รายงานผลการจัดโครงการสัมมนา “สื่อท้องถิ่นกับนโยบายรัฐบาล” ครั้งที่ 1

ข่าวกฏหมายและประกาศ Wednesday January 11, 2006 16:42 —มติคณะรัฐมนตรี

          คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการจัดโครงการสัมมนา “สื่อท้องถิ่นกับนโยบายรัฐบาล” ครั้งที่ 1  ตามที่สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (สำนักโฆษก)  เสนอ  และเห็นชอบมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเด็นปัญหาที่สื่อมวลชนท้องถิ่น ภาคใต้ตอนบนได้นำเสนอในการสัมมนาไปพิจารณาดำเนินการให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน  รวมทั้งมอบหมายให้กระทรวงต่าง ๆ  ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานของรัฐบาลให้สื่อมวลชนได้รับทราบอย่างถูกต้องชัดเจนและทั่วถึง  เพื่อถ่ายทอดให้ประชาชนทราบและเกิดความเข้าใจต่อไป
ทั้งนี้ สำนักโฆษก กรมประชาสัมพันธ์ได้ร่วมกันจัดสัมมนา “สื่อท้องถิ่นกับนโยบายรัฐบาล” ครั้งที่ 3 เมื่อวันเสาร์ที่ 24 กันยายน 2548 ณ โรงแรมสยามธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ) เป็นประธานการสัมมนาและชี้แจงสร้างความเข้าใจในนโยบายและการบริหารงานของรัฐบาลแก่สื่อมวลชนท้องถิ่น ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน 7 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช พังงา กระบี่ และภูเก็ต ซึ่งการจัดสัมมนาได้รับความร่วมมือจากโฆษกกระทรวง ผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ของกระทรวง รวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัด และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เข้าร่วมสัมมนาเพื่อร่วมชี้แจงและสร้างความเข้าใจในนโยบายของรัฐบาล โดยมีการถ่ายทอดการสัมมนาทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีโทรทัศน์กรมประชาสัมพันธ์ ช่อง 11 ให้ประชาชนในเขตพื้นที่ได้รับชม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ด้วย
ผลการจัดสัมมนา
การจัดสัมมนาภาคเช้า คณะโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้นำเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคใต้ตอนบนของรัฐบาล แก่สื่อมวลชนท้องถิ่น ต่อจากนั้นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีได้กล่าวเปิดการสัมมนาชี้แจงและสร้างความเข้าใจในนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งตอบข้อซักถามของสื่อมวลชน ซึ่งสรุปประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะของสื่อมวลชนได้ ดังนี้
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. อยากให้สื่อรัฐเปิดโอกาสให้สื่อท้องถิ่นมีช่วงเวลา 1. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ รัฐมนตรีประจำสำนัก
ได้นำเสนอรายการมากขึ้น เพราะว่าขณะนี้ นายกรัฐมนตรี รับทราบและจะนำเสนอ
สื่อภาครัฐยังให้โอกาสสื่อท้องถิ่นค่อนข้างน้อย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณา
เป็นไปได้หรือไม่ที่จะให้สวท. หรือ อสมท.
