พิจารณาดาเนินการตามกฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2549 จนกว่าจะแล้วเสร็จ
*พ.ร.บ. สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ 2546 ได้กาหนดนิยามของคาว่า ?สถาบันอุดมศึกษาเอกชน? ให้หมายความว่า สถานศึกษาของเอกชนที่ให้การศึกษาระดับปริญญาแก่บุคคลตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไป และ ม. 9 แห่ง พ.ร.บ. ดังกล่าวกาหนดให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนมีตามประเภท คือ (1) มหาวิทยาลัย (2) สถาบัน และ (3) วิทยาลัย
5. เรื่อง มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับการบริหารราชการหรือข้าราชการ ตามมาตรา 13 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) เสนอ ดังนี้
1. ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2562 (เรื่อง ขอความร่วมมือในการมาตอบกระทู้ถามในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร) ตามความเห็นของสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
2. ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี จานวน 2 มติ ดังนี้
2.1 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2562 (เรื่อง แนวทางการแต่งตั้งกรรมการรัฐวิสาหกิจ) ตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
2.2 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2563 [เรื่อง รายงานผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้ง (Work From Home) และการเหลื่อมเวลาในการทางานในสถานที่ตั้งของส่วนราชการ รายสัปดาห์ ครั้งที่ 4] ตามความเห็นของสานักงาน ก.พ.
สาระสาคัญของเรื่อง
1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 มาตรา 13 บัญญัติให้ทุกครั้งที่คณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ารับหน้าที่ ให้เป็นหน้าที่ของ สลค. รวบรวมมติของคณะรัฐมนตรีหรือคาสั่งของนายกรัฐมนตรีชุดเดิมที่เกี่ยวกับการบริหารราชการหรือข้าราชการที่ออกโดยมิได้อาศัยอานาจตามกฎหมายใด พร้อมด้วยข้อเสนอแนะว่าสมควรคงคาสั่งของนายกรัฐมนตรีหรือมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นต่อไป หรือไม่ เพียงใด และนาเสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการหรือดาเนินการต่อไปภายใน 120 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา (คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 - 12 กันยายน 2566)
2. สลค. ได้ตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีและคาสั่งนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดเดิม ที่เกี่ยวกับการบริหารราชการหรือข้าราชการที่มีลักษณะตามข้อ 1 แล้ว โดยมีแนวทางในการพิจารณา คือ มติของคณะรัฐมนตรีหรือ
10
คาสั่งของนายกรัฐมนตรีที่เป็นหลักการ หรือกฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับเป็นการทั่วไปไม่เฉพาะเจาะจง และหน่วยงานของรัฐต้องถือปฏิบัติ ซึ่งมีผลใช้บังคับต่อเนื่องจนกว่าจะมีมติคณะรัฐมนตรีหรือคาสั่งใหม่มายกเลิกหรือเพิกถอน พบว่า ไม่ปรากฏว่ามีคาสั่งนายกรัฐมนตรีที่มีลักษณะดังกล่าว และมีมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับการบริหารราชการหรือข้าราชการ จานวน 30 มติ ประกอบด้วย 1) มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการบริหารราชการ จานวน 27 มติ และ 2) มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับข้าราชการ จานวน 3 มติ ทั้งนี้ สลค. ได้ขอให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องพิจารณาแสนอความเห็นในส่วนที่เกี่ยวข้อง จานวน 10 หน่วยงาน ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงาน ก.พ. สานักงาน ก.พ.ร. สานักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง และสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีส่วนราชการได้เสนอขอปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรี จานวน 1 มติ และยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี จานวน 2 มติ ดังนี้
2.1 สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2562 (เรื่อง ขอความร่วมมือในการมาตอบกระทู้ถามในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร) โดยขอแก้ไขในส่วนของวันที่กาหนดให้มีระเบียบวาระกระทู้ถามในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร จาก ทุกวันพุธ เป็น ทุกวันพฤหัสบดี เนื่องจากการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 26 ได้กาหนดให้ระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีการพิจารณากระทู้ถามทุกวันพฤหัสบดี
2.2 กระทรวงการคลังได้เสนอให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2562 (เรื่อง แนวทางการแต่งตั้งกรรมการรัฐวิสาหกิจ) เนื่องจากมีกฎหมายกาหนดไว้แล้ว ซึ่งเป็นไปตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติการพัฒนาการกากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562
2.3 สานักงาน ก.พ. ได้เสนอให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2563 [เรื่อง รายงานผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้ง (Work From Home) และการเหลื่อมเวลาในการทางานในสถานที่ตั้งของส่วนราชการ รายสัปดาห์ ครั้งที่ 4] เนื่องจากมีแนวทางปฏิบัติใหม่ ซึ่งเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2565 เรื่อง แนวทางปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทางานใหม่ และตามหนังสือเวียนสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1012.2/ว 18 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2565 แล้ว
เศรษฐกิจ-สังคม
6. เรื่อง การทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการนโยบาย ป่าไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2560
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) เสนอผลการทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2560 โดยให้คงวัตถุประสงค์และบทบัญญัติของนโยบายป่าไม้แห่งชาติไว้เช่นเดิม
สาระสาคัญ
ทส. รายงานว่า
1. เดิมคณะรัฐมนตรีมีมติ (6 พฤศจิกายน 2562) เห็นชอบร่างนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ของนโยบายป่าไม้แห่งชาติ 4 ประการ และ (2) บทบัญญัตินโยบายป่าไม้แห่งชาติ จานวน 24 ข้อ ครอบคลุม 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการป่าไม้ ด้านการใช้ประโยชน์ผลิตผลและการบริการจากป่าไม้และอุตสาหกรรมป่าไม้ และด้านการพัฒนาระบบบริหารและองค์กรเกี่ยวกับการป่าไม้
2. ต่อมาคณะอนุกรรมการจัดทาร่างนโยบายป่าไม้แห่งชาติและร่างแผนแม่บทพัฒนาการป่าไม้แห่งชาติ1 (คณะอนุกรรมการฯ) ได้จัดให้มีการทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2560 ที่กาหนดให้มีการทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติทุกสามปี (ครบกาหนดที่ต้องทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2565) โดยคานึงถึงหลักการสาคัญของทรัพยากร ป่าไม้ที่เป็นฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ จึงต้องมีกลไกในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ซึ่งผลการทบทวนปรากฏว่ายังไม่มีความจาเป็นต้องปรับปรุงนโยบายดังกล่าว โดยให้คงวัตถุประสงค์และบทบัญญัติของนโยบายป่าไม้แห่งชาติไว้เช่นเดิม (ตามข้อ 1) เนื่องจากยังคงมีความเหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน ประกอบกับขณะนี้ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการขับเคลื่อนนโยบายป่าไม้แห่งชาติผ่านแผน
11
แม่บทพัฒนาการป่าไม้แห่งชาติและถ่ายทอดสู่แผนของหน่วยงานเพื่อปฏิบัติตามแผนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อไป และคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ (คปช.) [รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นประธาน ในขณะนั้น] ในการประชุม ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2566 มีมติเห็นชอบผลการทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติดังกล่าวด้วยแล้ว
รายละเอียดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ
ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของนโยบายป่าไม้แห่งชาติ 4 ประการ และบทบัญญัตินโยบายป่าไม้แห่งชาติ จานวน 24 ข้อ ครอบคลุม 3 ด้าน ดังนี้
1 . วัตถุประสงค์ของนโยบายป่าไม้แห่งชาติ 4 ประการ ดังนี้
1.1 เพื่อให้ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้ที่เหมาะสมกับความสมดุลของระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
1.2 เพื่อหยุดยั้งและป้องกันการทาลายทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าของชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 เพื่อให้มีการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างเหมาะสม ยั่งยืน เป็นธรรม และเป็นฐานการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยคานึงถึงดุลยภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
1.4 เพื่อให้ระบบบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานองค์ความรู้และนวัตกรรม รวมทั้งกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
2. บทบัญญัตินโยบายป้าไม้แห่งชาติ จานวน 24 ข้อ ครอบคลุม 3 ด้าน ดังนี้
ข้อ
บทบัญญัตินโยบายป่าไม้แห่งชาติ
ด้านการจัดการป่าไม้ จานวน 13 ข้อ
1
(1) เชื่อมโยงการทางานของภาครัฐในการบริหารจัดการป่าไม้ทุกระดับให้มีเอกภาพและประสานกันตามห่วงโซ่การพัฒนาระหว่างการบริหารราชการทุกระดับ รวมทั้งมีการประสานความร่วมมือและพัฒนากลไกหรือเครื่องมือในการสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการในลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนาป่าไม้ของชาติในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยดาเนินการอย่างมีเป้าหมายและต่อเนื่อง
2
(2) กาหนดให้มีพื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตรา ร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ ประกอบด้วย
- ป่าอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ
- ป่าเศรษฐกิจและป่าชุมชนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศโดยกาหนดให้เพิ่มและพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ ทั้งป่าอนุรักษ์ ป่าเศรษฐกิจ และป่าชุมชน ให้ได้ตามเป้าหมายภายใต้กรอบเวลาที่กาหนดในแผนแม่บทพัฒนาการป่าไม้แห่งชาติ
3
(3) จาแนกพื้นที่ป่าไม้เพื่อการบริหารจัดการในภาพรวมของประเทศและระดับพื้นที่ พร้อมทั้งกาหนดแนวทางการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ในแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสม
4
(4) ปรับปรุงแนวเขตที่ดินป่าไม้ทุกประเภทของรัฐให้ชัดเจนและมีเอกภาพด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5
(5) พัฒนาระบบสารสนเทศทรัพยากรป่าไม้ทั้งในภาพรวมของประเทศและระดับพื้นที่ให้มีมาตรฐาน เอกภาพ ทันต่อสถานการณ์ ครอบคลุมพื้นที่ป่าไม้ทุกประเภท และเชื่อมโยงกับข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรอื่นของประเทศและกาหนดหน่วยงานหรือคณะบุคคลผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนและเหมาะสม
6
(6) ส่งเสริมและสนับสนุนบทบาทและหน้าที่ของทุกภาคส่วนให้มีจิตสานึกและมีส่วนร่วม รวมทั้งรับผิดชอบในการอนุรักษ์ การจัดการ และการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน
7
(7) หยุดยั้งและป้องกันการทาลายทรัพยากรป่ไม้ในที่ดินป่าไม้ของรัฐทุกรูปแบบให้มีประสิทธิภาพ โดยกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จของการดาเนินงานที่ชัดเจน
12
8
(8) บริหารจัดการป่าอนุรักษ์เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งป้องกันภัยธรรมชาติต่าง ๆ และรักษาสภาพธรรมชาติที่สวยงามหรือมีจุดเด่นเฉพาะตัว โดยให้คงไว้ซึ่งสภาพธรรมชาติรักษาดุลยภาพของระบบนิเวศให้มากที่สุด ซึ่งการใช้ประโยชน์ต้องกระทาเท่าที่จาเป็นตามศักยภาพหรือขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ ตลอดทั้งเพื่อประโยชน์ในการศึกษา การวิจัย และนันทนาการ
9
(9) จัดระเบียบและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับการครอบครองหรือใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ของรัฐอย่างเหมาะสม เป็นธรรม ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และคานึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศป่าไม้และสิ่งแวดล้อมจากการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ โดยให้แล้วเสร็จภายใต้กรอบเวลา
10
(10) พัฒนากลไกทางเศรษฐศาสตร์และการตลาดเพื่อสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้อย่างเหมาะสม
11
(11) ฟื้นฟูป่าไม้ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้มีความสมบูรณ์ โดยกาหนดพื้นที่เป้าหมายในการฟื้นฟูอย่างชัดเจนและต่อเนื่องมีการติดตาม ประเมินผล และเผยแพร่ผลการดาเนินงานต่อสาธารณะบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและกาหนดความรับผิดชอบของหน่วยงานภาครัฐทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
12
(12) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการป่าชุมชนให้มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อชุมชน สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ป่าไม้ของประชาชน เป็นส่วนส่งเสริมให้ชุมชนและท้องถิ่นเข้มแข็ง และเป็นการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน
13
(13) พัฒนาการจัดการสัตว์ป่าทั้งระบบ รวมทั้งแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่าอย่างเป็นรูปธรรม และสัตว์ป่าได้รับการคุ้มครอง รักษา และใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมเพื่อพัฒนาระบบนิเวศ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมของประเทศ
ด้านการใช้ประโยชน์ผลิตผลและการบริการจากป่าไม้และอุตสาหกรรมป่าไม้ จานวน 4 ข้อ
14
(1) ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจทั้งในที่ดินของรัฐที่ได้รับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์และในที่ดินกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองที่มิใช่ของรัฐให้เพียงพอกับความต้องการใช้ไม้ และตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ในทุกภาคส่วน
15
(2) ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ใช้ผลิตผลจากป่าไม้ครบวงจรในทุกระดับและพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานทรัพยากรป่าไม้อย่างเหมาะสมและเป็นรูปธรรม
16
(3) พัฒนาและส่งเสริมการรับรองป่าไม้ตามมาตรฐานการรับรองป่าไม้ให้เป็นที่ยอมรับและ ได้รับการรับรองทั้งในระดับประเทศและระดับสากล
17
(4) ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์การบริการจากป่าไม้อย่างสมดุล ยั่งยืน และเกื้อกูล ระบบนิเวศ
ด้านการพัฒนาระบบบริหารและองค์กรเกี่ยวกับการป่าไม้ จานวน 7 ข้อ
18
(1) ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรเกี่ยวกับการป่าไม้ให้สามารถบริหารจัดการป่าอนุรักษ์ ป่าเศรษฐกิจและป่าชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีขนาดที่เหมาะสม ลดความซ้าซ้อน และปรับปรุงวิสัยทัศน์ ภารกิจ หรือพันธกิจของหน่วยงานภาครัฐให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายป่าไม้แห่งชาติ และแผนแม่บทพัฒนาการป่าไม้แห่งชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
19
(2) พัฒนาศักยภาพหน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทในการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตให้กับประชาชนและการบริการอื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส โดยนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
20
(3) พัฒนาและส่งเสริมให้มีธรรมาภิบาลในการบริหารงานป่าไม้ทั้งระบบอย่างเป็นรูปธรรม โดยภาครัฐมีการบริหารอัตรากาลังที่มีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทางานเพื่อประชาชนและประเทศมีคุณธรรมและมีการพัฒนาตามเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ
13
21
(4) พัฒนาบุคลากรภาครัฐที่ปฏิบัติงานด้านทรัพยากรป่าไม้ทุกระดับให้มีความเป็นมืออาชีพในงานป่าไม้ มีความเหมาะสมกับตาแหน่งงาน รวมทั้งจัดสวัสดิการของบุคลากรหรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานคุ้มครอง และรักษาทรัพยากรป่าไม้ในภาคสนามให้มีความเหมาะสมกับลักษณะงานที่ปฏิบัติและไม่น้อยกว่าบุคลากรสายงานอื่นที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน
22
(5) กาหนดให้มียุทธศาสตร์หรือแผนการวิจัยภาคป่าไม้ในนโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือแผนการวิจัยระดับชาติ และ/หรือพิจารณาจัดตั้งสถาบันวิจัยป่าไม้ในระดับชาติ รวมทั้งสนับสนุนและพัฒนางานวิชาการ วิจัย และนวัตกรรมให้ตอบสนองต่อการปฏิรูปทรัพยากรป่าไม้ทั้งระบบ
23
(6) ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องให้มีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสังคมและสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการป่าไม้ทั้งระบบ รวมทั้ง พัฒนาการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เท่าเทียม และนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย
24
(7) ให้มี คปช. ที่จัดตั้งเป็นการถาวรโดยกฎหมาย มีหน้าที่และอานาจในการกาหนดนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของประเทศทั้งระบบ รวมทั้งกากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประสานและให้คาแนะนาแก่ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและให้พิจารณาจัดตั้งสานักงาน คปช. เพื่อทาหน้าที่ขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานของ คปช.
