คณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลัก ครั้งที่ 8 ของการประปานครหลวง (กปน.) และเห็นชอบให้ กปน. ดำเนิน
โครงการฯ ในวงเงินทั้งสิ้น 7,494 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินรายได้ จำนวน 3,494 ล้านบาท เงินกู้ภายในประเทศ จำนวน 2,000 ล้านบาท
และเงินกู้ต่างประเทศ จำนวน 2,000 ล้านบาท ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
ระบบประปาในปัจจุบันของ กปน. จากโรงงานผลิตน้ำประปา 4 แห่งที่มีกำลังการผลิตรวม 5.5 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน และสถานีสูบ
จ่ายน้ำ 20 แห่ง จะมีความเพียงพอถึงปี พ.ศ. 2554 เท่านั้น เมื่อความต้องการน้ำเพิ่มขึ้นจากภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจ และที่อยู่อาศัยอย่างต่อ
เนื่อง รวมทั้งต้องผลิตน้ำทดแทนการยกเลิกบ่อบาดาลของภาคเอกชน จึงจำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิตน้ำประปาพร้อมระบบเกี่ยวข้องเป็นการล่วงหน้า
เพื่อให้ทันกับความต้องการ คือ โครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลัก ครั้งที่ 8 ดำเนินการระหว่างปี 2550-2556
กปน. ได้ดำเนินการตามความเห็นของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดำเนินการของ กปน.
1. กระทรวงการคลัง
เห็นชอบโครงการฯ และควรเร่งรัดกระทรวงมหาดไทย ได้ตรวจสอบแล้วคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ
นำเสนอพระราชบัญญัติประกอบกิจการน้ำ พ.ศ. .... ด้าน การกำกับดูแลกิจการประปาซึ่งมีปลัด มท.
เพื่อให้สามารถจัดตั้งองค์กรกำกับดูแลกิจการน้ำได้ เป็นประธาน และคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ
ต่อไป เพื่อร่างกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจการ
ประปา ซึ่งมีรองปลัด มท. เป็นประธานได้พิจารณา
และนำเสนอต่อคณะกรรมการกำหนดนโยบาย
และกำกับดูแลกิจการประปาแห่งชาติแล้ว
2. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เห็นชอบโครงการฯ และมีความเห็นเพิ่มเติม ดังนี้ การคาดการณ์ความต้องการใช้น้ำจะพิจารณา
2.1 กรณีที่ผู้ใช้น้ำรายใหญ่มีการเพิ่มประสิทธิภาพ บนพื้นฐานข้อมูลจากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การใช้น้ำและหรือมีการนำน้ำกลับมาใช้ซ้ำจะทำให้ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ทั้งประเด็นที่มีการใช้น้ำ
ความต้องการใช้น้ำประปาเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง บาดาลและหรือนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ สรุปได้ว่าน้ำที่
หรือไม่ ประการใด สามารถนำกลับมาใช้ใหม่นั้นจะเป็นเพียงน้ำที่เป็น
องค์ประกอบช่วยในกระบวนการผลิตเท่านั้น ยัง
ไม่สามารถนำมาใช้ในระบบการผลิตหลักได้
และคุณภาพน้ำที่ผ่านการบำบัดยังไม่ดีพอที่จะ
นำกลับมาใช้ซ้ำ
ความเป็นไปได้ในการประสานกับองค์กรปกครอง กปน. พร้อมให้ความร่วมมือกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย ส่วนท้องถิ่นที่จะจัดเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย โดยขณะนี้
ร่วมกับการจัดเก็บค่าน้ำประปา มีการประสานงานกับกรุงเทพมหานครเป็นประจำ
2.2 ควรจัดลำดับความสำคัญในการวางท่อเมนจ่าย กปน.ให้ความสำคัญกับวิกฤตการณ์น้ำบาดาล
น้ำประปาให้ทั่วถึง เพื่อลดผลกระทบจากการสูบน้ำ และ แผ่นดินทรุดอยู่แล้ว มีการวางแผนวางท่อ