ลดอัตราค่าเช่าเวลาในส่วนที่จัดสรรให้สื่อท้องถิ่น
ให้ลดต่ำลง
2. ไม่เห็นด้วยกับการกำหนดกรอบ 30-30-15 2. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
เพราะจะเป็นข้อจำกัดขอบเขตการกระจายเสียง เจตนารมณ์วิทยุชุมชนต้องการให้สถานีวิทยุนั้น
รายการที่มีเนื้อหาสาระดี ๆ เป็นของชุมชน ไม่ได้หมายความว่ากำหนดให้
พื้นที่ของจังหวัดทั้งหมดเป็นชุมชน ถ้าอยากทำ
วิทยุจังหวัดก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง เพราะวิทยุชุมชน
มีเป้าหมาย การกระจายข่าวกันในชุมชน
ต้องแยกแยะเจตนารมณ์ให้ชัดเจน เพราะจะ
กลายเป็นปัญหาในการนำไปปฏิบัติ
3. ข้อจำกัดตามมาตรฐาน 30-30-15 อาจไม่ใช่ปัญหา 3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ถ้าวิทยุชุมชนใช้เครื่องที่มีมาตรฐานจริง ๆ จึงอยาก ยอมรับว่ามาตรฐาน 30-30-15 บางครั้ง
ให้รัฐบาลเข้ามาควบคุมและดูแลมาตรฐานของเครื่อง ไม่เหมาะสมไม่สอดคล้องกับพื้นที่และ
โดยการให้ข้อมูลว่าประชาชนสามารถหาซื้อเครื่อง ช่วงจังหวะเวลา ขณะที่เรื่องทางเทคนิค
ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานจากที่ใด ก็มีความซับซ้อนมากมีทั้งปัญหาเครื่องส่งและ
คลื่นที่ฟุ้งกระจาย บางครั้งส่งกระจายเสียง
เพียง 15 วัตต์ทำให้เกิดปัญหาคลื่นฟุ้งกระจาย
มากกว่าการส่งด้วยเครื่องที่ได้มาตรฐานส่ง
กำลังส่ง 30 วัตต์ ด้วยเหตุนี้ จึงเสนอตลอดมา
ว่าถ้าเรามาเรียนรู้ร่วมกันแล้ว เมื่อ กสช.
ตั้งขึ้นมาก็สามารถนำบทเรียนและแนวทางแก้
ปัญหาที่ได้มานำเสนอให้ กสช.พิจารณาได้
4. การให้โฆษณาในวิทยุชุมชน อยากให้กำหนดให้ชัดเจน 4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ว่าจะให้โฆษณาอะไรบ้าง การให้โฆษณาในวิทยุชุมชน ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
มีมติล่าสุดไม่เห็นด้วยที่จะให้มีโฆษณา แต่อนุโลม
ว่าถ้าจะมีโฆษณาก็ขอให้เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง
กับท้องถิ่น เช่น สินค้าโอท็อป เป็นต้น
5. ปัญหาที่ดิน อยากให้รัฐบาลกำหนดมาตรการและ 5 - 7. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ทำการศึกษาปัญหานี้อย่างจริงจัง เพราะขณะนี้ในพื้นที่ รับทราบและจะนำเสนอหน่วยงานที่รับผิดชอบ
จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีปัญหาเรื่องสิทธิในที่ดิน โดยปัญหา พิจารณา
การต่อสัญญาเช่าที่ดินเพื่อทำสวนปาล์มที่หมดอายุลง
ซึ่งมีข้อสังเกตว่าสาเหตุปัญหานี้น่าจะมาจากมาตรการ
และนโยบายของรัฐไม่มีความชัดเจน
6. กรณีรัฐบาลสนับสนุนการปลูกปาล์มเพื่อสนับสนุน
การผลิตไบโอดีเซลอาจมีผลกระทบทำลายระบบ
นิเวศวิทยา จึงอยากให้รัฐบาลให้ความสนใจดูแล
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
7. ปัญหาห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อ
ร้านค้าชุมชน รัฐบาลมีมาตรการแก้ปัญหาอย่างไร
8. เสนอให้รัฐบาลสนับสนุนรายการธรรมะมากขึ้น 8. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
โดยอยากให้เวลาช่วง 3 — 4 ทุ่มเป็นช่วงเวลา ในส่วนกรมประชาสัมพันธ์ ได้เสนอความเห็น