1คณะอนุกรรมการฯ แต่งตั้งจากคาสั่ง คปช. ที่ 1/2561 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2561 โดยนายขวัญชัย ดวงสถาพร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทรัพยากรป่าไม้ เป็นประธาน มีอานาจหน้าที่ในการจัดทาร่างนโยบายป่าไม้แห่งชาติและร่างแผนแม่บทพัฒนาการป่าไม้แห่งชาติ และทบทวนนโยบายป่าไม้แห่งชาติและแผนแม่บทพัฒนาการป่าไม้แห่งชาติ เพื่อเสนอต่อ คปช. ทุกสามปี
7. เรื่อง สรุปมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2566
คณะรัฐมนตรีรับทราบสรุปมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ (กนป.) เสนอ
สาระสาคัญ
1. การประชุม กนป. ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 มีรองนายกรัฐมนตรี (นายภูมิธรรม เวชยชัย) เป็นประธาน มีสาระสาคัญสรุปได้ ดังนี้
ประเด็น
มติ กนป.
(1) โครงการบริหารจัดการสมดุลน้ามันปาล์ม ปี 2566- 2567
มอบกระทรวงพาณิชย์ (พณ.) (กรมการค้าภายใน) พิจารณาทบทวนรายละเอียดโครงการบริหารจัดการสมดุลน้ามันปาล์ม ปี 2566 - 2567 ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 (เรื่อง การจัดทามาตรการ/โครงการเพื่อสนับสนุนหรือให้ความช่วยเหลือเกษตรกร) ซึ่งให้ความสาคัญในเรื่องของการเพิ่มระดับประสิทธิภาพการผลิต (Productivity) และการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่สินค้าเกษตร เพื่อช่วยยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตให้เกษตรกรได้อย่างยั่งยืนต่อไป
(2) การกาหนดมาตรการเกี่ยวกับการรับซื้อผลปาล์มน้ามัน
(1) เห็นชอบการกาหนดมาตรการเกี่ยวกับการรับซื้อผลปาล์มน้ามัน : โดยกาหนด ?ห้ามมิให้ผู้ประกอบการจุดรับซื้อผลปาล์มน้ามัน (ลานเท) กระทาด้วยประการใด ๆ เพื่อให้ผลปาล์มน้ามันร่วงอย่างไม่เป็นธรรมชาติ* ไม่ว่าจะโดยใช้ตะแกรง รางเทสาหรับลาเลียงทะลายปาล์มน้ามันที่เป็นตะแกรง อุปกรณ์หรือสิ่งอื่นใดสาหรับแยกผลปาล์มน้ามันร่วง? โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. 2542
14
*หมายเหตุ : เนื่องจากการสกัดน้ามันจากทะลายปาล์มที่มีผลปาล์มสุกพร้อมกันจะทาให้สามารถสกัดน้ามันได้มีคุณภาพมากกว่าการสกัดจากผลปาล์มร่วง
(2) มอบ พณ. (กรมการค้าภายใน) นามาตรการเกี่ยวกับการรับซื้อผลปาล์มน้ามันเสนอคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เป็นประธาน) เพื่อกาหนดมาตรการทางกฎหมายให้สามารถมีผลบังคับใช้และสามารถดาเนินการให้เกิดประสิทธิผลได้ในทางปฏิบัติ
(3) การปรับปรุงองค์ประกอบในคณะอนุกรรมการบริหารจัดการสมดุลน้ามันปาล์ม
(1) เห็นชอบการปรับปรุงองค์ประกอบในคณะอนุกรรมการบริหารจัดการสมดุลน้ามันปาล์ม ในส่วนของผู้แทนเกษตรกร จากเดิม ประธานคณะกรรมการด้านปาล์มน้ามันและพืชพลังงาน สภาเกษตรกรแห่งชาติ (นายพันศักดิ์ จิตรรัตน์) เป็น ผู้แทนสภาเกษตรกรแห่งชาติ (ด้านปาล์มน้ามัน)
(2) มอบฝ่ายเลขานุการ กนป. (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) เสนอคาสั่ง กนป. แก้ไขคาสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารจัดการสมดุลน้ามันปาล์ม เสนอประธาน กนป. พิจารณาลงนามต่อไป
(4) การพิจารณาการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสภามนตรีประเทศผู้ผลิตน้ามันปาล์มของไทย
เห็นควรชะลอการพิจารณาการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสภามนตรีประเทศผู้ผลิตน้ามันปาล์ม (Council of Palm Producing Countries: CPOPC) ของไทย**และมอบหมายฝ่ายเลขานุการ กนป. หารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ได้ข้อสรุปก่อนที่จะนามาเสนอ กนป. พิจารณาต่อไป พร้อมทั้งให้แจ้งกระทรวงการต่างประเทศดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เพื่อให้เกิดความรอบคอบในการพิจารณาและครอบคลุมในทุกมิติ
(5) แนวทางการรับเบี้ยประชุมของกรรมการใน กนป. และอนุกรรมการภายใต้ กนป.
ให้คงแนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมและเบี้ยประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ภายใต้ กนป. ที่เบิกจ่ายจากงบประมาณของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ข้อ 10 ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินการจัดประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ภายใต้ กนป. มีประสิทธิภาพสูงสุดและไม่เป็นภาระทางด้านงบประมาณ ให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการภายใต้ กนป. พิจารณาดาเนินการจัดประชุมตามความเหมาะสมเท่าที่จาเป็นและเกิดประโยชน์สูงสุด
(6) การจัดทาโครงสร้างราคาผลปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์ม
มอบหมายสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มทั้งระบบ รับข้อสังเกตจากที่ประชุมและเร่งรัดการดาเนินโครงการวิจัย ?สมการโครงสร้างราคาผลปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์ม? ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นผู้ดาเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในกรอบระยะเวลาดาเนิน
15
โครงการ (เดือนตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และนามาเสนอ กนป. เพื่อพิจารณาต่อไป
(7) การตรวจสอบและทบทวนคณะอนุกรรมการและคณะทางานภายใต้ กนป.
(1) เห็นชอบให้ฝ่ายเลขานุการ กนป. พิจารณาตรวจสอบและทบทวนสถานะการคงอยู่ของคณะอนุกรรมการและคณะทางาน ภายใต้ กนป. พร้อมทั้งปรับปรุงองค์ประกอบ หน้าที่ และอานาจให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิหรือบุคคลเป็นอนุกรรมการหรือคณะทางานควรกาหนดวาระในการดารงตาแหน่งด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการกลั่นกรองและเสนอมาตรการและนโยบายในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มทั้งระบบ (2) มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการ กนป. ติดตามความคืบหน้าในการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการและคณะทางาน ภายใต้ กนป. เพื่อรายงานให้ กนป. ทราบต่อไป
2. ฝ่ายเลขานุการ กนป. (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร) แจ้งว่า
2.1 การกาหนดมาตรการเกี่ยวกับการรับซื้อผลปาล์มน้ามัน [ตามข้อ 1 (2)] : เป็นการพัฒนาคุณภาพผลปาล์มน้ามันและเพิ่มอัตราสกัดน้ามันปาล์มจะส่งผลให้มีปริมาณน้ามันปาล์มดิบทั้งระบบเพิ่มขึ้น ช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มทั้งระบบ ซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มของไทยได้อย่างยั่งยืน
2.2 การตรวจสอบและทบทวนสถานการณ์คงอยู่ของคณะอนุกรรมการและคณะทางาน ภายใต้ กนป. และการปรับปรุงองค์ประกอบในคณะอนุกรรมการ [ตามข้อ 1 (3) และ (7)] : ทาให้คณะอนุกรรมการและคณะทางานภายใต้ กนป. มีหน้าที่และอานาจที่ถูกต้องเป็นปัจจุบันและมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ซึ่งจะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการกลั่นกรองและเสนอมาตรการ นโยบาย ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มทั้งระบบ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2564 (เรื่อง แนวทางการใช้ระบบคณะกรรมการเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล)
2.3 การกาหนดแนวทางการรับเบี้ยประชุมของกรรมการใน กนป. และอนุกรรมการภายใต้ กนป. [ตามข้อ 1 (5)] : จะทาให้การพิจารณาดาเนินการจัดประชุมเป็นไปตามความเหมาะสม เท่าที่จาเป็น และเกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งไม่เป็นภาระทางด้านงบประมาณ
2.4 การจัดทาโครงสร้างราคาผลปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์ม [ตามข้อ 1 (6)] : จะทาให้มีเกณฑ์โครงสร้างราคาที่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงและสอดคล้องกับสถานการณ์อุปสงค์อุปทานในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งโครงสร้างราคาผลปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มจะต้องเป็นที่ยอมรับจากเกษตรกรและผู้ประกอบการและสร้างความเป็นธรรมในการซื้อขายผลปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มกับทุกฝ่าย
8. เรื่อง ขออนุมัติรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป สาหรับโครงการผลิตแพทย์และทีมนวัตกรรมสุขภาพเพื่อเวชศาสตร์ครอบครัวตอบสนองต่อระบบสุขภาพปฐมภูมิทั่วไทย
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เสนอดังนี้
1. เห็นชอบในหลักการของโครงการผลิตแพทย์และทีมนวัตกรรมสุขภาพเพื่อเวชศาสตร์ครอบครัวตอบสนองต่อระบบสุขภาพปฐมภูมิทั่วไทย (โครงการผลิตแพทย์ฯ)
2. อนุมัติรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป สาหรับโครงการผลิตแพทย์ฯ จานวนทั้งสิ้น 37,234.48 ล้านบาท
สาหรับค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการดังกล่าว เห็นควรให้กระทรวงสาธารณสุข โดยสถาบันพระบรมราชชนกจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณพร้อมทั้งรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอขอ
16
ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีและพิจารณาความครอบคลุมทุกแหล่งเงิน หรือนาเงินนอกงบประมาณมาสมทบตามความพร้อม ความจาเป็นและความเหมาะสมที่จะต้องใช้จ่ายในแต่ละปีงบประมาณ รวมทั้งพิจารณาดาเนินการให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ตามความเห็นของสานักงบประมาณ
สาระสาคัญ
1. โครงการผลิตแพทย์ฯ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (Primary care service)1 ซึ่งเป็นระบบบริการสุขภาพด่านแรกของระบบบริการสาธารณสุขเพื่อดูแลสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่นที่จะช่วยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างทั่วถึง (เช่น สถานีชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลชุมชน เป็นต้น) โดยหน่วยบริการปฐมภูมิจะขับเคลื่อนด้วยทีมหมอครอบครัว (PCC : Primary Care Cluster) ซึ่งประกอบด้วยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและสหวิชาชีพ รวม 9 สาขาวิชาชีพ (ได้แก่ แพทย์เวชศาสตร์ พยาบาล นักวิชาการสาธารณ์สุข ผู้ช่วยพยาบาล ผู้ช่วยสาธารณสุข ทันตแพทย์ เภสัชกร นักฉุกเฉินการแพทย์ และแพทย์แผนไทย) โดย สธ. ตั้งเป้าหมายให้มีหน่วยบริการปฐมภูมิ จานวน 6,500 แห่ง ในปี 2572 เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีหน่วยบริการปฐมภูมิที่ให้บริการประชาชน จานวน 3,985 แห่ง (ต่ากว่าเป้าหมาย 2,515 แห่ง)
2. สธ. (สถาบันพระบรมราชชนก) จึงได้จัดทาโครงการผลิตแพทย์ฯ ขึ้น เพื่อผลิตกาลังคนด้านสาธารณสุขในสาขาต่าง ๆ รวม 9 สาขา และสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิของประเทศ โดยมีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้
หัวข้อ
รายละเอียด
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อผลิตบุคลากรทางการแพทย์ การพยาบาล และการสาธารณสุขในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิของประเทศตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว2
(2) เพื่อพัฒนาบุคลากรของสถาบันพระบรมราชชนก3 และหน่วยงานเครือข่ายใน สธ. ให้มีสมรรถนะและตอบสนองความต้องการผลิตบุคลากรตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว
(3) เพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาทางการแพทย์ การพยาบาล และการสาธารณสุขไปสู่ประชาชนในส่วนภูมิภาค
วิธีดาเนินการ
(1) ดาเนินการจัดตั้งสานักบริหารการผลิตบุคลากรเพื่อตอบสนองงานบริการปฐมภูมิ โดยทาหน้าที่ เช่น กาหนดเกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ขาดแคลน บริหารงบประมาณให้สถาบันพระบรมราชชนกและมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมความร่วมมือ กากับติดตามการจัดการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานวิชาชีพ เป็นต้น
(2) การรับสมัครและคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ซึ่งมี 2 ประเภท ดังนี้
(2.1) เป็นผู้ที่สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการศึกษา วิทย์ - คณิต (หลักสูตร 6 ปี)
(2.2) เป็นผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ (หลักสูตร 5 ปี)
(3) การรับสมัครและคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาหลักสูตรทุกวิชาชีพ และดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรของแต่ละมหาวิทยาลัย รวมถึงเกณฑ์มาตรฐานประกอบวิชาชีพที่สภาวิชาชีพกาหนด
ระยะเวลาดาเนินการ
ปีการศึกษา พ.ศ. 2568 - 2577
แผนการผลิต
ครอบคลุมระยะเวลา 10 ปี ระหว่างปีการศึกษา 2568 - 25677 โดยมีรายละเอียดดังนี้
สายวิชาชีพ
หลักสูตร
อัตรา
(บาท/คน/ปี)
แผนการผลิต
ปีละ (คน)
แผนการผลิต
10 ปี (คน)
แพทย์เวชศาสตร์
แพทยศาสตรบัณฑิต
300,000
1,000
10,000
พยาบาล (ชุมชน)
พยาบาลศาสตรบัณฑิต
120,000
1,000
10,000
17
นักวิชาการสาธารณสุข
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
120,000
500
5,000
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาทันตสาธารณสุข
150,000
500
5,000
ผู้ช่วยพยาบาล
ประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล
45,000
1,000
10,000
ผู้ช่วยสาธารณสุข
ประกาศนียบัตรผู้ช่วยสาธารณสุข
40,000
1,000
10,000
ทันตแพทย์ (ชุมชน)
ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต
208,000
300
3,000
เภสัชกร (ชุมชน)
เภสัชศาสตรบัณฑิต
150,000
300
3,000
นักฉุกเฉินการแพทย์
วิทยาศาสตร์บัณฑิต
สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย์
120,000
300
3,000
แพทย์แผนไทย
แพทย์แผนไทยบัณฑิต
100,000
300
3,000
รวมทั้งสิ้น
6,200
62,000
ค่าใช้จ่ายและแหล่งที่มา
กรอบวงเงินงบประมาณที่ใช้ในโครงการผลิตแพทย์ฯ มีจานวนทั้งสิ้น 37,234.48 ล้านบาท โดยใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี รายละเอียดสรุปได้ ดังนี้
โครงการ
วงเงิน (ล้านบาท)
คาขอตั้งงบประมาณ
พ.ศ. 2568
ผูกพันปีงบประมาณที่เหลือ
(ปีงบประมาณ พ.ศ. 2569 - 2583)*
วงเงินรวม
โครงการผลิตแพทย์ฯ ระยะ 10 ปี พ.ศ. 2568 - 2577
327.82
36,906.66
37,234.48
*หมายเหตุ : ระยะเวลาโครงการผลิตแพทย์ฯ รับผู้เรียนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 - 2577 และผูกพันงบประมาณจนผู้เรียนปีสุดท้ายจบการศึกษาในปี 2583
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(1) บุคลากรทางการแพทย์ การพยาบาล และการสาธารณสุขสามารถพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิของประเทศตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว
(2) บุคลากรของสถาบันพระบรมราชชนกและหน่วยงานเครือข่ายใน สธ. ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะตอบสนองความต้องการการผลิตบุคลากรตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว
(3) กระจายโอกาสทางการศึกษาทางการแพทย์ การพยาบาล และการสาธารณสุขไปสู่ประชาชนในส่วนภูมิภาค
3. สภาสถาบันพระบรมราชชนก [นายกสภาสถาบัน (ศาสตราจารย์วิจารณ์ พานิช) เป็นประธาน] ในการประชุมครั้งที่ 9/2566 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2566 และที่ประชุมผู้บริหารระดับสูง สธ. (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน) ในการประชุมครั้งที่ 10/2566 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2566 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแนวทางและหลักการโครงการผลิตแพทย์ฯ แล้ว
18
4. สธ. แจ้งว่า โครงการผลิตแพทย์ฯ จะช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ การพยาบาล และการสาธารณสุขและทาให้ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
ทั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขยืนยันว่า โครงการผลิตแพทย์ฯ ที่เสนอในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตบุคลากรด้านสาธารณสุขปฐมภูมิเป็นหลัก โดยมีกลไก ในการคัดกรองผู้สมัครอย่างชัดเจน เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิของประเทศ และส่งเสริมให้เกิดการกระจายตัวของแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องไปปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศ ซึ่งในส่วนของสถาบันการศึกษาก็มีความพร้อมที่จะผลิตนักศึกษา ทั้ง 9 สาขา ตามกรอบการดาเนินโครงการ