บาดาลและการทรุดตัวของแผ่นดิน ประปาขยายเขตอย่างเป็นระบบ เป็นผลให้สามารถ
แจ้งยกเลิกบ่อบาดาลของเอกชนต่อกรมทรัพยากรน้ำ
บาดาลถึงปัจจุบันได้ประมาณ 1,800 บ่อ
2.3 ระหว่างการก่อสร้างควรจัดทำแผนและมาตรการ มีการระบุและใส่ใจมาตรการควบคุมดูแลที่เข้มงวด
ป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านคุณภาพ ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกำหนดและใน
อากาศและเสียง เงื่อนไขสัญญาจ้างกำหนดให้จัดทำแผนป้องกัน
ปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมและสังคม
2.4 ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ในการออกแบบระบบผลิตจะต้องผ่านขั้นตอน
ระบบผลิตประปาที่ทันสมัย มีความเหมาะสม การศึกษาคุณภาพน้ำดิบก่อน นำมาสู่การพิจารณา
กับแหล่งผิวดินเป็นทางเลือกในการพิจารณา เลือกระบบที่เหมาะสม ซึ่งโรงงานผลิตน้ำประปา
เปรียบเทียบความเหมาะสมของระบบผลิต ทั้ง 4 แห่ง มีการก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
น้ำประปาขนาดใหญ่ โดยโรงงานผลิตน้ำสามเสนและธนบุรีที่เก่าก็มีการ
พัฒนาเป็นระบบสมัยใหม่แล้วเช่นกันทำให้คุณภาพ
น้ำประปาได้รับการยอมรับเป็นไปตามมาตรฐาน
องค์การอนามัยโลก
2.5 ควรมีมาตรการรณรงค์และส่งเสริมให้ ดำเนินโครงการรณรงค์การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า
ภาคเอกชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการ อย่าง ต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 (ช่วงวิกฤต
ใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า การณ์ภัยแล้งของประเทศไทย) โดยการแจกแผ่นพับ
แนะนำวิธีประหยัดน้ำประปา รณรงค์กับเด็กนักเรียน
และประชาชนพร้อมทั้งให้ความรู้เรื่อง Demand Side
Management เป็นประจำแม้แต่ราคาน้ำประปาก็เป็น
แบบอัตราก้าวหน้า
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 10 มิถุนายน 2551--จบ--
โครงการฯ ในวงเงินทั้งสิ้น 7,494 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินรายได้ จำนวน 3,494 ล้านบาท เงินกู้ภายในประเทศ จำนวน 2,000 ล้านบาท
และเงินกู้ต่างประเทศ จำนวน 2,000 ล้านบาท ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
ระบบประปาในปัจจุบันของ กปน. จากโรงงานผลิตน้ำประปา 4 แห่งที่มีกำลังการผลิตรวม 5.5 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน และสถานีสูบ
จ่ายน้ำ 20 แห่ง จะมีความเพียงพอถึงปี พ.ศ. 2554 เท่านั้น เมื่อความต้องการน้ำเพิ่มขึ้นจากภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจ และที่อยู่อาศัยอย่างต่อ
เนื่อง รวมทั้งต้องผลิตน้ำทดแทนการยกเลิกบ่อบาดาลของภาคเอกชน จึงจำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิตน้ำประปาพร้อมระบบเกี่ยวข้องเป็นการล่วงหน้า
เพื่อให้ทันกับความต้องการ คือ โครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลัก ครั้งที่ 8 ดำเนินการระหว่างปี 2550-2556
กปน. ได้ดำเนินการตามความเห็นของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดำเนินการของ กปน.
1. กระทรวงการคลัง
เห็นชอบโครงการฯ และควรเร่งรัดกระทรวงมหาดไทย ได้ตรวจสอบแล้วคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ
นำเสนอพระราชบัญญัติประกอบกิจการน้ำ พ.ศ. .... ด้าน การกำกับดูแลกิจการประปาซึ่งมีปลัด มท.
