ใช้สนับสนุนการสร้างหอกระจายข่าวได้ และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดยังสามารถให้ความ
สนับสนุนเพิ่มเติมได้อีกบางส่วน อย่างไรก็ตาม
การตั้งหอกระจายข่าวในบางพื้นที่ต้องรอการวาง
ระบบที่ชัดเจน เพื่อไม่ให้รบกวนสัญญาณเตือนภัย
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติที่จะเกิดขึ้นมา
3. ขอให้รัฐบาลพิจารณาสร้างสะพานทะเล 3. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
เชื่อมชายฝั่งกับ เกาะลันตา รับทราบ และจะนำเรียนถึงรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณา
จังหวัดภูเก็ต
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดน 1. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ภาคใต้มีปัญหาความไม่เข้าใจและความไม่ไว้ การเผยแพร่ข่าวสารเพื่อสร้างความเข้าใจ
วางใจของคนในพื้นที่กับ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
ควรขอความร่วมมือจากโทรทัศน์ทุกช่องให้มี รัฐบาลและหน่วยงานรัฐได้ดำเนินการมาตลอด
รายการพิเศษรวมการเฉพาะกิจนำเสนอ แต่การจะให้เผยแพร่ออกเป็นทีวีพูลนั้นอาจสร้างความ
รายงานข่าวสาร และสาระที่จะสร้างความเข้าใจ เข้าใจผิดได้ว่ารัฐบาลพยายามนำเสนอข่าวสารจาก
ที่ถูกต้องตรงกันระหว่างประชาชนในพื้นที่และ มุมมองของรัฐเท่านั้น ส่วนการนำเสนอของ
ประชาชนทั่วประเทศ และระหว่างประชาชนใน สื่อต่าง ๆ ซึ่งแม้จะมีความแตกต่างกันบ้าง แต่ก็เชื่อว่า
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ สื่อทุกส่วนมีความตั้งใจดีและมุ่งหวังให้สันติสุขเกิดขึ้น
ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อย่างไรก็ตามหากมี
เหตุการณ์ความรุนแรงร้ายแรงเกิดขึ้นก็คงจะมีการ
ร่วมกันตรงส่วนนี้ได้
2. ขอทราบการดูแลวิทยุชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัด 2. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ชายแดนภาคใต้ วิทยุชุมชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ความ
จริงได้รับความร่วมมืออยู่บ้าง แต่บางครั้งจำเป็น
ต้องตรวจสอบเป็นพิเศษ เนื่องจากบางจุดมีปัญหา
ด้านความมั่นคงซึ่งอาจไม่ใช่ปัญหาความไม่สงบ
ที่เกิดขึ้น แต่เป็นเรื่องการค้ายาเสพติดหรือสินค้า
เถื่อน เป็นต้น
3. ศูนย์เตือนภัยแห่งชาติ ขอให้เตือนอย่างเป็น 3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ระบบและมีประสิทธิภาพ ให้มีความแม่นตรงมากขึ้น การเตือนภัยของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
ขณะนี้กำลังเรียนรู้ในเรื่องการเตือนภัยว่าควร
ทำอย่างไรเพื่อให้การเตือนภัยมีประสิทธิภาพ
ส่วนหนึ่งต้องให้โอกาสกับคนที่ทำงาน ส่วนด้าน
เทคโนโลยีจะมีการปรับเปลี่ยนโดยการใช้เครื่องที่มี
ความสามารถและทันสมัยมากขึ้น จะมีการเก็บบันทึก
ข้อมูลด้านสถิติเพื่อให้การแจ้งเตือนมีความผิดพลาด
น้อยลง
4. การบริหารแบบบูรณาการ อยากให้ขยายไป 4 - 5. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ถึงระดับอำเภอ โดยเรื่องใดที่อำเภอสามารถ รับทราบและจะนำเสนอผู้ที่เกี่ยวข้องพิจารณา
แก้ไขได้เองควรให้เป็นอำนาจของนายอำเภอ
ในการจัดการปัญหา
5. เสนอให้รัฐบาลพิจารณาและปรับกฎหมายให้
เหมาะสมกับยุทธศาสตร์จังหวัด เนื่องจากกฎหมาย
บางอย่างเป็นอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาจังหวัด
ตามยุทธศาสตร์ เช่นในจังหวัดภูเก็ต กฎหมาย
กำหนดเวลาปิด-เปิดสถานบริการสถานบันเทิงเป็น
อุปสรรคขัดขวางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัด
จึงอยากให้รัฐบาลพิจารณาการออกกฎหมายให้
เหมาะสมกับพื้นที่และยุทธศาสตร์ของพื้นที่
ในประเด็นข้อซักถามเหล่านี้ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ ได้ตอบ คำถามและชี้แจงข้อสงสัยแก่สื่อมวลชนแล้ว ส่วนบางปัญหาที่จะต้องดำเนินการต่อไปนั้น รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีจะนำเสนอต่อครม.เพื่อทราบและมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป
การสัมมนาภาคบ่าย เป็นการสัมมนากลุ่มย่อยเรื่อง การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสื่อมวลชนท้องถิ่น จำนวน 8 กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานระหว่างสื่อมวลชนกับภาครัฐ รวมทั้งหาแนวทางให้สื่อท้องถิ่นสามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของภาครัฐได้มากขึ้น ซึ่งจะทำให้ประชาชนได้รับทราบและเข้าใจการดำเนินงานของรัฐบาลได้ดียิ่งขึ้นตามไปด้วย ผลการสัมมนากลุ่มย่อยสรุปได้ ดังนี้
1. สื่อท้องถิ่นขาดโอกาสการนำเสนอปัญหาของท้องถิ่นถึงรัฐบาล
2. ควรให้ความสำคัญแก่สื่อมวลชนท้องถิ่นเท่าเทียมกับสื่อฯ ส่วนกลาง
3. การติดต่อสื่อสารระหว่างท้องถิ่นและส่วนกลางยังเป็นการติดต่อสื่อสารทางเดียว ควรมีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานเพื่อเป็นช่องทางสื่อสารแลกเปลี่ยนระหว่างรัฐกับสื่อ และพัฒนาช่องทางการสื่อสาร 2 ทาง
4. ต้องการให้รัฐบาลจัดการถ่ายทอดสดผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนท์รายการนายกฯ พบสื่อ ประจำวันพฤหัสบดีไปยังภูมิภาคต่างๆ เพื่อให้ภูมิภาคได้มีโอกาสนำเสนอปัญหาถึงรัฐบาลโดยตรง
5. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารภาครัฐยังไม่ทั่วถึง ส่วนราชการให้ข่าวไม่ชัดเจน และไม่ให้ความสำคัญกับสื่อท้องถิ่น
6. ต้องการให้ปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ภาครัฐในเชิงรุกมากขึ้น
7. ต้องการให้รัฐบาลตั้งห้องข่าวส่วนกลาง เพื่อรับข่าวสารจากสื่อมวลชนส่วนท้องถิ่น และส่งข่าวส่วนกลางให้กับท้องถิ่นโดยไม่คิดมูลค่า
8. ควรปรับปรุงสื่อไอที เว็บไซต์ และข้อมูลของภาครัฐให้ทันสมัย และให้มีอีเมลล์รับส่งข่าวสารที่ถูกต้องและทันสถานการณ์
9. ผู้ว่าราชการจังหวัดและหัวหน้าประชาสัมพันธ์จังหวัดควรพบสื่อมวลชนอย่างน้อย 2 ครั้งต่อเดือน
10. กรณีเกิดวิกฤตการณ์ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดกำหนดตัวผู้ให้ข้อมูลข่าวสารให้ชัดเจน
11.หัวหน้าส่วนราชการต้องมีความเข้าใจในเรื่องการประชาสัมพันธ์และมีทัศนคติที่ดีกับสื่อมวลชน
12.ควรคัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถเป็นประชาสัมพันธ์จังหวัด
13.ให้ส่วนราชการจัดสถานที่สำหรับผู้สื่อข่าว พร้อมเครื่องมืออุปกรณ์
14.ต้องการให้ส่วนราชการจัดทำทำเนียบสื่อ โดยระบุชื่อ ที่อยู่ อีเมลล์ และเว็บไซต์ให้ชัดเจน เป็นปัจจุบัน
15.สื่อท้องถิ่นขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ ต้องการให้รัฐสนับสนุนวิชาชีพสื่อตามสมควร
16. เสนอให้สถาบันการศึกษาของภาครัฐจัดอบรม สัมมนา และพาไปดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพของสื่อท้องถิ่นอย่างทั่วถึง