1 ระบบบริการปฐมภูมิ (Primary care service) คือ บริการทางการแพทย์ที่มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนในลักษณะองค์รวม ซึ่งครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรคการรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยจะเป็นการรักษาพยาบาลที่การให้บริการสิ้นสุดที่บริการผู้ป่วยนอก ในกรณีที่ประชาชนเกิดอาการเจ็บป่วย ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลในเบื้องต้นและถูกส่งต่อไปยังสถานพยาบาลสาหรับการรักษาที่ซับซ้อนต่อไป
2 เวชศาสตร์ครอบครัว คือ สาขาหนึ่งของการแพทย์เฉพาะทางซึ่งเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เช่น การดูแลผู้ป่วยด่านแรก การประสานงานกับทีมแพทย์และสาขาวิชาชีพอื่น ๆ การดูแลผู้ป่วยในชุมชน เป็นต้น
3 สถาบันพระบรมราชชนก เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณอยู่ในสังกัด สธ. (ตามพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. 2562) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของ สธ. ซึ่งวิทยาลัยในสังกัดรวมทั้งสิ้น 39 แห่ง เป็นวิทยาลัยพยาบาล จานวน 30 แห่ง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จานวน 7 แห่ง วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จานวน 1 แห่ง และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี จานวน 1 แห่ง
9. เรื่อง แนวทางการป้องกันการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่และการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือน
คณะรัฐมนตรีรับทราบแนวทางการป้องกันการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่และการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือน ตามมติคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ในการประชุมครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 ตามที่สานักงาน ก.พ. เสนอ
สาระสาคัญ
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 76 วรรคสอง บัญญัติให้รัฐพึงดาเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม โดยกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อานาจ หรือกระทาการโดยมิชอบที่เป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระบวนการแต่งตั้งหรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. สานักงาน ก.พ. รายงานว่า
2.1 ก.พ. ในการประชุมครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 มีมติเห็นชอบแนวทางการป้องกันการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่และการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือน และให้รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบว่าได้มีการดาเนินการตามมาตรา 76 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว โดยมีความเห็นและข้อสังเกตด้วยว่า ปัจจุบันมีมาตรการในการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อานาจ หรือกระทาการโดยมิชอบที่เป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระบวนการแต่งตั้งหรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามนัยมาตรา 76 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอยู่แล้วเพียงแต่ถูกกาหนดไว้ในบทบัญญัติของกฎหมายหลายฉบับ ดังนั้น ในชั้นนี้จึงเห็นว่ายังไม่มีความจาเป็นที่จะต้องจัดทาเป็นกฎหมายฉบับใหม่เพิ่มเติม ทั้งนี้ เมื่อสานักงาน ก.พ. ได้รวบรวมมาตรการหรือแนวทางในเรื่องดังกล่าวให้เป็นเอกภาพและจัดทาเป็นหนังสือเพื่อแจ้งเวียนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเรียบร้อยแล้ว ให้รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบต่อไป
2.2 สานักงาน ก.พ. ได้ดาเนินการตามมติ ก.พ. โดยจัดทาแนวทางการป้องกันการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่และการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือน และแจ้งเวียนส่วนราชการทราบและถือปฏิบัติเรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1012.3/ว 14 ลงวันที่ 8 สิงหาคม 2566 พร้อมทั้งได้แจ้ง
19
แนวทางดังกล่าวให้สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา และสานักงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญทราบและพิจารณาดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไปด้วยแล้ว
2.3 แนวทางการป้องกันการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่และการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือนมีรายละเอียด ดังนี้
2.3.1 คาจากัดความ
ในแนวทางนี้
การก้าวก่ายแทรกแซง หมายความว่า การที่บุคคลผู้ใดซึ่งไม่ได้ถูกกาหนดให้มีหน้าที่และอานาจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนได้ใช้อานาจ หรือกระทาการโดยมิชอบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน เป็นไปเพื่อประโยชน์ของบุคคลผู้นั้นหรือผู้อื่นไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมและไม่ว่าการกระทาหรือพฤติกรรมนั้นจะประสบผลสาเร็จตามความประสงค์ของผู้นั้นหรือไม่
ทั้งนี้ การให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ หรือการแสดงความคิดเห็นจากผู้ที่ไม่มีหน้าที่และอานาจเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวที่ได้กระทาไปโดยสุจริตเปิดเผย และสามารถระบุหรืออ้างอิงตัวบุคคลผู้นั้นได้ ไม่ถือเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงตามแนวทางนี้
การปฏิบัติหน้าที่ หมายความว่า การปฏิบัติราชการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล และการปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
การบริหารงานบุคคล หมายความว่า การดาเนินการใด ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน รวมถึงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องนับตั้งแต่การสรรหา การบรรจุ การแต่งตั้ง (การย้าย การโอน การเลื่อน) การประเมินผลการปฏิบัติราชการการเลื่อนเงินเดือน การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนาข้าราชการ การปกครองบังคับบัญชา การดาเนินการทางวินัย การให้ออกจากราชการ ทั้งนี้ ให้หมายความรวมถึงการมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินด้วย
2.3.2 แนวทางในการดาเนินการ
เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีบุคคลผู้ใดได้กระทาการอันมีลักษณะเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือนให้ผู้ที่ได้รับรู้รับทราบถึงการกระทานั้น หรือผู้ที่เกี่ยวข้องดาเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไข หรือขั้นตอนที่กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับว่าด้วยการนั้นกาหนดไว้ในแต่ละกรณีดังต่อไปนี้
(1) กรณีสงสัยว่านายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผู้ใดใช้สถานะหรือตาแหน่งการเป็นนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี กระทาการอันมีลักษณะเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือน ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการกระทาต้องห้ามตามมาตรา 186 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และอาจเป็นเหตุให้ความเป็นรัฐมนตรีของผู้นั้นสิ้นสุดลงเฉพาะตัว ตามมาตรา 170 (5) ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อผู้มีหน้าที่* เพื่อดาเนินการให้มีการวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของผู้นั้นสิ้นสุดลงหรือไม่ตามนัยมาตรา 82 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยต่อไป
(2) กรณีสงสัยว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ผู้ใดใช้สถานะหรือตาแหน่งการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภากระทาการอันมีลักษณะเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการกระทาที่ต้องห้ามตามมาตรา 185 (1) และ (3) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และอาจเป็นเหตุใหัสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาผู้นั้นสิ้นสุดลงตามมาตรา 101 (7) หรือมาตรา 111 (7) แล้วแต่กรณี ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อผู้มีหน้าที่* เพื่อดาเนินการให้มีการวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาผู้นั้นสิ้นสุดลงหรือไม่ ตามนัยมาตรา 82 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยต่อไป
(3) กรณีสงสัยว่าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และหัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ ผู้ใดกระทาการอันมีลักษณะเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลในราชการพลเรือน ซึ่งอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และหัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและ
20
องค์กรอิสระ พ.ศ. 2561 และอาจเป็นเหตุให้ผู้นั้นพ้นจากตาแหน่งตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเพื่อพิจารณาดาเนินการตามนัยมาตรา 235 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ต่อไป
(4) กรณีสงสัยว่ากรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมผู้ใดกระทาการอันเป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการกระทาผิดวินัยตามข้อ 11 ของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และอาจเป็นเหตุให้ผู้นั้นพ้นจากตาแหน่งตามข้อ 8 (4) ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องดาเนินการเพื่อให้นายกรัฐมนตรีวินิจฉัยหรือสั่งการตามข้อ 11 วรรคสาม ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมต่อไป
(5) กรณีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ผู้ใดกระทาการอันมีลักษณะเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ซึ่งอาจเข้าข่ายกระทาผิดวินัยตามหมวด 6 วินัยและการรักษาวินัย ของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อผู้บังคับบัญชาของข้าราชการผู้นั้นเพื่อดาเนินการตามมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ประกอบกับกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการทางวินัย พ.ศ. 2556 ต่อไป
ทั้งนี้ กรณีสงสัยว่าบุคคลอื่นที่ไม่ได้มีการระบุไว้ตามแนวทางดังกล่าวข้างต้น เช่น ข้าราชการการเมืองอื่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง [นอกเหนือจากตาแหน่งตามข้อ (1)] บุคคลหรือผู้ปฏิบัติงานให้แก่ข้าราชการการเมืองในตาแหน่งที่ปรึกษาหรือตาแหน่งอื่น ๆ ที่รัฐมนตรีแต่งตั้งนอกเหนือจากที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมืองและระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา ผู้ใดใช้สถานะหรือตาแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งกระทาการอันมีลักษณะเป็นการก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือการบริหารบุคคลของข้าราชการพลเรือน ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อผู้มีหน้าที่และอานาจดาเนินการเพื่อให้มีการพิจารณาวินิจฉัยตามอานาจหน้าที่หรือตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับว่าด้วยการนั้นต่อไป
3. สานักงาน ก.พ แจ้งว่าสานักงาน ก.พ ซึ่งมีอานาจหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดาเนินงานในหน้าที่ของ ก.พ. และดาเนินการตามที่ ก.พ. มอบหมาย ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ได้ขอให้นาเรื่องนี้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ ตามที่ ก.พ. ได้มีมติมอบหมายในคราวประชุมครั้งที่ 4/2566
* ผู้มีหน้าที่ หมายถึง ผู้มีหน้าที่ดาเนินการตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้องตามแต่กรณี เช่น กรณีสงสัยนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี และกรณีสงสัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ให้ถือว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา จานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาหรือคณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นผู้มีหน้าที่ ตามมาตรา 82 และมาตรา 170 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
10. เรื่อง ข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันการทุจริตเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาล กรณีการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet
คณะรัฐมนตรีรับทราบข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันการทุจริตเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาลกรณีการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet ตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เสนอ และมอบหมายให้คณะกรรมการนโยบายโครงการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet รับเรื่องนี้ไปพิจารณาให้ได้ข้อยุติ โดยให้คณะกรรมการนโยบายโครงการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet สรุปผลการพิจารณา/ผลการดาเนินการ/ความเห็นในภาพรวม แล้วส่งให้สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้งจาก สลค. เพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป
21
11. เรื่อง รายงานสถานการณ์น้าภาพรวมประเทศ (ระหว่างวันที่ 14 - 19 กุมภาพันธ์ 2567)
คณะรัฐมนตรีรับทราบสถานการณ์น้าปัจจุบันและการคาดการณ์ ตามที่สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) เสนอ และมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตามพื้นที่เฝ้าระวังเสี่ยงขาดแคลนน้าฤดูแล้ง ปี 2566/67 อย่างใกล้ชิดเพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนให้เกิดน้อยที่สุด
สาระสาคัญและข้อเท็จจริง
สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) ได้บูรณาการข้อมูลที่เกี่ยวข้องและขอสรุปสถานการณ์น้าระหว่างวันที่ 14 - 19 กุมภาพันธ์ 2567 มีดังนี้
1. สภาพอากาศและการคาดการณ์ฝน
ปัจจุบันพบว่าปรากฏการณ์เอลนีโญกาลังแรงจะอ่อนกาลังลงและจะกลับเข้าสู่สภาวะเป็นกลางในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน หลังจากนั้นมีโอกาสที่จะเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะลานีญาในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน ด้วยความน่าจะเป็นร้อยละ 68
ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคกลางและภาคตะวันออก ในขณะที่มีลมฝ่ายตะวันตกในระดับบนพัดปกคลุมภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทาให้บริเวณดังกล่าวมีฝนฟ้าคะนองบางแห่ง สาหรับลมตะวันออกและลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามัน ลักษณะเช่นนี้ทาให้ภาคใต้ยังคงมีฝนฟ้าคะนองบางแห่ง
2. สถานการณ์น้าในอ่างเก็บน้าต่าง ๆ และการคาดการณ์
(1) สถานการณ์น้าในอ่างเก็บน้าภาพรวมประเทศ สถานการณ์แหล่งน้าทั่วประเทศปัจจุบัน (ข้อมูลวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2567) มีปริมาณน้า 55,029 ล้านลูกบาศก์เมตร (67%) น้อยกว่าปี 2566 จานวน 3,979 ล้านลูกบาศก์เมตร มีปริมาณน้าใช้การ 30,818 ล้านลูกบาศก์เมตร (53%) มีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ที่ต้องเฝ้าระวังน้าน้อย (ปริมาณน้าต่ากว่าเกณฑ์เก็บกักต่าสุด (Lower Rule Curve)) 4 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้าสิริกติ์ อ่างเก็บน้ากระเสียว อ่างเก็บน้าจุฬาภรณ์ และอ่างเก็บน้าคลองสียัด และเฝ้าระวังอ่างเก็บน้าขนาดกลางที่มีน้าน้อยกว่า 30% ของความจุเก็บกัก จานวน 28 แห่ง ได้แก่ ภาคเหนือ 2 แห่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 แห่ง ภาคกลาง 2 แห่ง ภาคตะวันออก 8 แห่ง และภาคตะวันตก 11 แห่ง
(2) การคาดการณ์ปริมาณน้าใช้การอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ 35 แห่ง
ต้นฤดูฝน ปี 2567 (วันที่ 1 พฤษภาคม 2567) จะมีปริมาณน้า 17,538 ล้าน ลบ.ม. (37%) เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 ที่มีปริมาณน้าใช้การ 17,787 ล้าน ลบ.ม. มากกว่า 249 ล้าน ลบ.ม.
ต้นฤดูแล้ง ปี 2567/68 (วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567) จะมีปริมาณน้า 30,464 ล้าน ลบ.ม. (64%) เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 ที่มีปริมาณน้าใช้การ 32,849 ล้าน ลบ.ม. มากกว่า 2,385 ล้าน ลบ.ม.