เพื่อให้สามารถจัดตั้งองค์กรกำกับดูแลกิจการน้ำได้ เป็นประธาน และคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ
ต่อไป เพื่อร่างกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจการ
ประปา ซึ่งมีรองปลัด มท. เป็นประธานได้พิจารณา
และนำเสนอต่อคณะกรรมการกำหนดนโยบาย
และกำกับดูแลกิจการประปาแห่งชาติแล้ว
2. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เห็นชอบโครงการฯ และมีความเห็นเพิ่มเติม ดังนี้ การคาดการณ์ความต้องการใช้น้ำจะพิจารณา
2.1 กรณีที่ผู้ใช้น้ำรายใหญ่มีการเพิ่มประสิทธิภาพ บนพื้นฐานข้อมูลจากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การใช้น้ำและหรือมีการนำน้ำกลับมาใช้ซ้ำจะทำให้ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ทั้งประเด็นที่มีการใช้น้ำ
ความต้องการใช้น้ำประปาเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง บาดาลและหรือนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ สรุปได้ว่าน้ำที่
หรือไม่ ประการใด สามารถนำกลับมาใช้ใหม่นั้นจะเป็นเพียงน้ำที่เป็น
องค์ประกอบช่วยในกระบวนการผลิตเท่านั้น ยัง
ไม่สามารถนำมาใช้ในระบบการผลิตหลักได้
และคุณภาพน้ำที่ผ่านการบำบัดยังไม่ดีพอที่จะ
นำกลับมาใช้ซ้ำ
ความเป็นไปได้ในการประสานกับองค์กรปกครอง กปน. พร้อมให้ความร่วมมือกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย ส่วนท้องถิ่นที่จะจัดเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย โดยขณะนี้
ร่วมกับการจัดเก็บค่าน้ำประปา มีการประสานงานกับกรุงเทพมหานครเป็นประจำ
2.2 ควรจัดลำดับความสำคัญในการวางท่อเมนจ่าย กปน.ให้ความสำคัญกับวิกฤตการณ์น้ำบาดาล
น้ำประปาให้ทั่วถึง เพื่อลดผลกระทบจากการสูบน้ำ และ แผ่นดินทรุดอยู่แล้ว มีการวางแผนวางท่อ
บาดาลและการทรุดตัวของแผ่นดิน ประปาขยายเขตอย่างเป็นระบบ เป็นผลให้สามารถ
แจ้งยกเลิกบ่อบาดาลของเอกชนต่อกรมทรัพยากรน้ำ
บาดาลถึงปัจจุบันได้ประมาณ 1,800 บ่อ
2.3 ระหว่างการก่อสร้างควรจัดทำแผนและมาตรการ มีการระบุและใส่ใจมาตรการควบคุมดูแลที่เข้มงวด
ป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านคุณภาพ ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกำหนดและใน
อากาศและเสียง เงื่อนไขสัญญาจ้างกำหนดให้จัดทำแผนป้องกัน
ปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมและสังคม
2.4 ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ในการออกแบบระบบผลิตจะต้องผ่านขั้นตอน
ระบบผลิตประปาที่ทันสมัย มีความเหมาะสม การศึกษาคุณภาพน้ำดิบก่อน นำมาสู่การพิจารณา
กับแหล่งผิวดินเป็นทางเลือกในการพิจารณา เลือกระบบที่เหมาะสม ซึ่งโรงงานผลิตน้ำประปา
เปรียบเทียบความเหมาะสมของระบบผลิต ทั้ง 4 แห่ง มีการก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
น้ำประปาขนาดใหญ่ โดยโรงงานผลิตน้ำสามเสนและธนบุรีที่เก่าก็มีการ
พัฒนาเป็นระบบสมัยใหม่แล้วเช่นกันทำให้คุณภาพ
น้ำประปาได้รับการยอมรับเป็นไปตามมาตรฐาน
องค์การอนามัยโลก
2.5 ควรมีมาตรการรณรงค์และส่งเสริมให้ ดำเนินโครงการรณรงค์การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า
ภาคเอกชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการ อย่าง ต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 (ช่วงวิกฤต
ใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า การณ์ภัยแล้งของประเทศไทย) โดยการแจกแผ่นพับ
แนะนำวิธีประหยัดน้ำประปา รณรงค์กับเด็กนักเรียน
และประชาชนพร้อมทั้งให้ความรู้เรื่อง Demand Side
Management เป็นประจำแม้แต่ราคาน้ำประปาก็เป็น
แบบอัตราก้าวหน้า
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมัคร สุนทรเวช (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 10 มิถุนายน 2551--จบ--