รายการธรรมะ กับอธิบดีไปหลายเรื่อง โดยเฉพาะการวางผัง
รายการให้เหมาะสมและให้โอกาสกับท้องถิ่น
มากขึ้น รวมถึงรายการศาสนาสำคัญ ๆ เรื่องนี้
จะมอบนโยบายให้กรมฯ ไปพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง
9. เสนอให้สถานศึกษาเชิญพระภิกษุสงฆ์ผู้มีความรู้ 9. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ด้านธรรมะเข้าไปทำการสอนนักเรียนนักศึกษา รับทราบข้อเสนอและจะนำเสนอผู้ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อเป็นการ กล่อมเกลาเยาวชนให้มีคุณธรรม พิจารณาต่อไป
ดีงาม
รัฐบาลอาจจัดให้มีโครงการหนึ่งวัดหนึ่งตำบล
เป็นการสนับสนุนให้พระสงฆ์ได้ทำหน้าที่หล่อหลอม
กล่อมเกลาชาวบ้านให้มีวิถีชีวิตจิตใจดีงาม
จังหวัดชุมพร
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. ปัญหาภาคใต้ การที่ข่าวสารที่สื่อฯ นำเสนอ 1 - 3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ถูกบิดเบือนเป็นเพราะ พ.ร.ก.บริหารราชการ รับทราบและจะนำเสนอผู้ที่เกี่ยวข้องพิจารณาต่อไป
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน เพราะทำให้สื่อมวลชน
เข้าถึงข้อมูลชาวบ้านได้ยากขึ้น
2. เรื่องเศรษฐกิจ ปัจจุบันคนในภาคใต้รู้สึกว่า
สภาพความอยู่ในภาวะที่เป็นไปในทิศทางที่ตรงข้าม
กับภาพที่รัฐบาลพยายามนำเสนอว่าเศรษฐกิจ
แข็งแรงดี โดยรู้สึกว่าสภาพความเป็นอยู่ของ
ตนเองยากจนลง มีภาระหนี้สินมากขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงโยกย้ายบุคคลที่เป็นผู้ว่าราชการ
จังหวัดบ่อยครั้งทำให้จังหวัดชุมพรมีปัญหาด้าน
การพัฒนาจังหวัด
4. ปัญหาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ 4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
มีข้อสังเกตว่ารัฐบาลไม่ได้เอาใจใส่ดูแลการ เรื่องนี้คงต้องมีการปฏิรูปทั้งระบบทั่วประเทศ
ทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจอย่างจริงจัง ซึ่งในเวลานี้ภายในองค์กรตำรวจได้มีการปรับปรุง
อยากทราบว่ารัฐบาลมีแนวทางปรับปรุงการทำงาน ในหลายเรื่อง โดยกระบวนการปฏิรูประบบราชการ
และให้ความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ตำรวจอย่างไรบ้าง ที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้ก็ยังคงมีอยู่ ตลอดเวลา
แต่ทั้งนี้บางเรื่องต้องใช้เวลาและความร่วมมือของ
ทุกฝ่ายในการช่วยกันสร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่
5. ขอทราบท่าทีของรัฐบาลเกี่ยวกับการตั้ง กสช. 5. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
เรื่อง กสช. รัฐบาลได้เรียกร้องให้วุฒิสภาเลือก
บุคคลที่จะเป็นกสช.ให้ครบทั้งคณะ เรื่องนี้รัฐบาลไม่
สามารถเข้าไป ยุ่งเกี่ยวหรือแทรกแซงได้ ถ้าการ
ดำเนินการคัดเลือกกสช.ยังไม่สมบูรณ์ถูกต้อง
ครบถ้วน การประชุมเพื่อให้มีมติในเรื่องใด ๆ
จะเกิดขึ้นไม่ได้ ซึ่งไม่สอดคล้องกับพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปมาก หวังว่าเมื่อกสช.และ
กทช.จัดทำแผนจัดสรรคลื่นความถี่และออกใบอนุญาต
แล้วทุกอย่างจะชัดเจน
นอกจากนี้ ตามที่ได้รับฟังปัญหามายังมีข้อเสนอเรื่อง