(3) การคาดการณ์ปริมาณน้าที่อยู่ในเกณฑ์น้าน้อยปี 2567 (ปริมาณน้าต่ากว่าเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้าต่าสุด Lower Rule Curve) ภาคเหนือ 3 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้าภูมิพล อ่างเก็บน้าสิริกิติ์ และอ่างเก็บน้าทับเสลา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้าห้วยหลวง และอ่างเก็บน้าสิรินธร ภาคตะวันตก 3 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้าศรีนครินทร์ อ่างเก็บน้าแก่งกระจานและอ่างเก็บน้าปราณบุรี ภาคตะวันออก 2 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้าขุนด่านปราการชลและอ่างเก็บน้าคลองสียัด
3. สถานการณ์แม่น้าโขง
สถานการณ์น้าในแม่น้าโขง อยู่ในเกณฑ์น้าน้อยวิกฤต และมีแนวโน้มทรงตัว
4. คุณภาพน้า
คุณภาพน้าในแม่น้าสายหลักส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นแม่น้าท่าจีน แม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าบางปะกง ได้ติดตามและเฝ้าระวังน้าทะเลหนุนสูงและน้าเค็มรุกล้าแม่น้าในช่วงวันที่ 9 ? 15 กุมภาพันธ์ 2567 ในพื้นที่ดังนี้
(1) พื้นที่เสี่ยงน้าท่วมบริเวณชุมชนนอกแนวคันกั้นน้า และแนวเขื่อนชั่วคราว บริเวณที่ไม่มีแนวป้องกันน้าถาวร (แนวฟันหลอ) ในพื้นที่ใกล้เคียงจังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครปฐม นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการ
(2) เฝ้าระวังน้าเค็มรุกล้าส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้าใช้อุปโภค บริโภค และการเกษตรแม่น้าเจ้าพระยา ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และปทุมธานี แม่น้าแม่กลอง
22
ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม แม่น้าท่าจีน ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และนครปฐม แม่น้าบางปะกงในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี
นอกจากนี้ สทนช. ได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตามและคาดการณ์สถานการณ์น้าเค็มจากภาวะน้าทะเลหนุนสูงอย่างใกล้ชิด โดยน้าทะเลหนุนสูงอีกครั้งในช่วงวันที่ 21 - 25 กุมภาพันธ์ 2567 ทั้งนี้ ได้บูรณาการร่วมกับกรมชลประทานในการปรับเพิ่มอัตราการระบายน้าจากเขื่อนเจ้าพระยาและเขื่อนพระรามหกเพื่อควบคุมค่าความเค็มที่สถานีสูบน้าสาแล ไม่ให้เกิน 0.5 กรัมต่อลิตร ในช่วงวันดังกล่าว และมอบหมายให้การประปานครหลวงและกรมชลประทาน เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติการ Water Hammer Operation เพื่อช่วยผลักดันลิ่มความเค็มรุกเข้าแม่น้าสายหลัก
5. การลงพื้นที่ตรวจราชการ
(1) สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์น้าและพื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้าในพื้นที่ภาคเหนือ ตามมาตรการรองรับฤดูแล้ง ปี 2566/67 ระหว่างวันที่ 14 - 15 กุมภาพันธ์ 2567 ณ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดเชียงใหม่พบปัญหาปริมาณน้าไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้าไม่มีแหล่งน้าอื่นสารอง ระบบกระจายน้าไม่ครอบคลุมในพื้นที่ ลาน้าตื้นเขิน สทนช. จึงได้เสนอแนวทางการแก้ไขระยะสั้น พร้อมทั้งได้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวางแผน บูรณาการแก้ไขปัญหาระยะกลางและระยะยาว โดยจะมีการจัดทาแผนบูรณาการเชิงพื้นที่ระดับลุ่มน้าร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก้ไขปัญหาน้าแลัง น้าท่วม และคุณภาพอย่างเป็นระบu (Area Based) และสอดคล้องกับแผนแม่บทลุ่มน้า โดยจะใช้รูปแบบแม่ฮ่องสอนโมเดล เป็นต้นแบบ รวมถึงเน้นการดาเนินการการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศด้านต่าง ๆ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านน้าให้ยั่งยืนต่อไป
(2) นายกรัฐมนตรีลงพื้นที่ติดตามการบริหารจัดการพื้นที่เขตหนองหารและการบริหารจัดการน้าในพื้นที่หนองหาร ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2567 ณ จังหวัดสกลนคร โดยเน้นย้าให้มีการแก้ไขปัญหาเรื่องเขตหรือพื้นที่ทับซ้อน และการบริหารจัดการน้าในพื้นที่หนองหารให้สามารถรองรับน้าและกระจายน้าได้อย่างเหมาะสม ป้องกันภัยน้าท่วม ภัยแล้งได้ อีกทั้งได้แนะนาให้ปล่อยพันธุ์ปลาให้เพียงพอกับความต้องการของประชาชน และปล่อยพันธุ์ปลาที่เป็นที่ต้องการของตลาดด้วย เพื่อสร้างรายได้ให้กับประชาชนเพิ่มขึ้น
6. ถอดบทเรียนการบริหารจัดการน้า และมาตราการรับมือฤดูฝน ปี 2566
สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการถอดบทเรียนการบริหารจัดการน้าและมาตรการรับมือฤดูฝน ปี 2566 ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ห้องประชุมแคทลียา โรงแรมรามาการ์เด้น โดยที่ประชุมได้เสนอความคิดเห็นให้การดาเนินการมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น พิจารณาดาเนินการเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้าแทนการจ่ายค่าชดเชย เพิ่มความแม่นยาของการคาดการณ์และประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสร้างเครือข่ายภาคประชาชนและเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายเดิมของหน่วยงานต่าง ๆ สนับสนุนการบริหารจัดการน้า เพิ่มเครื่องมือในการบริหารจัดการน้าโดยพัฒนาระบบระบายน้าและที่เก็บน้า เป็นต้น ทั้งนี้ สทนช. ได้กาหนด (ร่าง) มาตรการฤดูฝน ปี 2567 เพื่อยกระดับการบริหารจัดการทรัพยากรน้าอย่างเป็นระบบโดยการปรับปรุงแนวทางการดาเนินการจากปีที่ผ่านมา ซึ่งจะเสนอคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ (กนช.) และคณะรัฐมนตรี พิจารณา เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรน้าในช่วงฤดูฝน ปี 2567
12. เรื่อง ขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไปพลางก่อน งบกลางรายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น เพื่อดาเนินโครงการ Maha Songkran World Water Festival 2024 เย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์ 2567
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไปพลางก่อน งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น จานวน 104,872,000 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับการดาเนินโครงการ Maha Songkran World Water Festival 2024 เย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์ 2567 โดยให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมรายละเอียดประกอบ เพื่อขอทาความตกลงกับสานักงบประมาณตามขั้นตอนต่อไป รวมทั้งให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาพิจารณากาหนดกลไกในการขับเคลื่อนโครงการให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงความโปร่งใส ความ
23
ประหยัด ความคุ้มค่า ผมสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ ตลอดจนสร้างการรับรู้และการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนด้วย ตามความเห็นของสานักงบประมาณ
สาระสาคัญ
กก. โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้กาหนดจัดงาน Maha Songkran World Water Festival 2024 เย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์ 2567 ขึ้นในเดือนเมษายน 2567 ณ กรุงเทพมหานคร และพื้นที่อัตลักษณ์ 5 ภูมิภาคทั่วประเทศไทย1 เพื่อร่วมอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีอันงดงามของไทยและเฉลิมฉลองในโอกาสที่องค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ได้ประกาศขึ้นทะเบียนให้ ?สงกรานต์ในประเทศไทย? เป็นรายการมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (The Representative List of the Intangible Cultural Heritage of Humanity) ในการประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2566 ณ เมืองคาเซเน สาธารณรัฐบอตสวานา โดยมีรายละเอียดการจัดงานสรุปได้ ดังนี้
หัวข้อ
รายละเอียด
วัตถุประสงค์
การจัดงาน
- เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวและสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว
- เพื่อผลักดันให้ประเทศไทย ติด 1 ใน 10 ประเทศสุดยอดเฟสติวัลของโลก
กลุ่มเป้าหมาย
- นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติจากทั่วโลก
- สื่อมวลชน Online / Offline ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
พื้นที่ดาเนินการ
- กรุงเทพมหานคร (บริเวณถนนราชดาเนินกลางและท้องสนามหลวง)
- พื้นที่อัตลักษณ์ 5 ภูมิภาคทั่วประเทศ
ระยะเวลาดาเนินงาน
11 - 15 เมษายน 2567
ตัวอย่างกิจกรรม
ภายในงาน
- ขบวนรถพาเหรดสงกรานต์จากกลุ่มจังหวัดเป้าหมาย 16 จังหวัด* 11 อุตสาหกรรม Soft Power2 และหน่วยงานภาคเอกชน
- การแสดงทางศิลปวัฒนธรรม เช่น โขน รามโนราห์ การแสดงร่วมสมัยผสมผสานความเป็นไทย 5 ภาค และการแสดงวงออร์เคสตรา
- การแสดงดนตรีจากศิลปินที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ลานสงกรานต์ 5 ภาค นาเสนอประเพณีสงกรานต์ในแต่ละภูมิภาค
- การแสดงน้าพุประกอบดนตรี อุโมงค์น้า ถังน้าล้นยักษ์
- การทาบุญตักบาตร รดน้าผู้สูงอายุ และสรงน้าพระ เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ไทย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สร้างสิทธิบัตร Intellectual Property Festival (IP Festival)3 เพื่อเชิดชูงานที่มีเอกลักษณ์ความเป็นไทย
- จานวนนักท่องเที่ยวเข้าร่วมงานมากกว่า 200,000 คน
- สร้างรายได้และเงินหมุนเวียนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ประมาณ 3,125 ล้านบาท
1 พื้นที่อัตลักษณ์ 5 ภูมิภาคทั่วประเทศ (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้) เช่น จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดลาปาง จังหวัดสุโขทัย จังหวัดราชบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสงขลา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดปัตตานี จังหวัดหนองคาย และจังหวัดนครพนม
2 11 อุตสาหกรรม Soft Power ได้แก่ (1) อาหาร (2) กีฬา (3) เฟสติวัล (4) ท่องเที่ยว (5) ดนตรี (6) หนังสือ (7) ภาพยนตร์ (8) เกม (9) ศิลปะ (10) การออกแบบ และ (11) แฟชั่น
3 Festival Economy หรือ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยงานเทศกาล โดยเน้นการใช้อัตลักษณ์ของเมือง (City DNA) มาผสานเข้ากับการออกแบบกิจกรรม (Experience Design) ก่อให้เกิดระบบนิเวศใหม่ (New Ecosystem) ในการพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองผ่านการจัดงานเทศกาล ซึ่งสานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) และพันธมิตรเครือข่ายที่มีความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบและจัดงานอีเวนต์สุดสร้างสรรค์ได้ร่วมกันออกแบบและสร้างสรรค์งานเทศกาลที่เหมาะสมให้แต่ละเมืองเพื่อพัฒนาต่อ
24
ยอดจนเกิดเป็น ?หนึ่งเมือง หนึ่งสิทธิบัตรงานเทศกาลนานาชาติ หรือ 1 City 1 IP (Intellectual Property)? ที่จะช่วยเพิ่มมูลค่า ยกระดับ และส่งออกงานเทศกาลที่เกิดจากอัตลักษณ์ของเมืองให้เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
* พื้นที่ดาเนินการ 16 จังหวัด แบ่งเป็น (1) จังหวัดหลัก 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชลบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดนครศรีธรรมราช (2) จังหวัดนาร่อง 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดหนองคาย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดสงขลา และจังหวัดบุรีรัมย์ และ (3) จังหวัดอื่น ๆ 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดนครพนม จังหวัดลาปาง จังหวัดเลย จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดภูเก็ต
13. เรื่อง ขอยกเว้นมติคณะรัฐมนตรีที่ห้ามใช้ประโยชน์ป่าชายเลน สาหรับดาเนินการโครงการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมก่อสร้างถนนและสะพานเชื่อมโยงเส้นทางบริเวณอ่าวเขาควาย ท้องที่หมู่บ้านอ่าวเขาควาย ตาบลเกาะพยาม อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอยกเว้นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี ดังนี้
มติคณะรัฐมนตรี
สาระสาคัญ
(1) 15 ธันวาคม 2530
ให้กาหนดเขตพื้นที่ป่าชายเลนที่เป็นเขตอนุรักษ์ หมายถึง พื้นที่ป่าชายเลนที่หวงห้ามไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพการใช้ประโยชน์ใด ๆ นอกจากปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติเพื่อรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ
(2) 23 กรกฎาคม 2534
ให้ระงับการใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าชายเลนโดยเด็ดขาด
(3) 22 สิงหาคม 2543
ห้ามมิให้อนุญาตการใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าชายเลนทุกกรณีทั้งภาครัฐและเอกชน
(4) 17 ตุลาคม 2543
ห้ามมิให้อนุญาตการใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าชายเลนในเขตอนุรักษ์ทุกกรณี
เพื่อดาเนินโครงการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมก่อสร้างถนนและสะพานเชื่อมโยงเส้นทางบริเวณอ่าวเขาควายท้องที่หมู่บ้านอ่าวเขาควาย ตาบลเกาะพยาม อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
สาระสาคัญ
1. เดิมจังหวัดระนองได้ดาเนินโครงการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมก่อสร้างถนนและสะพานแขวนเชื่อมโยงเส้นทางบริเวณอ่าวเขาควาย โดยมีรายละเอียดโครงการ ดังนี้
ประเด็น
รายละเอียด
1. วัตถุประสงค์
(1) เพื่อให้ประชาชนชาวไทยและชาวมอแกนที่อาศัยอยู่บริเวณบ้านอ่าวเขาควายสามารถเดินทางมารับบริการทางสาธารณสุขและทางการศึกษาได้อย่างสะดวกโดยเฉพาะในช่วงฤดูมรสุม1
(2) เพื่อให้มีถนนที่สามารถเชื่อมสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะพยามและพื้นที่จังหวัดระนอง เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและเพื่อให้เกิดรายได้จากการท่องเที่ยว
(ปัจจุบันดาเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จบางส่วน)
2. รายละเอียดการก่อสร้าง
(1) สะพานยาว 150 เมตร
(2) ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 3 เมตร ยาว 1.15 กิโลเมตร และไหล่ทางข้างละ 0.5 เมตร
3. งบประมาณ
20 ล้านบาท โดยใช้งบประมาณตามแผนปฏิบัติรายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ของจังหวัดระนอง
2. ต่อมาจังหวัดระนองได้ปรับชื่อโครงการเป็น ?โครงการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมก่อสร้างถนนและสะพานเชื่อมโยงเส้นทางบริเวณอ่าวเขาควาย ท้องที่หมู่บ้านอ่าวเขาควาย ตาบลเกาะพยาม อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง?2 และได้ดาเนินการสารวจที่ดินภายในจังหวัดระนองพบว่า พื้นที่ก่อสร้างถนนและสะพานดังกล่าว มีบางส่วนตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน และเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเกาะพยาม ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 625 (พ.ศ. 2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 (ประมาณ 3 - 0 - 90.70 ไร่)3 มท. จึงขอเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณายกเว้นมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับป่าชายเลนในครั้งนี้
25
1 ปัจจุบันมีนักเรียนที่ต้องเดินทางไปโรงเรียน จานวน 39 คน และประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณบ้านอ่าวเขาควายที่ต้องเดินทางไปสถานีอนามัยและโรงเรียน ซึ่งตั้งอยู่บริเวณบ้านอ่าวแม่หม้ายห่างจากหมู่บ้านอ่าวเขาควายประมาณ 4 กิโลเมตร โดยปัจจุบันยังไม่มีถนน ต้องเดินทางโดยทางเรือและทางเท้า
2 เปลี่ยนเนื่องจากเดิมอาเภอเมืองระนองประสงค์ก่อสร้างเป็นสะพานแขวน แต่เมื่อโครงการเข้าสู่การพิจารณาในระดับจังหวัด โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดระนองเห็นว่า ควรเปลี่ยนเป็นสะพานปูน เพื่อให้มีความปลอดภัยในการสัญจร
3 เมื่อสารวจแล้วพบว่าพื้นที่ก่อสร้างถนนและสะพานดังกล่าว มีบางส่วนตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน และเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเกาะพยาม จึงหยุดการก่อสร้างและดาเนินการขออนุญาตเข้าใช้พื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
14. เรื่อง การขอรับการจัดสรรเงินอุดหนุนเป็นรายปีเป็นการจ่ายขาดให้แก่สภาองค์กรของผู้บริโภค (งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกรอบวงเงินเพื่อจัดสรรเงินอุดหนุนเป็นรายปีเป็นการจ่ายขาดให้แก่สภาองค์กรของผู้บริโภค งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จานวนทั้งสิ้น 360.10 ล้านบาท ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติการจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค พ.ศ. 2562 ตามที่สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เสนอ ทั้งนี้เพื่อให้ สปน. นาไปจัดทาคาของบประมาณเพื่อจัดสรรเงินอุดหนุนเป็นรายปีเป็นการจ่ายขาดให้แก่สภาองค์กรของผู้บริโภคในคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ของ สปน. ซึ่งสานักงบประมาณจะพิจารณาตามความจาเป็นและวงเงินงบประมาณ รายจ่ายประจาปีตลอดจนศักยภาพและความสามารถในการใช้จ่ายงบประมาณ ต่อไป และเห็นควรให้ สปน. กากับ ติดตาม การใช้จ่ายเงินอุดหนุนของสภาองค์กรของผู้บริโภค ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีและหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมาตรฐานของทางราชการให้ถูกต้องครบถ้วนในทุกขั้นตอน โดยคานึงถึงความคุ้มค่าและประหยัด การพิจารณาเป้าหมาย ประสิทธิภาพ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับจากการดาเนินงานของสภาองค์กรของผู้บริโภค ตามความเห็นของสานักงบประมาณ
15. เรื่อง การกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้ายฤดูการผลิตปี 2565/2566
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอการกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย (ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ) ฤดูการผลิตปี 2565/2566 เป็นรายเขต 9 เขต โดยมีอัตราเฉลี่ยทั่วประเทศ ดังนี้
1. ราคาอ้อยขั้นสุดท้าย ฤดูการผลิตปี 2565/2566 ในอัตรา 1,197.53 บาทต่อตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส.1
2. อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย เท่ากับ 71.85 บาท ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส.
3. ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย ฤดูการผลิตปี 2565/2566 เท่ากับ 513.23 บาทต่อตันอ้อย
สาระสาคัญของเรื่อง
อก. รายงานว่า
1. พระราชบัญญัติอ้อยและน้าตาลทราย พ.ศ. 2527 มาตรา 55 และมาตรา 56 บัญญัติให้ภายในเดือนตุลาคมของทุกปี ให้คณะกรรมการบริหารกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ และเมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย (กอน.) แล้วให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ก่อนที่สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย (สอน.) จะออกประกาศและนาลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2. คณะกรรมการบริหารในคราวประชุมครั้งที่ 9/2566 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 ได้พิจารณาการกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2565/2566 แล้วเสนอ กอน. ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2566 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 โดย กอน. มีมติรับรองและเห็นชอบตามที่คณะกรรมการบริหารเสนอ ดังนี้
2.1 ข้อมูลองค์ประกอบการคานวณราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2565/2566
2.2 การกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2565/2566 เป็นรายเขต 9 เขตคานวณราคาอ้อย โดยราคาเฉลี่ยทั่วประเทศในอัตรา 1,209.11 บาทต่อตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส.
26
และกาหนดอัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อยเท่ากับ 72.55 บาท ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. และผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย 518.19 บาทต่อตันอ้อย
2.3 กาหนดให้มีการจัดเก็บเงินตามมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติอ้อยและน้าตาลทราย พ.ศ. 2527 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอ้อยและน้าตาลทราย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ให้แก่กองทุนอ้อยและน้าตาลทราย และให้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บเงินตามมาตรา 57 ของฤดูการผลิตปี 2564/2565 ตามมติ กอน. ในการประชุมครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2566 และครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 โดยเรียกเก็บในฤดูการผลิตปี 2565/2566 ในอัตราตัวเลขภาพรวมทั้งระบบโดยจัดเก็บเงินในอัตรา ดังนี้
(1) เขตคานวณราคาอ้อย 1 3 5 6 7 และ 9 จัดเก็บเงินตามมาตรา 57 สาหรับฤดูการผลิตปี 2564/2565 ในอัตรา 9.81 บาทต่อตันอ้อย และฤดูการผลิตปี 2565/2566 ในอัตรา 10 บาทต่อตันอ้อย รวมเป็น 19.81 บาทต่อตันอ้อยโดยให้นามาเรียกเก็บรวมกันทั้งหมดในฤดูการผลิตปี 2565/2566
(2) เขตคานวณราคาอ้อย 2 และ 4 ยกเลิกการเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมเพื่อการบริหารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายและเพื่อการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทราย และให้จัดเก็บเงินตามมาตรา 57 สาหรับฤดูการผลิตปี 2565/2566 ในอัตรา 19.81 บาทต่อตันอ้อย2
2.4 จากการจัดเก็บเงินตามมาตรา 57 ส่งผลให้ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2565/2566 เป็นรายเขต 9 เขต คานวณราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. และกาหนดอัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. และผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย ดังนี้
เขตคานวณราคา
ราคาอ้อยขั้นสุดท้าย
ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย ที่ 10 ซี.ซี.เอส. (บาทต่อตันอ้อย)
ที่ 10 ซี.ซี.เอส. (บาทต่อตันอ้อย)
อัตราขึ้น/ลง ของราคาอ้อย (บาทต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส.)
เขต 1
1,228.08
73.68
526.32
เขต 2
1,148.69
68.92
492.30
เขต 3
1,193.45
71.61
511.48
เขต 4
1,218.27
73.10
522.11
เขต 5
1,226.06
73.56
525.46
เขต 6
1,239.41
74.36
531.18
เขต 7
1,207.10
72.43
517.33
เขต 9
1,199.19
71.95
513.94
เฉลี่ยทั่วประเทศ
1,197.53
71.85
513.23
หมายเหตุ : เขต 8 จานวน 1 โรงงาน ประกอบด้วย โรงงานอุตสาหกรรมน้าตาลชลบุรี ไม่เปิดหีบอ้อย
3. ประเด็นข้อพิพาท เรื่อง น้าตาลภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO) ระหว่างประเทศไทยกับบราซิล มิได้มีประเด็นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการในการคานวณราคาอ้อยทั้งขั้นต้นและขั้นสุดท้าย ดังนั้น การกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2565/2566 จึงไม่ขัดกับข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศแต่อย่างใด แต่เป็นการรักษาประโยชน์ให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อย รวมทั้งเป็นการสร้างหลักประกันอย่างพอเพียงและเหมาะสมให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายของไทย
4. หากคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบการกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2565/2566 ตามที่ อก. เสนอแล้ว จะต้องดาเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลบังคับใช้ ซึ่งในกรณีราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ สูงกว่าราคาอ้อยขั้นต้นฯ ชาวไร่อ้อยจะได้รับค่าอ้อยเพิ่มสาหรับนาไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการเพาะปลูกการบารุงรักษาอ้อยและการดารงชีพ อันจะส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวมต่อไป
1 ซี.ซี.เอส. [Commercial Cane Sugar (CCS)] เป็นระบบการคิดคุณภาพของอ้อย ซึ่งได้นาแบบอย่างมาจากระบบการซื้อขายอ้อยของประเทศออสเตรเลีย และได้เริ่มใช้ในประเทศตั้งแต่ฤดูการผลิตปี 2536/2537 เป็นต้นมา โดยคาว่า ซี.ซี.เอส. หมายถึง ปริมาณของน้าตาลที่มีอยู่ในอ้อยซึ่งสามารถหีบสกัดออกมาได้เป็นน้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ ส่วนอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. หมายถึง เมื่อนาอ้อยมาผ่านระบบการผลิต จะได้น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ร้อยละ 10 กล่าวคือ อ้อย 1 ตัน หรือ 1,000 กิโลกรัม จะได้น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 100 กิโลกรัม
27
2 เนื่องจากกองทุนอ้อยและน้าตาลทรายมีภาระหนี้จานวนมาก ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสภาพคล่องของกองทุนอ้อยและน้าตาลทราย โดยในปีงบประมาณ 2566 กองทุนอ้อยและน้าตาลทรายมีเงินภาระผูกพันที่ต้องจ่ายรวมโครงการต่าง ๆ เป็นเงินจานวน 764.24 ล้านบาท รวมทั้งต้องมีสภาพคล่องเพียงพอสาหรับการบริหารงานจานวน 2 ฤดูการผลิต คือฤดูการผลิตปี 2566/2567 และ 2567/2568 ฤดูการผลิตละ 650 ล้านบาท รวมเป็น 1,300 ล้านบาท ดังนั้น เมื่อสถานการณ์อ้อยและน้าตาลทรายในฤดูการผลิตปี 2565/2566 ดีขึ้น คณะกรรมการบริหารฯ จึงเห็นควรให้จัดเก็บเงินตามาตรา 57 เข้าสู่กองทุนอ้อยและน้าตาลทราย ในอัตรา 19.81 บาทต่อตันอ้อย (คิดเป็นจานวนเงินรวมประมาณ 1,859.76 ล้านบาท) ซึ่งเป็นอัตราที่เพียงพอที่จะทาให้กองทุนอ้อยและน้าตาลทรายเกิดสภาพคล่องสาหรับการเบิกจ่ายเพื่อดาเนินงาน อีกทั้งเพื่อเป็นเงินออมให้ชาวไร่อ้อยและโรงงานไว้ใช้ยามจาเป็น
16. เรื่อง การกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นต้นฤดู การผลิตปี 2566/2567
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นต้น (ราคาอ้อยขั้นต้นฯ) ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ทั้ง 9 เขตคานวณราคาอ้อย1 เป็นราคาเดียวทั่วประเทศ ดังนี้
1. ราคาอ้อยขั้นต้นฤดูการผลิตปี 2566/2567 ในอัตรา 1,420 บาทต่อตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส.2 หรือเท่ากับร้อยละ 91.43 ของประมาณการราคาอ้อยเฉลี่ยทั่วประเทศ (1,674.64 บาทต่อตันอ้อย) และกาหนดอัตราขึ้น/ลง ของราคาอ้อยเท่ากับ 85.20 บาทต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส.
2. ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นต้น ฤดูการผลิตปี 2566/2567 เท่ากับ 608.57 บาทต่อตันอ้อย
สาระสาคัญของเรื่อง
อก. รายงานว่า
1. พระราชบัญญัติอ้อยและน้าตาลทราย พ.ศ. 2527 มาตรา 49 - 53 บัญญัติให้ก่อนเริ่มฤดูการผลิตน้าตาลทราย3 ให้คณะกรรมการบริหารจัดทาประมาณการรายได้จากการจาหน่ายน้าตาลทรายที่จะผลิตในฤดูนั้น เพื่อกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ และเมื่อคณะกรรมการบริหารได้จัดทาประมาณการรายได้และกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ แล้วให้แจ้งให้สถาบันชาวไร่อ้อยและสมาคมโรงงานทราบ และจัดให้มีการประชุมผู้แทนสถาบันชาวไร่อ้อยและผู้แทนสมาคมโรงงานเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อคัดค้าน (ถ้ามี) โดยทาเป็นหนังสือแจ้งให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบวันก่อนวันประชุม และให้สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย (สอน.) เสนอราคาอ้อยขั้นต้นฯ และผลการประชุมรับฟังความคิดเห็นข้างต้นต่อคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย (กอน.) เพื่อพิจารณา เมื่อ กอน. ได้พิจารณาราคาอ้อยขั้นต้นฯ แล้ว ให้เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและหากคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ แล้ว จะต้องดาเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลบังคับใช้ต่อไป
2. คณะกรรมการบริหารในคราวประชุมครั้งที่ 10/2566 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 ได้พิจารณาการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 และได้มีมติรับรองและเห็นชอบ ดังนี้
2.1 องค์ประกอบการคานวณราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567
2.2 กาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ทั้ง 9 เขตคานวณราคาอ้อย เป็นราคาเดียวทั่งประเทศ ดังนี้
(1) ราคาอ้อยขั้นต้นฤดูการผลิตปี 2566/2567 ในอัตรา 1,370 บาทต่อตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. หรือเท่ากับร้อยละ 90.94 ของประมาณการราคาอ้อยเฉลี่ยทั่วประเทศ และกาหนดอัตราขึ้น/ลง ของราคาอ้อยเท่ากับ 82.20 บาท ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส.
(2) ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นต้นฤดูการผลิตปี 2566/2567 เท่ากับ 587.14 บาทต่อตันอ้อย
3. สอน. ได้จัดให้มีการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อคัดค้านจากสถาบันชาวไร่อ้อยและสมาคมโรงงานน้าตาลต่อราคาอ้อยขั้นต้น ฤดูการผลิตปี 2566/2567 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 โดยสถาบันชาวไร่อ้อยได้เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 สรุปได้ ดังนี้
3.1 ขอให้มีการปรับปรุงองค์ประกอบที่นามาใช้ในการจัดทาประมาณการราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ดังนี้
28
(1) ปรับราคาน้าตาลทรายดิบที่ส่งมอบให้บริษัท อ้อยและน้าตาลไทย จากัด4 (รวมพรีเมี่ยม) จากเดิมที่ราคา 26.47 เซนต์ต่อปอนด์ เพิ่มเป็น 27.35 เซนต์ต่อปอนด์
(2) ปรับอัตราแลกเปลี่ยน จากเดิม 35.51 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เป็น 35.58 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากบริษัท อ้อยและน้าตาลไทย จากัด ได้ทาการขายเงินดอลลาร์สหรัฐครบทั้งหมด โดยราคาที่นามาคิดคานวณราคาอ้อยนั้น ได้ทาการหักส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยระหว่างเงิน 2 สกุลแล้ว
(3) ปรับราคากากน้าตาลทั้งภายในและส่งออกเฉลี่ยที่ 5,000 บาทต่อตัน ปรับเพิ่มเป็น 5,800 - 5,900 บาทต่อตัน (166 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน) เนื่องจากปริมาณกากน้าตาลมีจานวนจากัด และราคาที่มีการซื้อขายในปัจจุบัน ณ หน้าโรงงานอยู่ที่ประมาณ 6,000 บาทต่อตัน (172 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน)
(4) ปรับลดปริมาณน้าตาลทรายภายในประเทศเพื่อเพิ่มรายได้
3.2 ขอเสนอให้กาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ให้ชาวไร่อ้อยได้รับราคาไม่ต่ากว่า 1,400 บาทต่อตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. เพื่อให้สอดคล้องกับต้นทุนการปลูกอ้อย ปี 2566/2567 และให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยสามารถดารงชีพอยู่ได้ในภาวะเศรษฐกิจที่มีค่าครองชีพสูงขึ้น
3.3 ขอเสนอให้กาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ เป็นรายเขต ที่สัดส่วนร้อยละ 95 ของรายได้แต่ละเขต
4. คณะกรรมการบริหารในคราวประชุมครั้งที่ 11/2566 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 ได้พิจารณาการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ได้มีมติรับรองและเห็นชอบและให้นาเสนอ กอน. พิจารณา ดังนี้
4.1 องค์ประกอบการคานวณราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 โดยปรับองค์ประกอบการคานวณ ดังนี้
(1) ราคาน้าตาลทรายดิบที่ส่งมอบให้บริษัท อ้อยและน้าตาลไทย จากัด (รวม พรีเมี่ยม) จากเดิม ราคา 26.47 เซนต์ต่อปอนด์ เป็น 27.35 เซนต์ต่อปอนด์
(2) อัตราแลกเปลี่ยน จากเดิม 35.51 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เป็น 35.58 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
(3) ราคากากน้าตาลทั้งภายในและส่งออก จากเดิม เฉลี่ยที่ 5,000 บาทต่อตัน เป็น 5,800 - 5,900 บาทต่อตัน
4.2 กาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ทั้ง 9 เขตคานวณราคาอ้อย เป็นราคาเดียวทั่วประเทศ ดังนี้
(1) ราคาอ้อยขั้นต้น ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ในอัตรา 1,420 บาทต่อตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. หรือเท่ากับร้อยละ 91.43 ของประมาณการราคาอ้อยเฉลี่ยทั่วประเทศ (1,674.64 บาทต่อตันอ้อย) และกาหนดอัตราขึ้น/ลง ของราคาอ้อยเท่ากับ 85.20 บาท ต่อ 1 หน่วย ซี. ซี.เอส.
