เรื่อง ผลการดำเนินงานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 — 30 กันยายน 2551)
และปีงบประมาณ 2552 (1 ตุลาคม — 31 ธันวาคม 2551)
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เสนอรายงานผลการดำเนินงานการสร้างหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 — 30 กันยายน 2551) และปีงบประมาณ 2552 (1 ตุลาคม — 31 ธันวาคม 2551) ซึ่งมีสาระ สำคัญสรุปได้ ดังนี้
ปีงบประมาณ 2551 ปีงบประมาณ 2552 (1 ตุลาคม 2550 — 30 กันยายน 2551) ไตรมาสที่ 1(1 ตุลาคม — 31 ธันวาคม 2551) 1.ความครอบคลุมสิทธิหลักประกันสุขภาพ และการใช้บริการทางการแพทย์ - คนไทยมีหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นครอบคลุมผู้มีสิทธิ 62.02 ล้านคน - คนไทยมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุมผู้มีสิทธิ 62.02 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 99.16 ของประชากรทั้งประเทศ (62.55 ล้านคน) คิดเป็นร้อยละ 98.97 ของประชากรทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2550 ร้อยละ 0.41 (62.66 ล้านคน) - ประชากรที่ลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 46.95 ล้านคน - ประชากรที่ลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 47.02 ล้านคน - ประชากรที่มีสิทธิว่างซึ่งรอการตรวจสอบสิทธิมี 522,352 คน - ประชากรที่มีสิทธิว่างซึ่งรอการตรวจสอบสิทธิมี 644,217 คน ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 32.97 - จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ลงทะเบียนมี 179,371 ราย - จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ลงทะเบียนรายใหม่ เป็นสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 35,230 ราย (ร้อยละ 83.22 8,728 ราย เป็นสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 7,333 ราย
(ร้อยละ 83.50) - การใช้บริการเฉพาะผู้มีสิทธิมีจำนวนผู้ป่วยนอก 128.95 ล้านครั้ง/ 38.06 ล้านคน อัตราการใช้บริการ 2.75 ครั้ง/คน/ปี มีจำนวน ผู้ป่วยใน 4.76 ล้านคน/18.71 ล้านวัน อัตราการใช้บริการ 0.10 ครั้ง/คน/ปี - บริการการแพทย์ฉุกเฉินมีอัตรา 1,196.98 ต่อแสนประชากร เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ร้อยละ 195.94 2. การควบคุมคุณภาพและกำกับมาตรฐานบริการ
- การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาล ณ 10 กันยายน 2551 - เป้าหมายการพัฒนา/ปรับปรุงแนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขและ หน่วยบริการได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน Hospital Protocal 9 เรื่อง ได้แก่ ข้อเข่าเสื่อม โรคปอดอุดกั้น Accreditation (HA) จำนวน 946 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.24 เรื้อรัง ฯลฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ร้อยละ 14.36 - ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของ - ได้ร่วมกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.) 2 ประชาชนและบุคลากรในหน่วยบริการปี 2551 พบว่า ประชาชนมีความ โครงการ คือ โครงการสนับสนุนคุณภาพการบริการด้วยกิจกรรม พึงพอใจร้อยละ 88.37 ของประชาชนที่เคยใช้บริการ คุณภาพ และโครงการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบยา ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2550 3. การคุ้มครองสิทธิ การช่วยเหลือเบื้องต้น และการประชาสัมพันธ์ - ให้บริการทั้งสิ้น 875,661 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการให้ข้อมูล - ให้บริการทั้งสิ้น 182,449 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องสอบถาม ร้อยละ 97.39 ร้อยละ 97.21 - เรื่องร้องเรียนดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 30 วันทำการ ร้อยละ - เรื่องร้องเรียนดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 30 วันทำการ 90.54 ส่วนเรื่องร้องทุกข์ดำเนินการแล้วเสร็จร้อยละ 98.52 ร้อยละ 95.06 ส่วนเรื่องร้องทุกข์ดำเนินการแล้วเสร็จร้อยละ
95.43 - เห็นชอบการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น 550 ราย เป็นเงิน 64.86 - เห็นชอบการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น 170 ราย เป็นเงิน 17.50
ล้านบาท (เพิ่มจากปี 2550 ร้อยละ 24.02) ล้านบาท - มีศูนย์ประสานการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุและเจ็บป่วยฉุกเฉิน โดยได้รับ เรื่องประสานการส่งต่อผู้ป่วย 3,910 ราย สามารถประสานการ ส่งต่อได้ร้อยละ 96.42 4. การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคี - ดำเนินการตามนโยบายสาธารณะกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น มี อบต./ - เทศบาล ร่วมดำเนินการเป็นพื้นที่ใหม่ 1,750 แห่ง รวมทั้งสิ้น 2,689 แห่ง - มีเครือข่ายองค์กรประชาชนที่ดำเนินงานอาสาสมัครดูแลผู้ป่วย/ผู้พิการ ร่วมกับหน่วยงานบริการ 5 เครือข่าย 5. การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ - มีการใช้เงินกองทุนฯ รวม 68,919.08 ล้านบาท (ร้อยละ 89.73) - ได้รับจัดสรรงบประมาณในอัตราเหมาจ่าย 2,202 บาท ของงบประมาณทั้งหมดจำนวน 76,808.91 ล้านบาท ต่อประชากร สำหรับประชากรผู้มีสิทธิ 47.026 ล้านคน
โดยมีงบช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการเพิ่มขึ้นจากปี 2551
ร้อยละ 4.86
- ในภาพรวมเบิกจ่ายจากงบกองทุนฯ ร้อยละ 11.71 จาก
งบประมาณที่ได้รับ 80,597.69 ล้านบาท 6. ผลงานที่สำคัญและการพัฒนาหลักประกันสุขภาพ
- โครงการตรวจประเมินการปฏิบัติงานบริการการแพทย์ฉุกเฉินปี 2551 - - โครงการพัฒนาระบบริการปฐมภูมิเขตชนบท 7. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข - การเบิกจ่ายงบกองทุนไม่เป็นไปตามแผนเนื่องจากแนวทางการจัดสรร - งบประมาณไม่ชัดเจนหรือไม่เป็นไปตามกรอบ ทำให้การโอนเงินให้หน่วย บริการล่าช้า เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนแนวทางและนโยบายระหว่างปี จึงควรใช้หลักการเชิงรุกและเน้นการบูรณาการ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 24 มีนาคม 2552 --จบ--