17. อยากให้มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการเขียนข่าว เสนอข่าว รวมถึงการส่งภาพข่าวผ่านอีเมลล์
18.สื่อมวลชนยังขาดจรรยาบรรณการประกอบวิชาชีพ สื่อมวลชนจะต้องมีจรรยาบรรณและความกระตือรือร้นในการหาข่าว
19. การทำข่าวกรณีที่มีการร้องเรียนของส่วนราชการ สื่อไม่ได้รับความร่วมมือจากส่วนราชการในการเข้าไปตรวจสอบ และถูกมองว่าเข้าไปทำข่าวในเชิงโจมตี
20.ขอให้รัฐเข้ามาดูแลปัญหาสื่อมวลชนถูกคุกคาม และอยากให้มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของสื่อฯ
21.สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประจำจังหวัดควรทำปฏิทินรายการข่าวประจำวัน
22.อัตราราคาการเช่าคลื่นวิทยุสูงมาก ทำให้ผู้จัดรายการสร้างสรรค์ไม่สามารถเช่าคลื่นวิทยุได้
23.มาตรฐานทางเทคนิคการส่งกระจายเสียงของวิทยุชุมชนตามกรอบ 30-30-15 เป็นข้อปัญหาการส่งกระจายเสียงวิทยุชุมชนไม่ครอบคลุมพื้นที่ชุมชนทั้งหมด จึงต้องการให้อนุโลมการใช้กรอบ 30-30-15 ให้เหมาะสมตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่
24.ขอให้ตรวจสอบเครื่องส่งกระจายเสียงวิทยุชุมชนให้มีมาตรฐานเดียวกัน
การประเมินผลการสัมมนา
1. ผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งสิ้น จำนวน 370 คน แบ่งเป็นสื่อมวลชนท้องถิ่น 175 คน โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง 22 คน ผู้ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ของกระทรวง 16 คน ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้แทนผู้ว่าราชการจังหวัด 5 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 คน กรมประชาสัมพันธ์ 61 คน สำนักโฆษก 31 คน ผู้ติดตามและผู้สังเกตการณ์ 50 คน และยุวโฆษกรุ่นที่1 7 คน
2. การสำรวจความคิดเห็นของสื่อมวลชนต่อการจัดสัมมนา จากการสำรวจโดยให้สื่อมวลชนท้องถิ่น ตอบแบบสอบถาม พบว่า
- ความเห็นต่อการสัมมนา สื่อมวลชนเห็นว่าการเข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ได้รับประโยชน์มาก เพราะได้รับทราบนโยบายของรัฐบาลและแนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยตรงจากผู้รับผิดชอบ มีโอกาสนำเสนอความต้องการและข้อเท็จจริงของปัญหาต่าง ๆ ในพื้นที่ ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าการดำเนินโครงการ ต่าง ๆ อย่างชัดเจน ได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปัญหาและอุปสรรค และแนวทางในการแก้ปัญหาของสื่อท้องถิ่น เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป อีกทั้งยังได้รับทราบช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐมากขึ้น
ทั้งนี้ สื่อมวลชนเห็นว่าสิ่งที่ได้รับจากการสัมมนาในครั้งนี้มากที่สุดคือ สามารถสะท้อนปัญหาให้รัฐบาลได้รับทราบ และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน
3. ข้อเสนอแนะของสื่อมวลชน ต้องการให้รัฐบาลจัดสัมมนาสื่อท้องถิ่นปีละ 2 ครั้ง เพื่อทราบสถานการณ์และความคืบหน้าในเรื่องต่าง ๆ และเห็นว่าควรให้เวลาในส่วนของการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายของรัฐบาลมากขึ้น รวมทั้งควรให้ผู้แทนกระทรวงต่าง ๆ เข้าร่วมการสัมมนามากขึ้น เพราะจะเป็นประโยชน์ทั้งภาครัฐและสื่อมวลชนที่เดินทางมาร่วมสัมมนา
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 10 มกราคม 2549--จบ--
ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดยังสามารถให้ความ
สนับสนุนเพิ่มเติมได้อีกบางส่วน อย่างไรก็ตาม
การตั้งหอกระจายข่าวในบางพื้นที่ต้องรอการวาง
ระบบที่ชัดเจน เพื่อไม่ให้รบกวนสัญญาณเตือนภัย
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติที่จะเกิดขึ้นมา
3. ขอให้รัฐบาลพิจารณาสร้างสะพานทะเล 3. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
เชื่อมชายฝั่งกับ เกาะลันตา รับทราบ และจะนำเรียนถึงรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณา
จังหวัดภูเก็ต
คำถาม/ข้อคิดเห็น คำตอบ/ชี้แจง
1. ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดน 1. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ภาคใต้มีปัญหาความไม่เข้าใจและความไม่ไว้ การเผยแพร่ข่าวสารเพื่อสร้างความเข้าใจ
วางใจของคนในพื้นที่กับ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
ควรขอความร่วมมือจากโทรทัศน์ทุกช่องให้มี รัฐบาลและหน่วยงานรัฐได้ดำเนินการมาตลอด
รายการพิเศษรวมการเฉพาะกิจนำเสนอ แต่การจะให้เผยแพร่ออกเป็นทีวีพูลนั้นอาจสร้างความ
รายงานข่าวสาร และสาระที่จะสร้างความเข้าใจ เข้าใจผิดได้ว่ารัฐบาลพยายามนำเสนอข่าวสารจาก
ที่ถูกต้องตรงกันระหว่างประชาชนในพื้นที่และ มุมมองของรัฐเท่านั้น ส่วนการนำเสนอของ
ประชาชนทั่วประเทศ และระหว่างประชาชนใน สื่อต่าง ๆ ซึ่งแม้จะมีความแตกต่างกันบ้าง แต่ก็เชื่อว่า
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ สื่อทุกส่วนมีความตั้งใจดีและมุ่งหวังให้สันติสุขเกิดขึ้น
ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อย่างไรก็ตามหากมี
เหตุการณ์ความรุนแรงร้ายแรงเกิดขึ้นก็คงจะมีการ
ร่วมกันตรงส่วนนี้ได้
2. ขอทราบการดูแลวิทยุชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัด 2. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ชายแดนภาคใต้ วิทยุชุมชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ความ
จริงได้รับความร่วมมืออยู่บ้าง แต่บางครั้งจำเป็น
ต้องตรวจสอบเป็นพิเศษ เนื่องจากบางจุดมีปัญหา
ด้านความมั่นคงซึ่งอาจไม่ใช่ปัญหาความไม่สงบ
ที่เกิดขึ้น แต่เป็นเรื่องการค้ายาเสพติดหรือสินค้า
เถื่อน เป็นต้น
3. ศูนย์เตือนภัยแห่งชาติ ขอให้เตือนอย่างเป็น 3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจง
ระบบและมีประสิทธิภาพ ให้มีความแม่นตรงมากขึ้น การเตือนภัยของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
ขณะนี้กำลังเรียนรู้ในเรื่องการเตือนภัยว่าควร
ทำอย่างไรเพื่อให้การเตือนภัยมีประสิทธิภาพ
ส่วนหนึ่งต้องให้โอกาสกับคนที่ทำงาน ส่วนด้าน
เทคโนโลยีจะมีการปรับเปลี่ยนโดยการใช้เครื่องที่มี
ความสามารถและทันสมัยมากขึ้น จะมีการเก็บบันทึก
ข้อมูลด้านสถิติเพื่อให้การแจ้งเตือนมีความผิดพลาด
น้อยลง
4. การบริหารแบบบูรณาการ อยากให้ขยายไป 4 - 5. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ถึงระดับอำเภอ โดยเรื่องใดที่อำเภอสามารถ รับทราบและจะนำเสนอผู้ที่เกี่ยวข้องพิจารณา
แก้ไขได้เองควรให้เป็นอำนาจของนายอำเภอ
ในการจัดการปัญหา
5. เสนอให้รัฐบาลพิจารณาและปรับกฎหมายให้
เหมาะสมกับยุทธศาสตร์จังหวัด เนื่องจากกฎหมาย
บางอย่างเป็นอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาจังหวัด
ตามยุทธศาสตร์ เช่นในจังหวัดภูเก็ต กฎหมาย
กำหนดเวลาปิด-เปิดสถานบริการสถานบันเทิงเป็น
อุปสรรคขัดขวางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัด
จึงอยากให้รัฐบาลพิจารณาการออกกฎหมายให้
เหมาะสมกับพื้นที่และยุทธศาสตร์ของพื้นที่
ในประเด็นข้อซักถามเหล่านี้ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ ได้ตอบ คำถามและชี้แจงข้อสงสัยแก่สื่อมวลชนแล้ว ส่วนบางปัญหาที่จะต้องดำเนินการต่อไปนั้น รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีจะนำเสนอต่อครม.เพื่อทราบและมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป
การสัมมนาภาคบ่าย เป็นการสัมมนากลุ่มย่อยเรื่อง การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสื่อมวลชนท้องถิ่น จำนวน 8 กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานระหว่างสื่อมวลชนกับภาครัฐ รวมทั้งหาแนวทางให้สื่อท้องถิ่นสามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของภาครัฐได้มากขึ้น ซึ่งจะทำให้ประชาชนได้รับทราบและเข้าใจการดำเนินงานของรัฐบาลได้ดียิ่งขึ้นตามไปด้วย ผลการสัมมนากลุ่มย่อยสรุปได้ ดังนี้
1. สื่อท้องถิ่นขาดโอกาสการนำเสนอปัญหาของท้องถิ่นถึงรัฐบาล
2. ควรให้ความสำคัญแก่สื่อมวลชนท้องถิ่นเท่าเทียมกับสื่อฯ ส่วนกลาง
3. การติดต่อสื่อสารระหว่างท้องถิ่นและส่วนกลางยังเป็นการติดต่อสื่อสารทางเดียว ควรมีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานเพื่อเป็นช่องทางสื่อสารแลกเปลี่ยนระหว่างรัฐกับสื่อ และพัฒนาช่องทางการสื่อสาร 2 ทาง
4. ต้องการให้รัฐบาลจัดการถ่ายทอดสดผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนท์รายการนายกฯ พบสื่อ ประจำวันพฤหัสบดีไปยังภูมิภาคต่างๆ เพื่อให้ภูมิภาคได้มีโอกาสนำเสนอปัญหาถึงรัฐบาลโดยตรง
5. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารภาครัฐยังไม่ทั่วถึง ส่วนราชการให้ข่าวไม่ชัดเจน และไม่ให้ความสำคัญกับสื่อท้องถิ่น
6. ต้องการให้ปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ภาครัฐในเชิงรุกมากขึ้น
7. ต้องการให้รัฐบาลตั้งห้องข่าวส่วนกลาง เพื่อรับข่าวสารจากสื่อมวลชนส่วนท้องถิ่น และส่งข่าวส่วนกลางให้กับท้องถิ่นโดยไม่คิดมูลค่า
8. ควรปรับปรุงสื่อไอที เว็บไซต์ และข้อมูลของภาครัฐให้ทันสมัย และให้มีอีเมลล์รับส่งข่าวสารที่ถูกต้องและทันสถานการณ์
9. ผู้ว่าราชการจังหวัดและหัวหน้าประชาสัมพันธ์จังหวัดควรพบสื่อมวลชนอย่างน้อย 2 ครั้งต่อเดือน
10. กรณีเกิดวิกฤตการณ์ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดกำหนดตัวผู้ให้ข้อมูลข่าวสารให้ชัดเจน
11.หัวหน้าส่วนราชการต้องมีความเข้าใจในเรื่องการประชาสัมพันธ์และมีทัศนคติที่ดีกับสื่อมวลชน
12.ควรคัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถเป็นประชาสัมพันธ์จังหวัด
13.ให้ส่วนราชการจัดสถานที่สำหรับผู้สื่อข่าว พร้อมเครื่องมืออุปกรณ์
14.ต้องการให้ส่วนราชการจัดทำทำเนียบสื่อ โดยระบุชื่อ ที่อยู่ อีเมลล์ และเว็บไซต์ให้ชัดเจน เป็นปัจจุบัน
15.สื่อท้องถิ่นขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ ต้องการให้รัฐสนับสนุนวิชาชีพสื่อตามสมควร
16. เสนอให้สถาบันการศึกษาของภาครัฐจัดอบรม สัมมนา และพาไปดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพของสื่อท้องถิ่นอย่างทั่วถึง