(2) ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นต้นฤดูการผลิตปี 2566/2567 เท่ากับ 608.57 บาทต่อตันอ้อย
5. กอน. ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2566 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 ได้พิจารณาการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ตามที่คณะกรรมการบริหารเสนอและได้มีการรับฟังความคิดเห็นและข้อคัดค้านของผู้แทนสถาบันชาวไร่อ้อยและผู้แทนโรงงานแล้ว (ตามข้อ 3.) โดยมีมติรับรองและเห็นชอบองค์ประกอบการคานวณราคาอ้อยขั้นต้นฯ และการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ตามที่คณะกรรมการบริหารเสนอ (ตามข้อ 4.)
6. สาหรับประเด็นข้อพิพาท เรื่อง น้าตาลภายใต้องค์การการค้าโลก (World Trade Organization (WTO)] ระหว่างประเทศไทยกับบราชิลมิได้มีประเด็นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการในการคานวณราคาอ้อยทั้งขั้นต้นและขั้นสุดท้าย ดังนั้น การกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 จึงไม่ขัดกับข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศแต่อย่างใด แต่เป็นการรักษาประโยชน์ให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อย รวมทั้งเป็นการสร้างหลักประกันอย่างพอเพียงและเหมาะสมให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายของประเทศไทย
7. หากคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบการกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 แล้ว จะต้องดาเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลบังคับใช้ต่อไป ซึ่งจะช่วยให้ชาวไร่อ้อยได้รับค่าอ้อยสาหรับนาไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการเพาะปลูกการบารุงรักษาอ้อย และการดารงชีพ อันจะส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวมในอนาคต
29
1 เขตคานวณราคาอ้อยที่ 7 โรงงานน้าตาลนิวกว้างสุ้นหลีแจ้งไม่เปิดหีบ และเขตคานวณราคาอ้อยที่ 8 โรงงานอุตสาหกรรมน้าตาลชลบุรีหยุดประกอบการชั่วคราว
2 ซี.ซี.เอส. [Commercial Cane Sugar (CCS)] เป็นระบบการคิดคุณภาพของอ้อย ซึ่งได้นาแบบอย่างมาจากระบบการซื้อขายอ้อยของประเทศออสเตรเลีย และได้เริ่มใช้ประเทศไทยตั้งแต่ฤดูการผลิตปี 2536/2537 เป็นต้นมา โดยคาว่า ซี.ซี.เอส. หมายถึง ปริมาณของน้าตาลที่มีอยู่ในอ้อยซึ่งสามารถหีบสกัดออกมาได้เป็นน้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ ส่วนอ้อย ณ ระดับความหวาน ที่ 10 ซี.ซี.เอส. หมายถึง เมื่อนาอ้อยมาผ่านกระบวนการผลิต จะได้น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ ร้อยละ 10 กล่าวคือ อ้อย 1 ตัน หรือ 1,000 กิโลกรัม จะได้น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 100 กิโลกรัม
3 โรงงานน้าตาลจะมีช่วงเวลาการเปิดหีบอ้อยประมาณเดือนธันวาคมของทุกปี และจะเริ่มฤดูการผลิตน้าตาลทรายในช่วงเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคมของปีถัดไป
4 บริษัท อ้อยและน้าตาลไทย จากัด เป็นองค์การหลักในการแบ่งปันผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายโดยให้มีโครงสร้างประกอบด้วยส่วนราชการ โรงงานน้าตาล และชาวไร่อ้อยเป็นผู้ถือหุ้น รวมทั้งมีตัวแทนผลประโยชน์ทุกฝ่ายเข้าร่วมบริหารอยู่ในองค์การ
17. เรื่อง ขออนุมัติรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลา ระยะที่ 2 : จัดหาอุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสมต่อผู้เรียนแต่ละวัย (Anywhere Anytime)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการให้กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานนารายการที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลา ระยะที่ 2 : จัดหาอุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสมต่อผู้เรียนแต่ละวัย (Anywhere Anytime) วงเงินทั้งสิ้น 22,102,973,600 บาท เสนอเป็นคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จานวน 7,469,328,800 บาท ส่วนที่เหลือ จานวน 14,633,644,800 บาท ผูกพันงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2569 - พ.ศ. 2572 ตามนัยมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
ทั้งนี้ ขอให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทาแผนการดาเนินการ และยืนยันความพร้อมของรายการดังกล่าว โดยกาหนดวัตถุประสงค์และสาระสาคัญของรายการ รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ประมาณการราคาหรือผลการสอบราคา สถานที่/พื้นที่พร้อมที่จะดาเนินการให้ชัดเจนเพื่อประกอบการพิจารณา ตลอดจนควรกาหนดให้มีมาตรการบริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงการดาเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนในทุกชั้นตอน โดยคานึงถึงความคุ้มค่าและประหยัด การพิจารณาเป้าหมาย ประโยชน์ที่จะได้รับ ประสิทธิภาพ และผลสัมฤทธิ์ที่จะเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ ตามนัยพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 รวมทั้งพิจารณาจัดลาดับความสาคัญของโครงการให้เหมาะสมกับความจาเป็นเร่งด่วน ศักยภาพในการดาเนินการ ตลอดจนสถานะการเงินการคลังของประเทศ ซึ่งสานักงบประมาณจะพิจารณาความเหมาะสมและจาเป็นตามวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีต่อไป ตามความเห็นของสานักงบประมาณ
สาระสาคัญ
ศธ. รายงานว่า ศธ. เห็นถึงความสาคัญของการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงศตวรรษที่ 21 โดยจะมีการปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและอาชีพของคนทุกช่วงวัยด้วยการปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัยและนาเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในการจัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ศธ. ให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งขยายประสิทธิภาพการทางานของดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้แห่งชาติ (National Digital Learning Platform: NDLP) ระยะที่ 1 จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการสื่อสารและการเรียนแบบสองทาง โดยนาดิจิทัลแพลตฟอร์มมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของ ศธ. ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะของครูและบุคลากรทางการศึกษาในกากับ ศธ. ให้สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ศธ. โดย สพฐ. ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลา : พัฒนาระบบนิเวศทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ 21 วงเงิน
30
งบประมาณ 482.26 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของ ศธ. โดยสามารถรองรับโรงเรียนคุณภาพ ในสังกัด ศธ. จานวน 349 โรงเรียน และมีการดาเนินการในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
การดาเนินการ
วงเงิน (ล้านบาท)
(1) เช่าใช้ระบบคลาวด์ระดับ ศธ.
36.38
(2) จ้างที่ปรึกษาพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แห่งชาติโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นฐาน (NDLP)
200.88
(3) จ้างที่ปรึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นฐาน
245.00
รวมทั้งสิ้น
482.26
2. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ศธ. จะจัดทาโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลา ระยะที่ 2 : จัดหาอุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสมต่อผู้เรียนแต่ละวัย (Anywhere Anytime) เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลุมสถานศึกษาในสังกัด ศธ. จานวน 29,312 โรงเรียน โดยก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ ระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568-2572 วงเงินรวม 22,102.97 ล้านบาท ประกอบด้วย 2 กิจกรรม สรุปได้ ดังนี้
2.1 การส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่ทุกเวลา ระยะที่ 2 งบประมาณ 6,531.08 ล้านบาท มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับความต้องการของประเทศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน เปลี่ยนบทบาทครูเป็นโค้ชหรือผู้อานวยการเรียนรู้เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสร้างโอกาส ลดความเหลื่อมล้า ยกระดับคุณภาพชีวิตของเด็กให้สามารถดารงชีวิตได้อย่างอิสระและประกอบอาชีพได้โดยไม่เป็นภาระต่อสังคม มีการดาเนินการ ดังนี้
(1) การพัฒนาระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น จัดหาซอฟต์แวร์สาเร็จรูปสาหรับการรักษาความปลอดภัยข้อมูล การเชื่อมโยงฐานข้อมูลและการบริหารจัดการระบบ การจัดทานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบดิจิทัลคอนเทนต์
(2) การเช่าใช้ระบบคลาวด์ สาหรับแพลตฟอร์มด้านการศึกษา
2.2 การจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลา งบประมาณ 15,571.90 ล้านบาท มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา โดยสนับสนุนให้ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และมีโอกาสได้อย่างเท่าเทียมครอบคลุมทั้งในพื้นที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร โดยมีการดาเนินการ ดังนี้
(1) เช่าอุปกรณ์การเรียนการสอน (Tablet หรือ Notebook หรือ Chromebook) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลา จานวน 607,655 เครื่องรวมเป็นเงิน 15,491.90 ล้านบาท ระยะเวลา 60 เดือน สรุปได้ ดังนี้
เป้าหมาย
โรงเรียนคุณภาพจานวน 932 แห่ง
โรงเรียนขยายโอกาสจานวน 86 แห่ง
โรงเรียนทั้งหมด 1,018 แห่ง
จานวนเงิน (ล้านบาท)
อุปกรณ์การเรียนการสอน (Tablet หรือ Notebook หรือ Chromebook)
สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
536,902 คน
11,089 คน
547,991 คน
13,809.37
อุปกรณ์การเรียนการสอน (Tablet หรือ Notebook หรือ Chromebook)
สาหรับครู
56,387 คน
3,277 คน
59,664 คน
1,682.52
รวม
593,289 คน
14,366 คน
607,655 คน
15,491.90
31
(2) การพัฒนา ส่งเสริม และขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลรวมเป็นเงิน 80 ล้านบาท เพื่อดาเนินการในเรื่องต่าง ๆ เช่น 1) การจัดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา 2) การจัดการเรียนรู้ผ่านแพลตฟอร์มเทคโนโลยี การสร้างสรรค์สื่อและการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลและการสร้างเครือข่ายผู้สร้างสื่อเทคโนโลยีและผู้ใช้แพลตฟอร์มการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ทั้งนี้ ศธ. จะเบิกจ่ายเงินงบประมาณดังกล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 สาหรับปีงบประมาณอื่น ๆ จะไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้แล้ว
2.3 งบประมาณและระยะเวลาดาเนินการ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลาฯ ใช้วงเงินงบประมาณรวม 22,102.97 ล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568-2572 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
กิจกรรม
ปีงบประมาณ พ.ศ
รวมวงเงิน
(ล้านบาท)
2568
2569
2570
2571
2572
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลาฯ
(1) การส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานทุกที่ทุกเวลา
4,290.95
560.03
560.03
560.03
560.03
6,531.08
(2) การจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลา
3,178.38
3,098.38
3,098.38
3,098.38
3,098.38
15,571.90
รวม
7,469.33
3,658.41
3,658.41
3,658.41
3,658.41
22,102.97
หมายเหตุ : เนื่องจากมีการปรับเป็นทศนิยมสองหลัก ดังนั้น จึงส่งผลต่อการคานวณผลรวมบางรายการในตาราง ทั้งนี้ ศธ. จะขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จานวน 7,469.33 ล้านบาท และส่วนที่เหลือ จานวน 14,633.64 ล้านบาท จะขอผูกพันงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2569-2572
3. ประโยชน์ที่จะได้รับ เช่น
3.1 สพฐ. มีระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อรองรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ 21 สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในโลกปัจจุบัน
3.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีเครื่องมือและระบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม ทันสมัย โดยปรับบทบาทจาก ?ครูผู้สอน? เป็น ?โค้ช? หรือ ?ผู้อานวยการการเรียนรู้? ที่ทาหน้าที่กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรม และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
3.3 ผู้เรียนได้รับการเรียนการสอนที่เหมาะสมและสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ใหม่ได้อย่างทั่วถึง ลดความเหลื่อมล้าในการศึกษา
3.4 ปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถ ?เรียนรู้ได้ ทุกที่ ทุกเวลา?