วิทยุท้องถิ่นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการพาณิชย์ ที่ตาม
กฎหมายหรือเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญไม่ได้รองรับ
ในเรื่องนี้ไว้ ประเด็นนี้จึงเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่รัฐบาล
ต้องการให้ กสช.เกิดขึ้นโดยเร็ว จะได้เข้ามา
วางกติกา
6. วิทยุชุมชนที่ตั้งขึ้นมาเป็นของชุมชนจริงหรือไม่ 6. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
รัฐบาลยังไม่สามารถจัดการกลุ่มทุนที่เข้ามาใช้ การควบคุมวิทยุชุมชน ชุมชนควรดูแลกันเอง
พื้นที่วิทยุชุมชนได้อย่างชัดเจน อีกทั้งค่าใช้จ่าย กรอบกติกา 30 — 30 — 15 นั้นในแง่หนึ่งเป็น
ในการทำวิทยุชุมชนค่อนข้างสูง รัฐบาลจะมีมาตรการ มาตรฐาน ที่หยาบมากๆ ไม่เหมาะสมกับข้อเท็จจริง
ให้ความช่วยเหลือเรื่องนี้อย่างไร อีกหลายอย่าง ในต่างประเทศ วิทยุชุมชนของเขามี
กำลังส่งเพียง 5-10 วัตต์ก็ถือเป็นวิทยุชุมชนแล้ว
เนื่องจากชุมชนไม่ได้มีอาณาเขตที่กว้างขวาง
ชุมชนที่อยู่ห่างไกลในหุบเขาสูงอาจไม่ต้องส่งกระจาย
เสียงด้วยกำลังส่งที่สูงนักก็ได้ ซึ่งถ้าวิทยุชุมชน
นั้นเป็นของชุมชนจริงจะไม่เกิดปัญหา
7. ต้องการให้รัฐบาลสนับสนุนรายการพระพุทธศาสนา 7. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
และรายการส่งเสริมธรรมะให้มากขึ้น รับทราบและจะนำไปพิจารณาต่อไป
ไม่เห็นด้วยกับการสั่งปิดวิทยุชุมชนโดยการให้ความเห็น
ว่าวิทยุเป็นสิ่งผิดกฎหมาย เพราะรัฐบาลได้ใช้วิทยุชุมชน
เป็นช่องทางสื่อสารในการแจ้งข่าวสารของส่วนราชการ
ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
จังหวัดระนอง
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. กรณีรัฐบาลมีหนังสือให้หน่วยงานราชการปรับลด 1. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
หรือตัดงบฯ ผูกพันที่ยังไม่มีการเบิกจ่ายลง โดย กรณีรัฐบาลมีหนังสือให้หน่วยงานราชการปรับลด
จังหวัดระนองถูกตัด งบฯ โครงการสร้างถนนหนทาง หรือตัดงบฯ ผูกพันที่ยังไม่มีการเบิกจ่ายลงมี
และ โครงการอื่นๆ ลงนั้น จังหวัดได้รับผลกระทบคือ 2 ประเด็น สำคัญคือประเด็นแรกงบฯ ดังกล่าว
มีปัญหาถนนหนทางไม่ดี จึงขอทราบว่าโครงการ ไม่ใช่งบฯ เงิน และส่วนที่เป็นปัญหานั้นเป็น
พัฒนาเสันทางคมนาคมในจังหวัดระนองจะมีการ เรื่องกรณีกรณีการขออนุมัติโครงการที่ไม่มี
ดำเนินการต่อไปหรือไม่ เมื่อใด ความพร้อมไม่สามารถเบิกจ่ายงบฯ ที่ขอไว้ได้
ประเด็นที่ 2 การอนุมัติโครงการในอนาคต
จะต้องมีการศึกษาพิจารณาดูทั้งระบบทั่วประเทศ
เพื่อความคุ้มค่าสูงสุด ทุกจังหวัดมีจุดแข็งของ
ตัวเอง จึงต้องดูและรู้ว่าจุดแข็งของจังหวัด
คืออะไร และจะพัฒนาต่อไปอย่างไร
สำหรับจังหวัดระนองที่ต้องการโครงการพัฒนา
เส้นทางคมนาคม จังหวัดต้องประเมินให้แน่ชัดว่า
โครงการจะให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่
ทั้งนี้ จังหวัดระนองมีจุดแข็งหลายจุด โดยเฉพาะ
ทรัพยากรธรรมชาติ มีทั้งบ่อน้ำร้อนน้ำพุร้อน
ธุรกิจสปา ซึ่งน่าจะเป็นจุดแข็งใน ส่วนถนนหนทาง
