แท็ก
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คณะรัฐมนตรี
ภาคตะวันตก
ภาคเหนือ
อุดรธานี
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานสถานการณ์น้ำและ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย สรุปได้ดังนี้
1. ปริมาณฝนตกสูงสุด 10 ลำดับ กระจายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันตก โดยมีฝนตกสูงสุด 110.0 มม./วัน ที่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
2. อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำมากกว่า 85% ขึ้นไป มี 9 แห่ง ประกอบด้วย เขื่อนแม่งัดที่ จ.เชียงใหม่ เขื่อนห้วยหลวงที่ จ.อุดรธานี เขื่อนน้ำอูนที่ จ.สกลนคร เขื่อนลำปาวที่ จ.กาฬสินธุ์ เขื่อนสิรินทรที่ จ.อุบลราชธานี เขื่อนอุบลรัตน์ที่ จ.ขอนแก่น เขื่อนลำพระเพลิงที่
จ.นครราชสีมา เขื่อนศรีนครินทร์ที่ จ.กาญจนบุรี เขื่อนขุนด่านปราการชลที่ จ.นครนายก เขื่อนคลองสียัด ที่ จ.ฉะเชิงเทรา เขื่อนประแสร์ที่
จ.ระยอง และเขื่อนหนองปลาไหลที่ จ.ระยอง
3. อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำ 80% ถึง 85% มี 6 แห่ง ประกอบด้วย เขื่อนสิริกิติ์ที่ จ.อุตรดิตถ์, เขื่อนมูลบน เขื่อนลำแซะ เขื่อนลำตะคอง ที่ จ.นครราชสีมา, เขื่อนวชิราลงกรณ์ที่ จ.กาญจนบุรี และเขื่อนรัชชประภาที่ จ.สุราษฎร์ธานี
4. แม่น้ำสายหลักที่มีปริมาณน้ำล้นตลิ่ง ประกอบด้วย
- แม่น้ำยม ที่บ้านบางระกำ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
- แม่น้ำป่าสัก ที่ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
- แม่น้ำชี ที่ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ, อ.มัญจาคีรี อ.เมือง จ.ขอนแก่น, อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม, กิ่ง อ.ทุ่งเขาหลวง
จ.ร้อยเอ็ด และ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
- แม่น้ำมูล ที่ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา, อ.สตึก จ.บุรีรัมย์, อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ และ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
5. ปัญหาคุณภาพน้ำในพื้นที่ประสบอุทกภัย ประกอบด้วย
จังหวัดลพบุรี
- โรงเรียนวัดหนองเมือง ต.หนองเมือง อ.บ้านหมี่ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร สภาพน้ำมีกลิ่นเหม็น
- หน้าวัดหนองเมือง ต.หนองเมือง อ.บ้านหมี่ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.17 มิลลิกรัมต่อลิตร สภาพน้ำมีกลิ่นเหม็นมาก
- น้ำจากทุ่งลงคลองชัยนาท-ป่าสัก ต.หนองเมือง อ.บ้านหมี่ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.43 มิลลิกรัมต่อลิตร
จังหวัดปราจีนบุรี
- ทางเข้าวัดปทุมบูชา ต.เมืองทาม อ.ศรีมหาโพธิ์ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตรสภาพน้ำสีเหลือง มีกลิ่นเหม็น
- สะพานข้ามแม่น้ำป่าจีน อ.ศรีมหาโพธิ์ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 2.79 มิลลิกรัมต่อลิตร
- โรงเรียนอนุบาลศรีมหาโพธิ์ อ.ศรีมหาโพธิ์ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.44 มิลลิกรัมต่อลิตรสภาพน้ำมีกลิ่นเหม็นมาก
6. ปัญหาคุณภาพน้ำในแม่น้ำสายหลัก
6.1 แม่น้ำลพบุรี มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ(DO) เฉลี่ยประมาณ 3.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
6.2 แม่น้ำปราจีนบุรี มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ในช่วง 3.1 - 4.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
6.3 แม่น้ำเจ้าพระยา มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ในช่วง 3.7 - 4.8 มิลลิกรัมต่อลิตร
7. พื้นที่ประสบอุทกภัย ในช่วงวันที่ 4 — 8 ตุลาคม 2551 มี 12 จังหวัด
8. การให้ความช่วยเหลือ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ปราจีนบุรี น่าน ขอนแก่น หนองบัวลำภู อุบลราชธานี หนองคาย โดยการล้างบ่อน้ำตื้น 163 บ่อ ติดตั้งระบบประปาสนามเพื่อบริการน้ำอุปโภค 155,700 ลิตร แจกจ่ายน้ำสะอาดเพื่อการบริโภค 47,052 ลิตร เตือนภัยน้ำหลากให้กับ 62 หมู่บ้าน และแจกถุงยังชีพ 300 ครัวเรือน