3.5 นักเรียนและครูผู้สอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 มีอุปกรณ์ที่สามารถเข้าใช้แพลตฟอร์ม NDLP ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลออนไลน์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
3.6 ไทยเกิดสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ต่างประเทศ
18. เรื่อง การรับรองร่างปฏิญญาวังเวียงว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมซึ่งสอดคล้องกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) เสนอดังนี้
1. เห็นชอบต่อร่างปฏิญญาวังเวียงว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมซึ่งสอดคล้องกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Vang Vieng Declaration on
32
Promoting the Small and Medium-sized Cultural Enterprises aligned with the Green Growth for Sustainable Development) (ร่างปฏิญญาฯ)
2. อนุมัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมในฐานะรัฐมนตรีอาเซียนที่กากับดูแลงานด้านวัฒนธรรมและศิลปะแห่งราชอาณาจักรไทยรับรองร่างปฏิญญาฯ
3. หากมีการปรับเปลี่ยนถ้อยคาของเอกสารดังกล่าวข้างต้นที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสาระสาคัญหรือที่ไม่ขัดต่อผลประโยชน์ของประเทศไทย ก่อนจะมีการรับรองหรือเห็นชอบเอกสารดังกล่าวให้ วธ. สามารถดาเนินการได้โดยไม่ต้องเสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้ง
[วธ. จะแจ้งผลการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีให้สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) ทราบภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2567 เพื่อให้ดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป]
สาระสาคัญของเรื่อง
วธ. รายงานว่า
1. กระทรวงแถลงข่าววัฒนธรรมและการท่องเที่ยวแห่ง สปป. ลาว ได้เสนอร่างปฏิญญาฯ ให้รัฐมนตรีของสมาชิกอาเซียนที่กากับดูแลงานด้านวัฒนธรรมและศิลปะให้การรับรอง โดยร่างปฏิญญาดังกล่าวมีสาระสาคัญในการเสริมสร้างการพัฒนาทุนมนุษย์ของอาซียน โดยเฉพาะในด้านการเรียนรู้และด้านสมรรถนะของวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการสร้างศักยภาพสาหรับวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมในอาเซียน สนับสนุนกิจกรรมต้นน้าภายใต้ภาคส่วนวัฒนธรรมและศิลปะในระดับที่ต่างกัน (ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระหว่างประเทศ) รวมถึงยืนยันบทบาทและการสนับสนุนที่สาคัญของภาควัฒนธรรมและศิลปะในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยหลังจากที่รัฐมนตรีอาเซียนที่กากับดูแลงานด้านวัฒนธรรมและศิลปะ (ASEAN Ministers Responsible for Culture and Arts : AMCA) ได้รับรองเอกสารดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว สปป. ลาว จะนาร่างปฏิญญาดังกล่าวเสนอให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 44 (44th ASEAN Summit) (ประมาณเดือนพฤศจิกายน 2567) ณ สปป. ลาว ให้การรับรองต่อไป
2. ร่างปฏิญญาฯ มีสาระสาคัญสรุปได้ ดังนี้
ประเด็น
สาระสาคัญ ได้แก่
เป้าหมาย
คานึงถึงวัฒนธรรมแห่งการป้องกันเพื่อนาไปสู่สังคมที่มีสันติสุข ไม่แบ่งแยก มีภูมิคุ้มกัน สุขภาพดี และมีความกลมเกลียวด้วยจิตวิญญาณในการเสริมสร้างอัตลักษณ์อาเซียนในทุกแง่มุมภายใต้ภาคส่วนวัฒนธรรมและศิลปะอาเซียน
ความร่วมมือและการดาเนินการร่วมกัน
(1) การดาเนินการตามหลักการของวัฒนธรรมแห่งการป้องกัน (Culture of Prevention : CoP thrusts)1 ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อาเซียนด้านวัฒนธรรมและศิลปะ พ.ศ. 2559 - 2568 (2) การส่งเสริมวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีชุมชนเป็นฐานรากโดยให้เป็นแหล่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (3) การพัฒนาทุนมนุษย์โดยเฉพาะด้านการเรียนรู้และด้านสมรรถนะของวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมในภูมิภาคอาเซียนในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและทักษะด้านการตลาดผ่านการศึกษาเป็นผู้ประกอบการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเข้าถึงตลาดในวงกว้าง (4) การส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีและกรสร้างศักยภาพให้แก่วิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมในภูมิภาคอาเซียน (5) ความร่วมมือจากผู้ที่มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การใช้ทรัพยากรและสินทรัพย์ทางธรรมชาติมีประสิทธิภาพมากขึ้นรวมถึงลดปริมาณขยะและลดการใช้พลังงาน (6) กิจกรรมต้นน้าภายใต้ภาคส่วนวัฒนธรรมและศิลปะในระดับที่ต่างกัน (ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับระหว่างประเทศ) ด้วยจิตวิญญาณที่อาจส่งผลเชิงบวกในการเป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรมวัฒนธรรมด้วยผลิตภัณฑ์และบริการที่โดดเด่น (7) การมีกลยุทธ์การตลาดที่ส่งเสริมการปฏิบัติที่ดีในภาคส่วนวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมในภูมิภาคอาเซียน (8) การมีบทบาทและการสนับสนุนวัฒนธรรมและศิลปะที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมาย (9) การพัฒนาที่ยั่งยืนผ่านมิติสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมเพื่อปลูกฝังความคิดสร้างสรรค์ (10) การอนุรักษ์และคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรม รวมถึงสนับสนุนความเป็นปีกแผ่นของสังคม และ (11) การเสริมสร้างอัตลักษณ์
33
อาเซียนและนวัตกรรมผ่านกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของยุคสมัยปัจจุบันและอนาคตของประชาชน
3. ประโยชน์ที่ได้รับ : ร่างปฏิญญาฯ เป็นการแสดงความมุ่งมั่นของรัฐมนตรีอาเซียนที่กากับดูแลงานด้านวัฒนธรรมและศิลปะในการส่งเสริมวิสาหกิจวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดย่อมในอาเซียน รวมทั้งสนับสนุนบทบาทของวัฒนธรรมและศิลปะในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งมีความสอดคล้องกับผลประโยชน์และแนวทางการดาเนินงานของไทยรวมถึงสนับสนุนการพัฒนาภายใต้บริบทความท้าทายในปัจจุบันของภูมิภาคอาเซียน
4. วธ. แจ้งว่า ร่างแถลงการณ์ร่วมดังกล่าวไม่มีถ้อยคาหรือบริบทใดที่มุ่งก่อให้เกิดพันธกรณีภายใต้บังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ จึงไม่เป็นสนธิสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศและไม่เป็นหนังสือสัญญาตามมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
5. วธ. แจ้งว่ากระทรวงการต่างประเทศ (กรมอาเซียน) พิจารณาแล้วไม่มีข้อขัดข้องต่อสารัตถะและถ้อยคาโดยรวมของร่างปฏิญญาฯ หาก วธ. ในฐานะส่วนราชการเจ้าของเรื่องและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความเหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายและผลประโยชน์ของไทย สามารถปฏิบัติได้ภายใต้อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่มีอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนเป็นไปตามพันธกรณีของไทยภายใต้ความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องและเห็นว่าร่างปฏิญญาฯ ไม่มีถ้อยคาหรือบริบทใดที่มุ่งจะก่อให้เกิดพันธกรณีภายใต้บังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ ประกอบกับไม่มีการลงนามในร่างปฏิญญาดังกล่าว ดังนั้น ร่างปฏิญญาฯ จึงไม่เป็นสนธิสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศและไม่เป็นหนังสือสัญญาตามมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
1 เป็นหลักการภายใต้ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมแห่งการป้องกัน เพื่อมุ่งสู่สังคมที่มีสันติสุข ไม่แบ่งแยก มีภูมิคุ้มกันสุขภาพดีและมีความกลมเกลียว (ASEAN Declaration on Culture of Prevention for a Peaceful, Inclusive, Resilient, Healthy and Harmonious Society) ซึ่งลงนามโดยผู้นาอาเซียนเมื่อปี 2560 มีสาระสาคัญมุ่งป้องกันสถานการณ์ความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนหรือหาทางป้องกันความรุนแรงแบบสุดขั้ว โดยพิจารณาว่า ?ป้องกัน? ดีกว่า ?แก้ปัญหา? ภายหลัง โดยแบ่งวัฒนธรรมได้ 6 รูปแบบ ได้แก่ (1) peace & intercultural understanding (2) respect for all (3) good governance at all levels (4) resilience & care for the environment (5) healthy lifestyle และ (6) supporting the values of moderation
19. เรื่อง ร่างเอกสารผลลัพธ์การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมเพื่อความร่วมมือทวิภาคีไทย ? อินเดีย
ครั้งที่ 10
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้
1. เห็นชอบต่อร่างเอกสารผลลัพธ์การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมเพื่อความร่วมมือทวิภาคีไทย - อินเดีย ครั้งที่ 10 (การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมฯ) (10th Joint Commission for Bilateral Cooperation between Thailand - India)
2. อนุมัติให้ รองนายกรัฐมนตรี (นายปานปรีย์ พหิทธานุกร) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายลงนามในเอกสารผลลัพธ์การประชุมดังกล่าวร่วมกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐอินเดีย
ทั้งนี้หากมีความจาเป็นต้องแก้ไขปรับปรุงร่างเอกสารผลลัพธ์การประชุมดังกล่าวในส่วนที่จะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินความสัมพันธ์แต่ไม่ใช่สาระสาคัญหรือไม่ขัดต่อผลประโยชน์ของประเทศไทย ขอให้ กต. และคณะผู้แทนไทยที่เข้าร่วมการประชุมฯ สามารถพิจารณาดาเนินการได้ โดยไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีก
สาระสาคัญ
1. สาธารณรัฐอินเดียจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมฯ ระหว่างวันที่ 26 - 27 กุมภาพันธ์ 2567 ณ กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย โดยมีนายปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และนายสุพรหมณยัม ชัยศังกระ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐอินเดีย เป็นประธานร่วม
2. ร่างเอกสารผลลัพธ์การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมเพื่อความร่วมมือทวิภาคีไทย - อินเดีย ครั้งที่ 10 เป็นการแสดงเจตนารมณ์ความร่วมมือระหว่างกันในระดับทวิภาคี มุ่งส่งเสริมความร่วมมือในประเด็นต่าง ๆ ที่สามารถพัฒนาความร่วมมือและผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐอินเดีย โดยมีหัวข้อ
34
(1) ความร่วมมือด้านการเมือง กลาโหม และความมั่นคง (2) ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการค้าและการลงทุนทวิภาคี (3) ความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และสุขภาพ (4) การท่องเที่ยว วัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยนระดับประชาชน (5) กิจการด้านกงสุล (6) ประเด็นระดับภูมิภาค และพหุภาคี
20. เรื่อง การขยายระยะเวลาการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยวให้แก่ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางสัญชาติคาซัคสถาน เป็นกรณีพิเศษและเป็นการชั่วคราว
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบตามที่กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้
1. อนุมัติในหลักการในการกาหนดให้สาธารณรัฐคาชัศสถานเป็นรายชื่อประเทศในประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดรายชื่อประเทศที่ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง ซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อการท่องเที่ยวเป็นกรณีพิเศษและให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกินสามสิบวัน โดยมีเงื่อนไขให้มีผลใช้บังคับชั่วคราวเพิ่มเติมตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม 2567 เพื่อเป็นประโยชน์ต่อมิติเศรษฐกิจและการต่างประเทศกับสาธารณรัฐคาซัคสถานในภาพรวม โดยเฉพาะด้านความเชื่อมโยงระหว่างประชาชนสองฝ่ายที่เป็นรากฐานของความสัมพันธ์จนกว่าการจัดทาความตกลงยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางธรรมดาระหว่างราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐคาซัคสถานเป็นการถาวรจะแล้วเสร็จ
2. เห็นชอบร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดให้ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางของสาธารณรัฐคาซัคสถานซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อการท่องเที่ยว ได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราและให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกินสามสิบวันเป็นกรณีพิเศษ และมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สานักงานตรวจคนเข้าเมืองและกระทรวงมหาดไทย (มท.) ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขประกาศหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป
3. มอบหมายให้หน่วยงานความมั่นคงที่เกี่ยวข้องกากับติดตามและประเมินผลกระทบจากการออกประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ภายหลังครบระยะเวลาที่ประกาศไว้ (6 เดือน) ทั้งนี้ หากมีผลกระทบต่อความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งชาติ หน่วยงานความมั่นคงที่เกี่ยวข้องอาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณายกเลิกประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวต่อไปได้
สาระสาคัญของเรื่อง
1. คณะรัฐมนตรีได้มีมติ (13 กันยายน 2566) เห็นชอบในหลักการในการกาหนดให้ ?สาธารณรัฐประชาชนจีน? และ ?สาธารณรัฐคาซัคสถาน? เป็นรายชื่อประเทศในประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดรายชื่อประเทศที่ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อการท่องเที่ยวเป็นกรณีพิเศษ และให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกินสามสิบวัน โดยมีเงื่อนไขให้มีผลใช้บังคับชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2567 เพื่อเป็นประโยชน์ต่อมิติเศรษฐกิจและการต่างประเทศกับสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐคาซัคสถานในภาพรวม โดยเฉพาะความเชื่อมโยงระหว่างประชาชนสองประเทศที่เป็นรากฐานของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอ
2. ต่อมามีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดรายชื่อประเทศที่ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อการท่องเที่ยว ได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราและให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกินสามสิบวัน เป็นกรณีพิเศษ กาหนดให้ยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยวให้แก่ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางสัญชาติคาซัคสถาน เป็นกรณีพิเศษและเป็นการชั่วคราวโดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567
3. จากข้อมูลสถิติของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ในช่วงวันที่ 25 กันยายน 2566 - 10 มกราคม 2567 มีนักท่องเที่ยวชาวคาซัคสถานเดินทางมาประเทศไทยแล้วกว่า 68,824 คน และในปี 2566 มีนักท่องเที่ยวคาซัคสถานเดินทางเข้ามาประเทศประเทศไทยกว่า 172,282 คน ซึ่งเป็นจานวนสูงสุดที่เคยเดินทางเข้าประเทศไทย โดยค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของชาวคาซัคสถานในการท่องเที่ยวในประเทศไทยต่อครั้งประมาณ 75,080 บาท/คน/ครั้ง จึงเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและมีกาลังซื้อสูง ทั้งนี้ ชาวคาซัคสถานมีทัศนคติที่ดีต่อประเทศไทย ชื่นชอบการท่องเที่ยวเมืองชายทะเล กีฬามวยไทย สปา และการนวดแผนไทยดังนั้น การอานวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวชาวคาซัคสถานในการเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยตั้งแต่ช่วงเดือนมีนาคม - สิงหาคม 2567 จะเพิ่มรายได้ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทยในภาพรวม และเพื่อสร้างความต่อเนื่องในการส่งเสริความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวและการแลกเปลี่ยนในระดับของทั้งสองประเทศ
35
4. ที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2567 เสนอแนะให้ขยายการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางคาซัคสถานเพื่อการท่องเที่ยวระยะเวลาไม่เกิน 30 วัน (ผ. 30) เป็นกรณีพิเศษและเป็นการชั่วคราวออกไปอีก
5. ร่างประกาศฯ ที่ กต. เสนอเป็นการขยายระยะเวลาการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยวให้แก่ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางสัญชาติคาซัคสถาน เป็นกรณีพิเศษและเป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกิน 30 วันเป็นกรณีพิเศษและเป็นการชั่วคราว เพิ่มเติมอีก 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2567 จนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2567 เพื่อสร้างความต่อเนื่องในการส่งเสริมความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทยในภาพรวม
แต่งตั้ง
21. เรื่อง คณะกรรมการต่าง ๆ ที่แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ ที่แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี จานวน 5 คณะ ดังนี้
1. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่าแห่งชาติ (คปป.)
2. คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชาระดับประเทศ (ฝ่ายไทย)
3. คณะกรรมการร่วม (Joint Committee) ฝ่ายไทย
4. คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการน้าแห่งชาติ
5. คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอุทยานธรณี
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นต้นไป
สาระสาคัญของเรื่อง
ทส. รายงานว่า ได้พิจารณาคณะกรรมการต่าง ๆ ที่แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรีของคณะรัฐมนตรีชุดเดิม (รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) เห็นว่า คณะกรรมการฯ จานวน 5 คณะ ยังมีภารกิจที่สาคัญและจาเป็นที่จะต้องคงอยู่ต่อไป เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดาเนินภารกิจที่สาคัญ โดยรายละเอียดองค์ประกอบ หน้าที่และอานาจของคณะกรรมการฯ จานวน 5 คณะ มีดังนี้
1. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่าแห่งชาติ (คปป.)