17. อยากให้มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการเขียนข่าว เสนอข่าว รวมถึงการส่งภาพข่าวผ่านอีเมลล์
18.สื่อมวลชนยังขาดจรรยาบรรณการประกอบวิชาชีพ สื่อมวลชนจะต้องมีจรรยาบรรณและความกระตือรือร้นในการหาข่าว
19. การทำข่าวกรณีที่มีการร้องเรียนของส่วนราชการ สื่อไม่ได้รับความร่วมมือจากส่วนราชการในการเข้าไปตรวจสอบ และถูกมองว่าเข้าไปทำข่าวในเชิงโจมตี
20.ขอให้รัฐเข้ามาดูแลปัญหาสื่อมวลชนถูกคุกคาม และอยากให้มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของสื่อฯ
21.สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประจำจังหวัดควรทำปฏิทินรายการข่าวประจำวัน
22.อัตราราคาการเช่าคลื่นวิทยุสูงมาก ทำให้ผู้จัดรายการสร้างสรรค์ไม่สามารถเช่าคลื่นวิทยุได้
23.มาตรฐานทางเทคนิคการส่งกระจายเสียงของวิทยุชุมชนตามกรอบ 30-30-15 เป็นข้อปัญหาการส่งกระจายเสียงวิทยุชุมชนไม่ครอบคลุมพื้นที่ชุมชนทั้งหมด จึงต้องการให้อนุโลมการใช้กรอบ 30-30-15 ให้เหมาะสมตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่
24.ขอให้ตรวจสอบเครื่องส่งกระจายเสียงวิทยุชุมชนให้มีมาตรฐานเดียวกัน
การประเมินผลการสัมมนา
1. ผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งสิ้น จำนวน 370 คน แบ่งเป็นสื่อมวลชนท้องถิ่น 175 คน โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง 22 คน ผู้ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ของกระทรวง 16 คน ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้แทนผู้ว่าราชการจังหวัด 5 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 คน กรมประชาสัมพันธ์ 61 คน สำนักโฆษก 31 คน ผู้ติดตามและผู้สังเกตการณ์ 50 คน และยุวโฆษกรุ่นที่1 7 คน
2. การสำรวจความคิดเห็นของสื่อมวลชนต่อการจัดสัมมนา จากการสำรวจโดยให้สื่อมวลชนท้องถิ่น ตอบแบบสอบถาม พบว่า
- ความเห็นต่อการสัมมนา สื่อมวลชนเห็นว่าการเข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ได้รับประโยชน์มาก เพราะได้รับทราบนโยบายของรัฐบาลและแนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยตรงจากผู้รับผิดชอบ มีโอกาสนำเสนอความต้องการและข้อเท็จจริงของปัญหาต่าง ๆ ในพื้นที่ ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าการดำเนินโครงการ ต่าง ๆ อย่างชัดเจน ได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปัญหาและอุปสรรค และแนวทางในการแก้ปัญหาของสื่อท้องถิ่น เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป อีกทั้งยังได้รับทราบช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐมากขึ้น
ทั้งนี้ สื่อมวลชนเห็นว่าสิ่งที่ได้รับจากการสัมมนาในครั้งนี้มากที่สุดคือ สามารถสะท้อนปัญหาให้รัฐบาลได้รับทราบ และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน
3. ข้อเสนอแนะของสื่อมวลชน ต้องการให้รัฐบาลจัดสัมมนาสื่อท้องถิ่นปีละ 2 ครั้ง เพื่อทราบสถานการณ์และความคืบหน้าในเรื่องต่าง ๆ และเห็นว่าควรให้เวลาในส่วนของการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายของรัฐบาลมากขึ้น รวมทั้งควรให้ผู้แทนกระทรวงต่าง ๆ เข้าร่วมการสัมมนามากขึ้น เพราะจะเป็นประโยชน์ทั้งภาครัฐและสื่อมวลชนที่เดินทางมาร่วมสัมมนา
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 10 มกราคม 2549--จบ--