ที่ท่านเสนอมานั้นผมจะรับเรื่องไว้และประสานให้
กระทรวงที่เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป
2. อยากให้รัฐบาลสนับสนุนการนำเทคโนโลยี ADSL 2. นายดนุพร ปุณณกันต์ รองโฆษกประจำสำนัก
Internet มาใช้ในการรายงานข่าว เนื่องจาก นายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ประสบการณ์ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวพบว่ามีความสะดวก การสนับสนุนการใช้ ADSL Internet นั้น
และความรวดเร็วในการนำเสนอข่าวสาร นอกจากนี้ ขอรับเรื่องไว้และจะนำเรียนรัฐมนตรีประจำสำนัก
เอื้อต่อการเฝ้าระวังและติดตามผลการเตือนภัย นายกรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อนำเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
ประชาชนในจุดเกิด และมีประโยชน์ด้านการเผยแพร่ ต่อไป
ภาพสถานที่ท่องเที่ยวมากขึ้นด้วย
3. โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มเพื่อสนับสนุน 3. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
การผลิตไบโอดีเซล รัฐบาลมีการควบคุมพันธุ์ปาล์ม การสนับสนุนการปลูกปาล์ม นายกรัฐมนตรี
ในโครงการ อย่างไร หน่วยงานใดรับผิดชอบ ได้มอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และมีแนวทางสนับสนุนการผลิตการจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ กับกระทรวงพลังงานไปประสานงานในการดำเนิน-
ในพื้นที่ต่างจังหวัดอย่างไร การอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันปัญหาสินค้าล้นตลาด
ในภายหลัง โดยมอบให้กระทรวงทั้งสองไปดูแล
ควบคุมปริมาณการผลิต และส่งเสริมด้านการตลาด
มากขึ้น ทราบว่าขณะนี้ได้มีการเปิดปั๊มน้ำมันในส่วน
ของจังหวัดต่าง ๆ เพิ่มขึ้นแล้ว และในปี 2551
รัฐบาลตั้งเป้าหมายว่าจะเลิกการจำหน่ายน้ำมัน-
เบนซิน 95 ทั้งหมด
จังหวัดนครศรีธรรมราช
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. ปัญหาด้านเทคนิคของวิทยุชุมชน เสนอทาง 1. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
แก้ไขให้กำหนดให้ได้มาตรฐาน โดยกำหนดให้ การให้เสรีภาพสามารถทำได้ แต่ปัญหาคือทำอย่างไร
ชัดเจนว่าจะหาซื้อเครื่องส่งที่ได้มาตรฐานได้ที่ใดบ้าง จึงจะไม่เกิดปัญหาตามมา ส่วนปัญหาอื่น ๆ รับทราบ
ทั้งนี้ มีความเห็นว่าควรให้ความสำคัญใน
เสรีภาพการสื่อสาร และรัฐบาลควรให้ความสำคัญ
ในการจัดสรรรายการและเนื้อหาให้สอดคล้องกัน
ระหว่างรายการที่มุ่งหวังผลกำไรกับรายการที่เน้น
เนื้อหาสาระสร้างสรรค์
จังหวัดพังงา
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. ตามที่คณะรัฐมนตรีมีประชุมสัญจรอย่างเป็น 1. นายบรรเจิด สันสุวรรณหัวหน้ากลุ่มประชาสัมพันธ์
ทางการที่จังหวัดพังงา ได้มีมติให้อำเภอคุระบุรี (แทน โฆษกกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) ชี้แจง
เป็น Long Stay แต่ปัญหาคือประชาชนส่วนใหญ่ กิจกรรม Long Stay มีความหมายภาษาไทยว่าการ
ไม่เข้าใจความหมายของ Long Stay จึงอยาก พักอาศัยในช่วงเวลาที่ยาวนานขึ้นเพื่อสร้างมูลค่าการ
ให้ประชาสัมพันธ์จังหวัดเผยแพร่ข้อมูลเรื่องนี้มากขึ้น ท่องเที่ยว มีวัตถุ-ประสงค์ต้องการให้นักท่องเที่ยว