องค์ประกอบที่เสนอแต่งตั้งใหม่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ได้รับมอบหมาย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ที่ได้รับมอบหมาย และปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นรองประธานกรรมการ กรรมการประกอบด้วย ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้อานวยการสานักงบประมาณ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ อัยการสูงสุด เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน อธิบดีกรมศุลกากร อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เลขาธิการสานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ อธิบดีกรมทางหลวง อธิบดีกรมทางหลวงชนบท อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผู้อานวยการองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ผู้แทนกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวน 5 คน โดยมีรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติ) เป็นกรรมการและเลขานุการ อธิบดีกรมป่าไม้ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
หน้าที่และอานาจ (คงเดิม)
36
1) เสนอนโยบายหรือแผนงาน มาตรการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทาลายทรัพยากรที่ดินป่าไม้ เสนอนโยบายการยกเลิก แก้ไขเพิ่มเติม หรือปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยป่าไม้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องต่อคณะรัฐมนตรี
2) กาหนดมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้และที่ดินป่าไม้ และการวางกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3) ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการดาเนินงานป้องกันและปราบปรามการทาลายทรัพยากรป่าไม้และที่ดินป่าไม้ การอานวยการ สั่งการ ควบคุม กากับ ติดตาม ดูแล และตรวจสอบการดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ ให้เป็นไปตามนโยบายหรือแผนงาน มาตรการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้ และที่ดินป่าไม้ที่คณะกรรมการฯ กาหนด
4) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่าระดับจังหวัด (คปป. จังหวัด) และคณะอนุกรรมการอื่น ๆ กับคณะทางานให้ปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการ ฯ มอบหมาย
5) รวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ จากบุคคลใด ๆ และหน่วยงานของรัฐในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการทาลายทรัพยากรป่าไม้และที่ดินป่าไม้ เรียกให้หน่วยงานของรัฐส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานและข้อเท็จจริง หรือให้ส่งผู้แทนมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคาประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทางานที่คณะกรรมการแต่งตั้งเพื่อเป็นหลักฐานในการดาเนินคดี
6) พิจารณาขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการปฏิบัติงาน
7) รายงานผลการปฏิบัติงาน ปัญหาอุปสรรค และสถานการณ์บุกรุกตัดไม้ทาลายป่าต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
8) ดาเนินการอื่นใดตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
2. คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ระดับประเทศ (ฝ่ายไทย)
องค์ประกอบที่เสนอแต่งตั้งใหม่ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เป็นรองประธานกรรมการ กรรมการประกอบด้วย อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อธิบดีกรมป่าไม้ หรือผู้แทน เอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ หรือผู้แทน อธิบดีกรมเอเชียตะวันออก หรือผู้แทน อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย หรือผู้แทน ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนสภาความมั่นคงแห่งชาติ ผู้แทนกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ผู้แทนสานักข่าวกรองแห่งชาติ ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี หรือผู้แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด หรือผู้แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ หรือผู้แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ หรือผู้แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว หรือผู้แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ หรือผู้แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี หรือผู้แทน ผู้แทนกองทัพบก ผู้แทนกรมกิจการชายแดนทหาร ผู้แทนกองทัพภาคที่ 1 ผู้แทนกองทัพภาคที่ 2 ผู้แทนกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด ผู้แทนสานักงานตารวจแห่งชาติ ผู้แทนกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ผู้แทนกองบังคับการปราบปรามการกระทาผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และผู้แทนกรมศุลกากร โดยมีผู้อานวยการสานักป้องกัน ปราบปรามและควบคุมไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นเลขานุการ ผู้อานวยการส่วนยุทธการด้านป้องกันและปราบปราม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และผู้อานวยการกองเอเชียตะวันออก 2 กรมเอเชียตะวันออก เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
หน้าที่และอานาจ (คงเดิม)
1) กาหนดนโยบายและแนวทางในการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา โดยนโยบายและแนวทางจะต้องไม่มีนัยเกี่ยวกับเขตแดนระหว่างสองประเทศ
2) ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา เพื่อให้การดาเนินความร่วมมือดังกล่าวเป็นไปอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ
3) ประชุมคณะกรรมการฯ ระดับประเทศร่วมกับฝ่ายกัมพูชาปีละ 1 - 2 ครั้ง หรือขึ้นอยู่กับสถานการณ์
4) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด เพื่อรับกรอบการปฏิบัติงานของคณะกรรมการฯ ระดับประเทศ มาปรับใช้ในการปฏิบัติและลาดตระเวนให้เหมาะสมกับพื้นที่ในความรับผิดชอบ รวมทั้งเป็นช่องทางติดต่อประสานงานในพื้นที่ชายแดนระหว่างกัน
37
5) ดาเนินโครงการตามแนวทางการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา
6) ติดตามผลและประเมินความคืบหน้าของการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดน ไทย - กัมพูชา เพื่อรายงานให้รัฐบาลทราบเป็นระยะ ๆ
7) แต่งตั้ง แก้ไข เพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ตามความเหมาะสม
8) แต่งตั้งที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม
3. คณะกรรมการร่วม (Joint Committee) ฝ่ายไทย
องค์ประกอบที่เสนอแต่งตั้งใหม่ รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธานกรรมการร่วม กรรมการร่วมประกอบด้วย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน หรือผู้แทน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือผู้แทน อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ หรือผู้แทน เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือผู้แทน อธิบดีกรมเอเชียตะวันออก หรือผู้แทน และประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน โดยมีอธิบดีกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หรือผู้แทน และผู้อานวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก เป็นกรรมการและเลขานุการร่วม และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
หน้าที่และอานาจที่เสนอในครั้งนี้
1) รับรองแผนงานโครงการที่จะพัฒนาเป็นโครงการ JCM สาหรับโครงการที่จะดาเนินงานในอนาคต
2) พัฒนาหลักเกณฑ์ และแนวทางที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงานกลไกเครดิตร่วม (JCM) สาหรับโครงการที่คงค้างอยู่ในระบบ
3) ให้ความเห็นชอบต่อระเบียบวิธีการลดก๊าซเรือนกระจก (Methodologies) สาหรับโครงการที่คงค้างอยู่ในระบบ
4) แต่งตั้งผู้ตรวจประเมินโครงการ (Third party entity) สาหรับทาหน้าที่ตรวจสอบความใช้ได้ของโครงการ (Validation) และทวนสอบปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก (Verification) สาหรับโครงการที่คงค้างอยู่ในระบบ
5) พิจารณาการแบ่งสัดส่วนคาร์บอนเครดิตและขึ้นทะเบียนโครงการที่คงค้างอยู่ในระบบที่ผ่านการตรวจสอบความใช้ได้ของโครงการ (Validation) โดยผู้ตรวจประเมินโครงการและได้รับอนุญาตให้ใช้คาร์บอนเครดิต เพื่อวัตถุประสงค์ระหว่างประเทศแล้วเป็นโครงการ JCM
6) รับรองคาร์บอนเครดิตที่เกิดขึ้นจากโครงการที่คงค้างอยู่ในระบบที่ผ่านการตรวจสอบการอนุญาตให้ใช้คาร์บอนเครดิตเพื่อวัตถุประสงค์ระหว่างประเทศแล้ว
7) ปฏิบัติภารกิจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการร่วม (Joint Committee) เห็นสมควร
4. คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการถ้าแห่งชาติ
องค์ประกอบที่เสนอแต่งตั้งใหม่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ กรรมการประกอบด้วย ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อธิบดีกรมทรัพยากรน้าบาดาล อธิบดีกรมศิลปากร อธิบดีกรมการศาสนา เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย อธิบดีกรมการท่องเที่ยว อธิบดีกรมป่าไม้ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง จานวน 9 คน โดยมีอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี เป็นกรรมการและเลขานุการ รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ที่ได้รับมอบหมาย รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ได้รับมอบหมาย และรองอธิบดีกรมป่าไม้ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
หน้าที่และอานาจ (คงเดิม)
1) กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ แนวทางในการใช้ประโยชน์การบริหารจัดการถ้า
2) ดาเนินการเพื่อให้มีการศึกษา สารวจ วิจัย จัดทาข้อมูล และประเมินศักยภาพถ้าเพื่อการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
38
3) กาหนดแนวทางในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่น และบูรณาการการบริหารจัดการท่องเที่ยวถ้าโดยมีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่น
4) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะทางานได้ตามความจาเป็นและเหมาะสม
5) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
5. คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอุทยานธรณี
องค์ประกอบที่เสนอแต่งตั้งใหม่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นรองประธานกรรมการ กรรมการประกอบด้วย ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อธิบดีกรมป่าไม้ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือผู้แทน อธิบดีกรมการท่องเที่ยว หรือผู้แทน อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม หรือผู้แทน อธิบดีกรมศิลปากร หรือผู้แทน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน ผู้อานวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หรือผู้แทน นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน ผู้อานวยการสมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวส่วนภูมิภาคแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง จานวน 6 คน โดยมีรองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ที่ได้รับมอบหมาย เป็นกรรมการและเลขานุการ ผู้อานวยการกองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ผู้อานวยการกองอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี และนักวิเทศสัมพันธ์ สานักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
หน้าที่และอานาจที่เสนอในครั้งนี้
1) เสนอแนะนโยบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์มรดกธรณีและอุทยานธรณีต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ และแจ้งหน่วยงานของรัฐนาไปสู่การปฏิบัติ
2) กาหนดแผนงาน มาตรการ หลักเกณฑ์ และกลไกการดาเนินงานอนุรักษ์มรดกธรณีและอุทยานธรณี โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืนของการอนุรักษ์มรดกธรณีและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นพร้อมทั้งส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งอุทยานธรณี และเครือข่ายของอุทยานธรณีประเทศไทยรวมถึงการดาเนินกิจกรรมกับเครือข่ายอุทยานธรณีโลกระดับต่าง ๆ
3) รับรองแหล่งมรดกธรณีของประเทศไทย และอุทยานธรณีประเทศไทย ตลอดจนให้ความเห็นชอบและรับรองในการปรับเปลี่ยนและแก้ไขรายละเอียดต่าง ๆ ของอุทยานธรณีประเทศไทย
4) เสนออุทยานธรณีประเทศไทยที่มีความพร้อม โดยความเห็นชอบจากกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะสานักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบในการสมัครเข้ารับรองเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก
5) ติตต่อประสานงานกับยูเนสโกเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมภายใต้กรอบงานอุทยานธรณีโลก
6) ประสานงานและติดตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐเพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน มาตรการและกลไก
7) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะทางานได้ตามความจาเป็นและเหมาะสม
8) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใด ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
22. เรื่อง การขอต่อเวลาการดารงตาแหน่งของเลขาธิการ ก.พ.ร. ครั้งที่ 1 (สานักนายกรัฐมนตรี)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายปานปรีย์ พหิทธานุกร) กากับการบริหารราชการ สั่ง และปฏิบัติราชการสานักงาน ก.พ.ร. เสนอการต่อเวลาการดารงตาแหน่งของ นางสาวอ้อนฟ้า เวชชาชีวะ เลขาธิการ ก.พ.ร. สานักงาน ก.พ.ร. สานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งจะดารงตาแหน่งดังกล่าวครบ 4 ปี ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 ต่อไปอีก 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 ถึงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568
39
23. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (สานักงาน กปร.)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร.) เสนอแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดสานักงาน กปร. ให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง จานวน 2 ราย เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง ดังนี้
1. นายศุภรัชต์ อินทราวุธ ที่ปรึกษาด้านการพัฒนา (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนทรงคุณวุฒิ) สานักงาน กปร. ดารงตาแหน่ง รองเลขาธิการ กปร. สานักงาน กปร
2. นายวิกรม คัยนันทน์ ที่ปรึกษาด้านการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนทรงคุณวุฒิ) สานักงาน กปร. ดารงตาแหน่ง รองเลขาธิการ กปร. สานักงาน กปร.
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
24. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสมศักดิ์ เทพสุทิน) กากับการบริหารราชการ สั่ง และปฏิบัติราชการศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เสนอแต่งตั้งและรับโอนข้าราชการ พลเรือนสามัญ ให้ดารงตาแหน่ง รองเลขาธิการ ศอ.บต. เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง จานวน 2 ราย ดังนี้
1. แต่งตั้ง นายนันทพงศ์ สุวรรณรัตน์ ผู้ช่วยเลขาธิการ ศอ.บต. ให้ดารงตาแหน่ง รองเลขาธิการ ศอ.บต.
2. รับโอน นายปิยะศิริ วัฒนวรางกูร รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม และแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง รองเลขาธิการ ศอ.บต. โดยผู้มีอานาจสั่งบรรจุทั้งสองฝ่ายได้ตกลงยินยอมในการโอนแล้ว
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
25. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงยุติธรรม)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเสนอแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงยุติธรรม ให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง จานวน 4 ราย เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง ดังนี้
1. นายเกิดโชค เกษมวงศ์จิตร รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
2. นางสาวศิริประกาย วรปรีชา รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
3. นายโกมล พรมเพ็ง รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
4. นางธารินี แสงสว่าง รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
26. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงสาธารณสุข)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเสนอแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง จานวน 6 ราย เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง ดังนี้
1. นายภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
2. นายศักดา อัลภาชน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
40
3. นายโสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
4. นายวีรวุฒิ อิ่มสาราญ รองอธิบดีกรมการแพทย์ ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
5. นายสราวุฒิ บุญสุข รองอธิบดีกรมอนามัย ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
6. นายมณเฑียร คณาสวัสดิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
27. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงอุตสาหกรรม)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเสนอแต่งตั้ง นายเศรษฐรัชต์ เลือดสกุล รองอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ให้ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
28. เรื่อง การแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงพลังงานเสนอแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รวม 10 คน แทนประธานกรรมการและกรรมการอื่นเดิมที่พ้นจากตาแหน่งเนื่องจากมีอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ และขอลาออก ดังนี้
1. นายประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ประธานกรรมการ
2. รองศาสตราจารย์กุลยศ อุดมวงศ์เสรี กรรมการ
3. พลโท เจียรนัย วงศ์สอาด กรรมการ
4. รองศาสตราจารย์ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา กรรมการ
5. นางสาวนิรมาณ ไหลสาธิต กรรมการ
6. นายปกรณ์ อาภาพันธุ์ กรรมการ
7. นายพรพจน์ เพ็ญพาส กรรมการ
8. ศาสตราจารย์พิสุทธิ์ เพียรมนกุล กรรมการ
9. นายวรากร พรหโมบล กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงพลังงาน)
10. นายอัครุตม์ สนธยานนท์ กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงการคลัง)
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นต้นไป
29. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงมหาดไทย)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเสนอแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงมหาดไทย ให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง จานวน 10 ราย เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง และสับเปลี่ยนหมุนเวียน ดังนี้
1. นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
2. นายราชันย์ ซุ้นหั้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
3. นายชูศักดิ์ รู้ยิ่ง ที่ปรึกษาด้านความมั่นคง (นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ทรงคุณวุฒิ) สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
4. นายวัชรเดช เกียรติชานน ที่ปรึกษาด้านการปกครอง (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนทรงคุณวุฒิ) สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
41
5. นายสยาม ศิริมงคล ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
6. นายพรพจน์ เพ็ญพาส รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง อธิบดีกรมที่ดิน
7. นายชัยวัฒน์ ชื่นโกสุม อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ดารงตาแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา สานักงานปลัดกระทรวง
8. นายสมคิด จันทมฤก รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สานักงานปลัดกระทรวง
9. นายชูชีพ พงษ์ไชย ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน สานักงานปลัดกระทรวง
10. นายสมภพ สมิตะสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย สานักงานปลัดกระทรวง
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
30. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงแรงงาน)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานเสนอแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงแรงงาน ให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง จานวน 5 ราย เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง ดังนี้
1. เรือเอก สาโรจน์ คมคาย ที่ปรึกษากฎหมาย (นิติกรทรงคุณวุฒิ) สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
2. นายสมพจน์ กวางแก้ว รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
3. นางสาวบุณยวีร์ ไขว้พันธุ์ รองอธิบดีกรมการจัดหางาน ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
4. นายสันติ นันตสุวรรณ รองอธิบดีกรมการจัดหางาน ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
5. นางมารศรี ใจรังษี รองเลขาธิการสานักงานประกันสังคม ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป
31. เรื่อง การแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ รวม 9 คน เนื่องจากประธานกรรมการและกรรมการอื่นเดิมได้ดารงตาแหน่งครบวาระสามปี ดังนี้
1. นายยุทธนา ยุพฤทธิ์ ประธานกรรมการ
2. นางสาวรัชนีพร ธิติทรัพย์ กรรมการ
3. พลตารวจโท ปิยะ ต๊ะวิชัย กรรมการ
4. นางสาวกมลพัฒน์ ปุงบางกะดี่ กรรมการ
5. นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ กรรมการ
6. นายธนพล โตโพธิ์ไทย กรรมการ
7. นายจิรพล สังข์โพธิ์ กรรมการ
8. นายภูมินทร์ บุตรอินทร์ กรรมการ
9. นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงการคลัง)
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นต้นไป
42
32. เรื่อง การโอนข้าราชการพลเรือนสามัญเพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอรับโอน นายประเสริฐ ศิรินภาพร รองผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อทดแทนตาแหน่งที่ว่าง ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป โดยผู้มีอานาจสั่งบรรจุทั้งสองฝ่ายได้ตกลงยินยอมในการโอนแล้ว
33. เรื่อง ขอความเห็นชอบแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเสนอแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา เนื่องจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเดิมได้ดารงตาแหน่งครบวาระสองปี ดังนี้
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมิทธิ์ ศรีสนธิ์ (ด้านการแพทย์)
2. นางชฎาพร รักษาทรัพย์ (ด้านสังคมสงเคราะห์)
3. รองศาสตราจารย์อนุสรณ์ อุณโณ (ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน)
4. นางสาวฐปณีย์ เอียดศรีไชย
5. นายชนะพล มหาวงษ์
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นต้นไป

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