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 9 ตุลาคม 2551--จบ--
1. ปริมาณฝนตกสูงสุด 10 ลำดับ กระจายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันตก โดยมีฝนตกสูงสุด 110.0 มม./วัน ที่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
2. อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำมากกว่า 85% ขึ้นไป มี 9 แห่ง ประกอบด้วย เขื่อนแม่งัดที่ จ.เชียงใหม่ เขื่อนห้วยหลวงที่ จ.อุดรธานี เขื่อนน้ำอูนที่ จ.สกลนคร เขื่อนลำปาวที่ จ.กาฬสินธุ์ เขื่อนสิรินทรที่ จ.อุบลราชธานี เขื่อนอุบลรัตน์ที่ จ.ขอนแก่น เขื่อนลำพระเพลิงที่
จ.นครราชสีมา เขื่อนศรีนครินทร์ที่ จ.กาญจนบุรี เขื่อนขุนด่านปราการชลที่ จ.นครนายก เขื่อนคลองสียัด ที่ จ.ฉะเชิงเทรา เขื่อนประแสร์ที่
จ.ระยอง และเขื่อนหนองปลาไหลที่ จ.ระยอง
3. อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำ 80% ถึง 85% มี 6 แห่ง ประกอบด้วย เขื่อนสิริกิติ์ที่ จ.อุตรดิตถ์, เขื่อนมูลบน เขื่อนลำแซะ เขื่อนลำตะคอง ที่ จ.นครราชสีมา, เขื่อนวชิราลงกรณ์ที่ จ.กาญจนบุรี และเขื่อนรัชชประภาที่ จ.สุราษฎร์ธานี
4. แม่น้ำสายหลักที่มีปริมาณน้ำล้นตลิ่ง ประกอบด้วย
- แม่น้ำยม ที่บ้านบางระกำ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
- แม่น้ำป่าสัก ที่ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
- แม่น้ำชี ที่ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ, อ.มัญจาคีรี อ.เมือง จ.ขอนแก่น, อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม, กิ่ง อ.ทุ่งเขาหลวง
จ.ร้อยเอ็ด และ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
- แม่น้ำมูล ที่ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา, อ.สตึก จ.บุรีรัมย์, อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ และ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
5. ปัญหาคุณภาพน้ำในพื้นที่ประสบอุทกภัย ประกอบด้วย
จังหวัดลพบุรี
- โรงเรียนวัดหนองเมือง ต.หนองเมือง อ.บ้านหมี่ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร สภาพน้ำมีกลิ่นเหม็น
- หน้าวัดหนองเมือง ต.หนองเมือง อ.บ้านหมี่ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.17 มิลลิกรัมต่อลิตร สภาพน้ำมีกลิ่นเหม็นมาก
- น้ำจากทุ่งลงคลองชัยนาท-ป่าสัก ต.หนองเมือง อ.บ้านหมี่ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.43 มิลลิกรัมต่อลิตร
จังหวัดปราจีนบุรี
- ทางเข้าวัดปทุมบูชา ต.เมืองทาม อ.ศรีมหาโพธิ์ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตรสภาพน้ำสีเหลือง มีกลิ่นเหม็น
- สะพานข้ามแม่น้ำป่าจีน อ.ศรีมหาโพธิ์ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 2.79 มิลลิกรัมต่อลิตร
- โรงเรียนอนุบาลศรีมหาโพธิ์ อ.ศรีมหาโพธิ์ มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 0.44 มิลลิกรัมต่อลิตรสภาพน้ำมีกลิ่นเหม็นมาก
6. ปัญหาคุณภาพน้ำในแม่น้ำสายหลัก
6.1 แม่น้ำลพบุรี มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ(DO) เฉลี่ยประมาณ 3.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
6.2 แม่น้ำปราจีนบุรี มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ในช่วง 3.1 - 4.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
6.3 แม่น้ำเจ้าพระยา มีค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ในช่วง 3.7 - 4.8 มิลลิกรัมต่อลิตร
7. พื้นที่ประสบอุทกภัย ในช่วงวันที่ 4 — 8 ตุลาคม 2551 มี 12 จังหวัด
8. การให้ความช่วยเหลือ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ปราจีนบุรี น่าน ขอนแก่น หนองบัวลำภู อุบลราชธานี หนองคาย โดยการล้างบ่อน้ำตื้น 163 บ่อ ติดตั้งระบบประปาสนามเพื่อบริการน้ำอุปโภค 155,700 ลิตร แจกจ่ายน้ำสะอาดเพื่อการบริโภค 47,052 ลิตร เตือนภัยน้ำหลากให้กับ 62 หมู่บ้าน และแจกถุงยังชีพ 300 ครัวเรือน
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 9 ตุลาคม 2551--จบ--