เข้ามาพักอยู่กับชาวบ้าน ทำความคุ้นเคยวิถีชีวิต
ชาวบ้าน โดยพยายามให้มีการจัดการของชุมชนมาก
ที่สุด โดยในส่วนของกระทรวงได้จัดตั้งบริษัท
Long Stay ขึ้นมาเป็นบริษัทลูกของการท่องเที่ยว
แห่งประเทศไทยซึ่งมีหน้าที่บริหารจัดการเกี่ยวกับ
Long Stay และมีข้อมูลเรื่องนี้ในเว็บไซต์
www.tat.or.th หรือสอบถามข้อมูลได้ที่หมายเลข
โทรศัพท์ 1672 นอกจากนี้ กระทรวงจะประชาสัมพันธ์
ข้อมูลเกี่ยวข้องให้กับสื่อท้องถิ่นในพื้นที่โดยละเอียด
อีกครั้งหนึ่ง
2. ปัญหาผู้ประสบภัยจากคลื่นสึนามิถล่มจังหวัด 2. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
แถบชายฝั่งทะเลอันดามัน ผู้เดือดร้อนที่อาศัย รับทราบและจะเสนอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อยู่บนเกาะพระทอง อำเภอคุระบุรี ยังคงมี เร่งดำเนินการต่อไป
ความเดือดร้อนและได้รับความเสียหายอย่างมาก
ขณะที่การนำเสนอข่าวสารสู่สาธารณะและการ
ให้ความช่วยเหลือยังมีค่อนข้างน้อย
3. จังหวัดพังงายังมีปัญหาเส้นทางหลบหนีภัยพิบัติ 3. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
คลื่นสึนามิ รวมถึงไม่มีจุดที่พักหลบภัยพิบัติ การพัฒนาเส้นทางหลบภัยพิบัติ รัฐบาลจะ
ดำเนินการสร้างอย่างเป็นระบบต่อไป ส่วนการ
เปิดศูนย์เตือนภัยสึนามิภายในวันที่ 26 ธันวาคมนี้
ส่วนหนึ่งเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนและ
นักท่องเที่ยวในความปลอดภัย
นายอนุวัฒน์ เมธีวิบูลวุฒิ ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
ชี้แจงการตั้งหอเตือนภัย ทางจังหวัดได้พยายาม
เร่งรัดในการก่อสร้างอย่างดีที่สุด โดยที่บ้านน้ำเค็ม
ได้เริ่มต้นสร้างขึ้นแล้ว และมั่นใจว่าอีกไม่เกิน
50 วันจะสร้างเสร็จสิ้น ส่วนที่เหลืออีกประมาณ
5 แห่งจะสร้างเสร็จภายหลังจากนั้นอีกประมาณ
2 อาทิตย์
เส้นทางหลบหนีภัย ทางจังหวัดได้วางแผนรองรับ
ในเบื้องต้นแล้ว ส่วนระยะยาวกำลังวางแผนดำเนิน
การต่อไป อย่างไรก็ตาม ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นมา
จากการเตือนภัยครั้งที่ผ่าน ๆ มาก่อนหน้านี้นั้น ทุกๆ
ครั้งทางจังหวัดได้ประกาศขอโทษและชี้แจงถึงความ
จำเป็นที่รัฐบาลและจังหวัดต้องมีการแจ้งเตือนเพื่อให้
ประชาชนได้รับทราบ เพราะหากเกิดเหตุภัยพิบัติขึ้น
ทางการไม่ต้องการให้เกิดความสูญเสียใด ๆ
ขึ้นมาอีก
4. อยากให้ตรวจสอบการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
เงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยคลื่นสึนามิ เนื่องจาก รับทราบ และจะนำเรียนถึงรัฐมนตรีประจำ
สงสัยว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจยักยอก สำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณา
เงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ เพราะยังมี
ผู้เดือดร้อนหลายรายยังไม่ได้ความช่วยเหลือ
5. อยากให้รัฐบาลดูแลความปลอดภัยของผู้สื่อข่าว 5. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
และสื่อมวลชนทุกคนจากการข่มขู่คุกคามทุกรูปแบบ รับทราบ และจะนำเรียนถึงรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณา
จังหวัดกระบี่
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. ขอทราบความคืบหน้าการให้ความช่วยเหลือ 1. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ผู้ประสบภัยสึนามิ และความคืบหน้าการสร้าง การสร้างหอเตือนภัยสึนามิระดับชาติทั้ง 62 จุด
ศูนย์เตือนภัย มีการกำหนดแบบไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่
ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าภายใน
เดือนพฤศจิกายนนี้จะดำเนินการเสร็จสิ้น
ส่วนอีกระบบคือระบบท้องถิ่น ซึ่งในจังหวัดกระบี่
สร้างเสร็จสิ้นแล้วทุกจุด ส่วนภูเก็ตและพังงา กำลัง
พิจารณาเรื่องงบประมาณอยู่ โดยการก่อสร้างจะมี
ลักษณะเป็นหอกระจายข่าวแบบเดียวกับที่จังหวัดกระบี่
หอจะทำหน้าที่เป็นตัวกระจายข่าวและส่งสัญญาณ
เตือนภัยไปในเวลาเดียวกัน
นอกจากนี้ ยังมีการตั้งป้ายบอกเส้นทางหนีภัย
หรือจุดที่น้ำขึ้นสูงสุด ซึ่งเชื่อว่าระบบทั้งหมดจะ
สามารถเตือนภัยได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
ส่วนกลางปีหน้าคาดว่าการวางทุ่นในทะเลจะ
ดำเนินการได้ครบถ้วน
ขณะที่การให้ความช่วยเหลือ คณะกรรมการที่
เกี่ยวข้องกำลังมีการประชุมหารือกันเพื่อสำรวจ
รายชื่อและให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน
แต่ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือดูแล
นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท ผู้แทนกระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ (แทน โฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ)
ชี้แจง
กระทรวงให้ความสำคัญในการให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยคลื่นสึนามิโดยการสร้างบ้านมั่นคงให้
2. ต้องการให้รัฐบาลสนับสนุนหอกระจายข่าว 2. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ชุมชนเป็นทางเลือกการสื่อสารภายในชุมชน หอกระจายข่าว มีโอกาสประชุมร่วมกับ
อีกทางหนึ่ง อีกทั้งจากประสบการณ์ทำงานใน ประชาชนในหลายพื้นที่ที่ให้ความสนใจในเรื่องนี้
ช่วงที่เกิดภัยพิบัติคลื่นสึนามิถล่มครั้งที่ผ่านมาพบว่า ซึ่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีได้แนะนำ
สื่อสมัครเล่นนักวิทยุสมัครเล่นสามารถให้ความ ให้พื้นที่นั้นๆ โดยเสนอให้ปรึกษาองค์กรปกครอง
ช่วยเหลือในการให้ข่าวสารกับประชาชนทั่วไป ส่วนท้องถิ่นดูว่าจะสามารถดูแลและให้ความช่วย
และแก่ทางราชการได้มาก จึงอยากให้มีการ เหลือได้อย่างไรบ้าง ซึ่งเข้าใจว่าจังหวัดแต่ละจังหวัด
พัฒนาสื่อภาคประชาชนกลุ่มนี้ให้เป็นรูปแบบมาก พอจะมีความช่วยเหลือสนับสนุนให้อยู่แล้ว
ขึ้นด้วย
นายไมตรี บุญยัง รองผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
(แทน ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่) ชี้แจง
สำหรับพื้นที่ประสบภัยสึนามิ ทางจังหวัดยังคงมี
งบฯ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติที่สามารถ
(ยังมีต่อ)

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